6-1 หน่วยท่ี 6 การควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั สาระที่ 4 งานควบคุมไฟฟ้า มาตรฐานที่ 1 ควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้าดว้ ยสวติ ซแ์ ละแมกเนตคิ คอนแทคเตอร์ มาตรฐานท่ี 3 ควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้าและดว้ ยอุปกรณ์ไฟฟ้าดว้ อุปกรณ์อเิ ลค็ ทรอนิกส์ แนวคิด/หลกั การ การควบคุมมอเตอรก์ ระแสสลบั 1 เฟส สามารถควบคุมการสตารต์ การกลบั ทางหมนุ และการ หยดุ สว่ นมอเตอรไ์ ฟฟ้า 3 เฟส สามารถควบคุมการสตารต์ แบบต่อตรง และสตารต์ แบบลดลง แรงดนั ไฟฟ้าแบบต่าง ๆ ตลอดจนควบคมุ ความเรว็ และการกลบั ทางหมนุ ทงั้ ควบคุมดว้ ยมอื และ อตั โนมตั ิ สาระการเรียนรู้ 1. การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส 2. การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั 1. อธบิ ายวธิ กี ารเรมิ่ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้าดว้ ยอุปกรณ์ควบคมุ แบบต่าง ๆ ได้ 2. เขยี นวงจรควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั ได้ 3. อธบิ ายวธิ กี ารกลบั ทางหมนุ ของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั ได้ 4. อธบิ ายวธิ กี ารเรม่ิ เดนิ มอเตอรแ์ บบลดแรงดนั ได้ 5. อธบิ ายวธิ กี ารควบคุมความเรว็ มอเตอรแ์ บบต่าง ๆ ได้ 6. บอกวธิ กี ารหยดุ มอเตอรไ์ ด้ 7. แกไ้ ขวงจรควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั ได้
6-2 1. การควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส - มอเตอร์ 1 เฟสเป็นมอเตอรท์ ม่ี ขี นาดแรงมา้ ต่า ๆ มอเตอร์ 1 เฟสมใี ชท้ วั้ ไปตามอาคาร บา้ นเรอื น โรงงานอุตสาหกรรม เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าขนาดเลก็ เช่น พดั ลม เครอ่ื งซกั ผา้ เป็นตน้ มอเตอร์ 1 เฟส มหี ลายชนดิ คอื สปลทิ เฟสมอเตอร์ คาปาซเิ ตอรม์ อเตอร์ รพี ลชั นั่ มอเตอร์ ยนุ เิ วอรแ์ ซลมอเตอร์ เชด็ เดด็ โพลมอเตอร์ หลกั การทางานของมอเตอร์ 1 เฟส (Single phase lnduction Motlrs) เป็น มอเตอรท์ ม่ี หี ลกั การทางานเหมอื นมอเตอร์ 3 เฟส แต่มอเตอร์ 1 เฟสจะมขี ดลวดชุดเดยี วเมอ่ื จ่าย กระแสเขา้ ขดลวดมอเตอร์ ขณะมอเตอรห์ ยดุ ยงิ่ มอเตอรไ์ มส่ ามารถเคลอ่ื นทด่ี ว้ ยตนเองได้ จะตอ้ งมี อุปกรณ์ชว่ ยในการ สตารต์ โดยแยกตามชนิดของมอเตอรต์ ามขา้ งต้น บางชนดิ ใช้ ขดลวดสตารต์ (Starting Winding) บางชนิดใช้ Capacitor - Drum Switch หลกั การทางานของ Drum switch เป็นสวติ ซท์ ใ่ี ชใ้ นการสลบั หรอื เปลย่ี นคอนแทน สามารถเลอื ก การทางานไดโ้ ดยการโยกคนั โยก ทวั่ ไปใชใ้ นงานควบคมุ การกลบั ทางหมนุ ของมอเตอร์ ขอ้ ควรระวงั ใน การใชส้ วติ ซช์ นิดน้ใี ชไ้ ดก้ บั มอเตอรเ์ ลก็ ๆ ¼ ถงึ 5 แรงมา้ Drum Switch มสี ว่ นประกอบ 2 ส่วนคอื สว่ นทอ่ี ยกู่ บั ท่ี (Stable) และส่วนทเ่ี คลอ่ื นท่ี (Movable) - การต่อใชง้ าน ของสวติ ซโ์ ยก (Drum Switch) การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส
6-3 LN CB F1 DRUM SWITCH Forward OFF UV M 1~ รปู ท่ี 6.1 สวติ ซโ์ ยก (Drum Switch) การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส - ON – OFF Switch ON – OFF Switch เป็นสวติ ซท์ ใ่ี ชใ้ นการตดั ต่อวงจรสามารถล๊อคตาแหน่งการทางานได้ เลอื กการทางานไดโ้ ดยการโยกคนั โยก หรอื กดกไ็ ดท้ วั่ ไปใชใ้ นงานควบคมุ มอเตอร์ ขนาดเลก็ ๆ กระแสน้อย - การต่อใชง้ าน ของสวติ ซ์ ON – OFF Switch การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส
6-4 LN CB F1 SV UV M 1~ รปู ท่ี 6.2 สวติ ซ์ ON – OFF Switch การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส - Magnetic Contactor หลกั การทางาน ของวงจรโดยใช้ Magnetic Contactor เป็นตวั ตดั ต่อวงจรการทางานของ มอเตอร์ วธิ นี ้เี ป็นวธิ ที น่ี ยิ มใชม้ ากเพราะสะดวก ปลอดภยั กบั ผคู้ วบคมุ มากและสามารถออกแบบ เพมิ่ เตมิ วงจรได้ ใชส้ ตารต์ มอเตอรท์ ม่ี ขี นาดกระแสสงู ๆ ได้ การทางานของวงจร 1. NO เบรกเกอร์ 2. กด S2 กระแสไหลผ่านคอยลข์ องคอนแทคเตอร์ K1 คอนแทคเมนสภาวะปกติ No เปลย่ี นเป็น Nc ต่อวงจรใหม้ อเตอรท์ างาน คอนแทคชว่ ย K1 ในวรจร Control ต่อวงจรให้ ทางานตลอด 3. ตอ้ งการหยดุ มอเตอร์ กด S1 กระแสหยดุ ไหลคอนแทนเตอรห์ ยดุ ทางาน คอนแทนทุก ตวั กลบั คนื สะภาพเดมิ
6-5 - การต่อใชง้ าน ของ Magnetic Contactor Switch การควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั LN CB F1 S1 K1 S2 K1 K1 UV N M 1 1~ 2 1 เฟส รปู ท่ี 6.3 Magnetic Contactor Switch การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส - การกลบั ทางหมนุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟสดว้ ยอุปกรณ์ - Drum switch - Magnetic Contactor หลกั การ การกลบั ทางหมนุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟสดว้ ยอุปกรณ์ Drum switch, Magnetic Contactor คอื การกลบั ทศิ ทางการไหลของกระแสในขดลวดมอเตอรท์ ข่ี ดลวดสตารต์ (Starting Winding) หรอื ขดรนั (Runing Winding) โดยใชอ้ ุปกรณ์ดงั กล่าวดงั รปู ขา้ งล่าง
6-6 LN CB F1 DRUM SWITCH F OFF R R1 S1 R2 S2 R1-R2=ขดรั น M S1-S2=ขดสตาร์ ท 1~ รปู ท่ี 6.4 Drum switch ในการควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส LN CB F1 S1 K1 K2 S2 K1 S3 K2 K2 K1 K1 K2 4 R1 S1 R2 S2 N 23 M 1 1~
6-7 รปู ท่ี 6.5 การกลบั ทางหมนุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เกสดว้ ย Magnetic Contactor 2. การควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส หลกั การทางานและวงจรเรม่ิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส มอเตอรจ์ ะทางานไดน้ นั้ จะตอ้ งจา่ ยไฟเขา้ ทข่ี ดลวดของมอเตอรท์ งั้ 3 ชดุ โดยสายเมนจะกาหนดเป็นขวั้ L1, L2, L3 ตน้ ของขดลวดมอเตอรเ์ ป็น U1, V1, W1 ปลายขดลวด เป็น U2, V2, W2 ขอ้ ควรระวงั ในการต่อมอเตอร์ จะตอ้ งดู Name plate ของมอเตอรม์ ปี ลายต่อเป็น สตาร์ หรอื เดลตา้ เช่น (220/380 V Delta/Star) ปลายสายของขดลวดมอเตอรต์ ่อเป็น Star เสยี ก่อนแลว้ จงึ จ่ายไฟ 380 V มฉิ ะนนั้ แลว้ จะทาใหม้ อเตอรเ์ สยี หายได้ การสตารต์ มอเตอร์ แบบตรง (Direct Start) การสตารต์ มอเตอรแ์ บบน้ี เป็นวงจรทใ่ี ชเ้ ฉพาะสตารต์ มอเตอรแ์ บบกรงกระรอกขนาดเลก็ (squirrel cagemotor) ทม่ี กี าลงั (power) ไมเ่ กนิ 5kW โดยทวั่ ไปเมอ่ื เรมิ่ สตารต์ มอเตอรจ์ ะกนิ กระแสมาก 5-7 เท่า ของกระแสปกตทิ บ่ี อกไวใ้ น name plate ของมอเตอร์ แต่บางครงั้ อาจกนิ กระแสมากถงึ 10-14 เท่า เน่อื งมาจาก 1. มอเตอรต์ ดิ ตงั้ พรอ้ มโหลด แบบน้มี วี ธิ แี กไ้ มใ่ หก้ ระแสเกนิ มาก ก่อนสตารต์ มอเตอรจ์ ะตอ้ ง ปลดโหลดออกก่อน 2. แรงดนั ทจ่ี า่ ยใหก้ บั มอเตอร์ ต่ากว่าพกิ ดั ท่ี name plate กาหนด ทาใหก้ นิ กระแส มาก 3. มาตรฐานของมอเตอรแ์ ต่ละชนิดต่า ขอ้ เสยี ของการสตารต์ มอเตอรแ์ บบตรงถงึ แมว้ ่าจะใชเ้ วลาในการสตารต์ ไม่มากกต็ ามแต่มผี ลเสยี หลายอยา่ งเช่น 1. มแี รงดนั ตกชวั่ ขณะหน่ึงในขณะสตารต์ มอเตอรท์ าใหอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้าอ่นื ๆ ทางานผดิ ปกตถิ า้ แรงดนั ตกมาก ๆ จะทาใหอ้ ุปกรณ์เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าเสยี หายได้ 2. ทาใหห้ มอ้ แปลงหรอื แหล่งจา่ ยอ่นื ๆ ทางานหนกั เกนิ โหลด ถา้ อุปกรณ์ป้องกนั หมอ้ แปลง ทางานผดิ พลาดอาจทาใหห้ มอ้ แปลงเสยี หายได้ 3. หมอ้ แปลงรบั โหลดกระแสแบบกระซากอยา่ งรุนแรงทาใหห้ มอ้ แปลงมเี สยี งดงั ขอ้ บกพรอ่ งทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการสตารต์ มอเตอรแ์ บบตรงมวี ธิ แี กไ้ ขดงั น้ี มอเตอรท์ ม่ี ขี นาดเกนิ 5kW จะตอ้ งมวี งจรและอุปกรณ์ชว่ ยในการสตารต์ เพ่อื ช่วยลดกระแสในขณะ สตารต์ เชน่ สตารต์ มอเตอรแ์ บบ Star-Delta สตารต์ มอเตอรแ์ บบ รซี สี แตนซส์ ตารต์ เป็นตน้
6-8 ระบบไฟฟ้าทใ่ี ชใ้ นประเทศไทยมอี ยู่ 2 ระบบ 1. ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส - ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย 220 โวลท์ นยิ มใชใ้ นระบบไฟฟ้าแสงสวา่ งอาคารบา้ นเรอื นทวั้ ไป - ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 3 สาย 220/440 โวลท์ นิยมใชใ้ นอาคารทพ่ี กั ขนาดใหญ่ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าบางชนิดระบบแสงสวา่ ง - ระบบไฟฟ้า 3 เฟส จะนิยมใชใ้ นโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารขนาดใหญ่โดยมี 2 ระบบ - ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 3 สายใชใ้ นงานลกั ษณะของงานกาลงั ควบคมุ มอเตอรจ์ ะประหยดั สาย - ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลท์ จะนยิ มใชใ้ นโรงงานอุตสาหกรรมทวั่ ๆ ไป ซง่ึ ระบบน้สี ามารถใชไ้ ดท้ งั้ วงจรกาลงั และแสงสวา่ ง การต่อขดลวดมอเตอรเ์ พอ่ื นาไปใชง้ าน มวี ธิ กี ารต่อดงั น้ี มอเตอร์ 220/380 V ท่ี name plate มอเตอร์ กาหนดจะต่อทป่ี ลายขดลวดของมอเตอรเ์ ป็น สตารต์ ดงั รปู ท่ี 6.6 380V L1 L2 L3 U1 V1 W1 U2 V2 W2 220/380V รปู ท่ี 6.6 แสดงการต่อขดลวดของมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตารต์ มอเตอร์ 380/660 V เป็นมอเตอรข์ นาดกลางและใหญ่ มอเตอรช์ นิดน้ีมวี ธิ กี ารสตารต์ แบบพเิ ศษ เพอ่ื ชว่ ยในการลดกระแสขณะเรม่ิ สตารต์ - Drum switch หลกั การทางานของ Drum switch ทใ่ี ชค้ วบคุมมอเตอร์ 3 เฟส เหมอื นกบั เฟสเดยี วซง่ึ เป็น สวติ ซท์ ใ่ี ชใ้ นการสลบั หรอื เปลย่ี นคอนแทค สามารถเลอื กการทางานไดโ้ ดยการโยกคนั โยก ทวั่ ไปใชใ้ น
6-9 งานควบคมุ การกลบั ทางหมุนมอเตอร์ ขอ้ ควรระวงั ในการใชส้ วติ ซช์ นดิ น้ใี ชไ้ ดก้ บั มอเตอรเ์ ลก็ ๆ ¼ ถงึ 5 แรงมา้ Drum Switch มสี ว่ นประกอบ 2 สว่ นคอื ส่วนทอ่ี ยกู่ บั ท่ี (Stable) และส่วนทเ่ี คล่อื นท่ี (Movable) - การต่อใชง้ าน ของสวติ ซโ์ ยก (Drum Switch) การควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส L1 L2 L3 CB DRUM SWITCH R OFFF U VW M 3~ รปู ท่ี 6.7 Drum Switch ควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส - ON – OFF Switch ON – OFF Switch เป็นสวติ ซท์ ใ่ี ชใ้ นการตดั ต่อวงจรสามารถล๊อกตาแหน่งการทางานได้ เหมอื นกบั เฟสเดยี วเลอื กการทางานไดโ้ ดยการโยกคนั โยก หรอื กดกไ็ ดท้ วั่ ไปใชใ้ นงานควบคุมมอเตอร์ ขนาด
6-10 เลก็ ๆ กระแสน้อย - การต่อใชง้ าน ของสวติ ซ์ ON – OFF Swuitch การควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 L1 L2 L3 CB SV UVW M 3~ เฟส รปู ท่ี 6.8 สวติ ซ์ ON – OFF Switch ควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส - Motor Breaker หลกั การทางานของเบรกเกอรช์ นิดน้เี มอ่ื มกี ระแสไหลผ่านโหลดสงู ๆ ในชว่ งสตารต์ ทาใหก้ ลไกในการ ทรปิ ทางานตามพกิ ดั ของกระแสมอเตอรม์ อเตอร์ Motor Breaker จะออกแบบพเิ ศษใหต้ ดั กระแส ฟอลดท์ ร่ี ะดบั ต่าสดุ ของขดลอดมอเตอร์ เพ่อื ป้องกนั ความเสยี หายของมอเตอร์ จากรปู ท่ี 6.9
6-11 L 1 L 2 L3 Motor Breaker UVW M 3~ รปู ท่ี 6.9 Motor Breaker ควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส - Magnetic Contactor หลกั การทางาน ของวงจรโดยใช้ Magnetic Contactor เป็นสวติ ซท์ อ่ี าศยั อานาจแมเ่ หลก็ ใน การตดั ต่อวงจรการทางานของมอเตอร์ วธิ นี ้เี ป็นวธิ ที น่ี ิยมใชม้ ากเพราะสะดวก ปลอดภยั กบั ผคู้ วบคุม มากและสามารถออกแบบเพม่ิ เตมิ วงจรได้ ใชส้ ตารต์ มอเตอรท์ ม่ี ขี นาดกระสงู ๆ ไดก้ ารทางานของวงจร รปู ท่ี 6.10 1. ON เบรกเกอร์ 2. กด S2 กระแสไหลผา่ นคอยลข์ องคอนแทคเตอร์ K1 คอนแทคเมน 3 ขวั้ สภาวะปกติ No เปลย่ี น เป็น Nc ต่อวงจรใหม้ อเตอรท์ างาน คอนแทคช่วย K1 ในวงจร Control ต่อวงจรใหท้ างาน ตลอด 3. ตอ้ งการหยดุ มอเตอร์ กด S1 กระแสหยดุ ไหลคอนแทคเตอรห์ ยดุ ทางาน คอนแทคทกุ ตวั กลบั คนื
สะภาพเดมิ 6-12 L1 L2 L3 CB F2 F1 F3 K1 S1 F3 S2 K1 UV W K1 M N 3~ รปู ท่ี 6.10 Magnetic Contactor ควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส - หลกั การทางาน และวงจรกลบั ทางหมนุ ของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสการกลบั ทาง หมนุ มอเตอรแ์ บบตรง จะใชใ้ นกรณีมอเตอรม์ ขี นาดไมเ่ กนิ 5 Kw กฏเกณฑต์ ่าง ๆ เหมอื นกบั การสตารต์ มอเตอรแ์ บบตรงทกุ ประการ หลกั การโดยทวั่ ไปการกลบั ทางหมนุ ของ มอเตอรค์ อื กลบั ค่สู ายของสาย Power ทจ่ี า่ ยใหก้ บั ขดลวดของมอเตอร์ คใู่ ด ค่หู น่งึ งานทใ่ี ชโ้ ดยทวั่ ไปในการกลบั ทางหมนุ มอเตอรค์ อื เครนยกลฟิ ท์ เป็นตน้ ตวั อยา่ งการต่อ ขดลวดของมอเตอรแ์ บบกลบั ทางหมนุ ดงั รปู ท่ี 6.11 380V 380V 380V 380V L1 L2 L3 L1 L2 L3 L1 L2 L3 L1 L2 L3 U1 V1 W1 U1 V1 W1 U1 V1 W1 U1 V1 W1 U2 V2 W2 U2 V2 W2 U2 V2 W2 U2 V2 W2 220/380V 220/380V 220/380V 220/380V A Forward B Revers C Revers D Revers
6-13 รปู ท่ี 6.11 การต่อขดลวดของมอเตอรแ์ บบกลบั ทางหมนุ - TPDT Switch (Triple Pole Double Throw) วงจรกลบั ทางหมนุ ใช้ TPDT Switch L1 L2 L3 CB Rever OFF Forword UV W M 3~ รปู ท่ี 6.12 วงจรกลบั ทางหมนุ ใช้ TPDT Switch - หลกั การทางาน คนั โยกอยใู่ นตาแหน่ง OFF กระแสไมผ่ า่ นคอนแทค TPDT Switch มอเตอรไ์ มท่ างานเมอ่ื สบั คนั โยกไปทF่ี orward หน้าคอนแทค TPDT Switch ต่อทาใหก้ ระแสไหลเขา้ ขวั้ มอเตอรไ์ ลน์ L1 เขา้ ขวั้ U ของมอเตอร์ ไลน์ L2 เขา้ ขวั้ V ของมอเตอร์ ไลน์ L3 เขา้ ขวั้ W ของมอเตอร์ มอเตอรห์ มนุ ตามเขม็ นาฬกิ า เมอ่ื ตอ้ งการกลบั ทางหมุนมอเตอร์ สบั คนั โยกไปท่ี Reverse หน้าคอน แทค TPDT Switch ต่อทาใหก้ ระแสไหลเขา้ ขวั้ มอเตอร์ ไลน์ L1 เขา้ ขวั้ U ของมอเตอร์ ไลน์ L2 เขา้ ขวั้ W ของมอเตอร์ ไลน์ L3 เขา้ ขวั้ V ของมอเตอร์ มอเตอรห์ มนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า Drum Switch
6-14 วงจรกลบั ทางหมนุ ใช้ Drum Switch L1 L2 L3 CB Revers DRUM SWITCH ForwOaFrFd U VW M 3~ รปู ท่ี 6.13 วงจรกลบั ทางหมนุ ใช้ Drum Switch หลกั การทางาน จา่ ยไฟเขา้ ไลน์ L1-L2-L3 ตาแหน่งคนั โยกอยทู่ ่ี OFF มอเตอรไ์ มท่ างาน เมอ่ื สบั คนั โยกไปทต่ี าแหน่ง Forward สายไลน์ L1-L2-L3 มกี ระแสผ่านหน้าคอนแทค Drum Switch เขา้ ขวั้ ขดลวดมอเตอร์ U-V-W สบั คนั โยกไปทต่ี าแหน่ง Revers หน้าคอนแทค Drum Switch ต่อทาใหก้ ระแสไหลเขา้ ขวั้ มอเตอร์ ไลน์ L1 เขา้ ขวั้ U ของมอเตอรไ์ ลน์ L2 เขา้ ขวั้ W ของมอเตอร์ ไลน์ L3 เขา้ ขวั้ V ของมอเตอร์ มอเตอรห์ มนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า -Reversing Switch หลกั การทางานโดยทวั่ ไปของ Reversing Switch เหมอื นกบั TPDT Switch -Magnetic Contactor การควบคุมการกลบั ทางหมนุ มอเตอรโ์ ดยใช้ Magnetic Contactor นนั้ เป็นวธิ ที น่ี ยิ ม มากเพราะสามารถใชร้ ว่ มกบั อุปกรณ์อ่นื ๆ ได้ มคี วามปลอดภยั สงู กบั ผคู้ วบคุม วธิ กี ารควบคุมการ กลบั ทางหมนุ มหี ลายวธิ เี ช่น วงจร Jogging วงจร Plugging วงจร Reversing after Stop วงจร Automatic reversing สามารถเลอื กใชไ้ ดต้ ามความเหมาะสมของงานนนั้ ๆ
6-15 -หลกั การโดยทวั่ ไปของวงจรกลบั ทางหมนุ คอื การสลบั สายไลน์ทข่ี วั้ ขดลวดมอเตอรค์ ใู่ ดค่หู น่งึ ของ มอเตอร์ -วงจร Jogging F2 L1 L2 L3 F3 CB S1 F1 S2 K1 K2 K2 K1 S3 2 F3 K2 UVW K1 M N 3~ 1 รปู ท่ี 6.14 วงจร Jogging หลกั การทางาน 1. กด Push button switch S2 คอนแทคเตอร์ K1 ทางาน มอเตอรห์ มนุ ตามเขม็ นาฬกิ า ปลอ่ ย S2 มอเตอรห์ ยดุ ทางาน 2. กด Push button switch S3 คอนแทคเตอร์ K2 ทางาน มอเตอรห์ มนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า ปล่อย S2 มอเตอรห์ ยดุ ทางาน 3. เกดิ Over load ทม่ี อเตอร์ F3 ตดั วงจรควบคุมมอเตอรห์ ยดุ ทางาน
6-16 -วงจร Plugging F2 L1 L2 L3 F3 CB S1 F1 K1 K2 K2 S2 S3 K1 K2 K1 4 F3 K2 K1 23 UVW N M 1 3~ รปู ท่ี 6.15 วงจร Plugging -หลกั การทางาน 1. กด Push button switch S2 คอนแทคเตอร์ คอยล์ K1 แถวท่ี 1 ทางาน คอนแท คช่วย K1 แถวท่ี 2 ลอ็ ควงจร คอนแทคช่วย K1 แถวท่ี 3 เปิดวงจร มอเตอรห์ มนุ ตามเขม็ นาฬกิ า ปล่อย S2 มอเตอรย์ งั ทางานอยู่ 2. กด Push button switch S3 ตดั วงจร คอนแทคเตอร์ คอยล์ K1 ออก มอเตอรห์ ยดุ ทางานแลว้ ต่อคอนแทคเตอร์ คอยล์ K2 แถวท่ี 3 ทางาน คอนแทคชว่ ย K2 แถวท่ี 4 ลอ็ ควงจร คอนแทคช่วย K2 แถวท่ี 1 เปิดวงจร มอเตอรห์ มนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า ปล่อย S3 มอเตอรย์ งั ทางาน อยู่ 3. เมอ่ื ตอ้ งการหยดุ ทางานของมอเตอรก์ ด Push button switch S1 4. เกดิ Over load ทม่ี อเตอร์ F3 ตดั วงจรควบคมุ มอเตอรห์ ยดุ ทางาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: