Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทรรศการองค์ความรู้เกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค

นิทรรศการองค์ความรู้เกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค

Published by 300bookchonlibrary, 2021-03-15 09:20:18

Description: article_20191022145927

Search

Read the Text Version

เรอื พระทน่ี ัง่ สุพรรณหงส์ล�าปจ จุบัน สร้างขน้ึ ในปลายรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว เพื่อทดแทนเรือล�าเดิมท่ีสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช สรา้ งแลว้ เสรจ็ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๔ และทา� พธิ ี ปล่อยลงนา้� เมอ่ื วนั ท ี่ ๑๓ พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช ๒๔๕๔ อนงึ่ ปรากฏช่ือเรอื พระที่น่งั ในรัชสมยั สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดแิ หง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา วา่ “เรอื ศรสี พุ รรณหงส”์ และ “เรอื พระทนี่ ง่ั ชยั สพุ รรณหงส”์ ในสมัยอยุธยาตอนปลายปรากฏช่ือ “เรือพระท่ีน่ังสุวรรณหงส์ คร้ันในสมัยรัชกาลท่ี ๑ แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ปรากฏช่ือ “เรือพระท่ีนั่งสุวรรณหงส์” และรัชกาลที่ ๓ ปรากฏชื่อ “เรือพระที่นั่ง ศรสี พุ รรณหงส”์ หัวเรือพระท่ีนั่งสุพรรณหงส์มีโขนเรือเป็นรูปหัวของหงส์ ล�าตัวเรือทอดยาวคือส่วนตัวหงส์ จา� หลกั ไมล้ งรกั ปด ทองประดบั กระจกมพี หู่ อ้ ย ปลายพเู่ ปน็ แกว้ ผลกึ ภายนอกทาสดี า� ทอ้ งเรอื ทาสแี ดง ตอนกลางล�าเรือทอดบัลลังก์กัญญา เป็นท่ีประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือพระบรม วงศ์ เรือมคี วามยาว ๔๖.๑๕ เมตร กวา้ ง ๓.๑๗ เมตร ลกึ จนถงึ ท้องเรือ ๙๔ เซนตเิ มตร กนิ น�้าลกึ ๔๑ เซนติเมตร น้�าหนัก ๑๕ ตัน ใช้ก�าลังพลประกอบด้วยฝพาย ๕๐ นาย นายเรือ ๒ นาย นายท้าย ๒ นาย คนถือธงท้าย ๑ นาย พลสัญญาณ ๑ นาย คนถอื ฉตั ร ๗ นาย คนขานยาว ๑ นาย คนขานยาวท�าหน้าท่ีในการร้องขานเพลงเรือโดยฝพายจะร้องเห่เรือพร้อมกันไปตามจังหวะร่วมกับ เรือลา� อนื่ ๆ เรือพระที่น่ังสุพรรณหงส์ได้รับรางวัลเรือมรดกโลกทางทะเล (The World Ship Trust Maritime Heritage Award) จากองค์การเรือโลกแห่งสหราชอาณาจักร (The World Ship Trust) เมอ่ื พุทธศักราช ๒๕๓๕ 90

เรอื พระทน่ี ่งั นำรำยณท รงสบุ รรณ รชั กำลที่ ๙ ค�าว่า “นารายณ์ทรงสบุ รรณ” หมายถึง พระนารายณท์ รงครุฑ ซึ่งค�าว่า “สุบรรณ” นี ้ หมายถงึ ครุฑ หรือ พญาครุฑ พาหนะของพระนารายณ์ เรือพระที่นั่งล�านี้ กองทัพเรือร่วมกับกรมศิลปากร และสา� นักพระราชวัง สรา้ งขึ้นเพอ่ื น้อมเกลา้ ฯ ถวายเน่อื งในพระราชพิธกี าญจนาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๓๙ โขนเรือพระที่นั่งสร้างตามแบบโขนเรือพระท่ีนั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ สมัยรัชกาลที่ ๔ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวา่ “เรอื พระท่นี ัง่ นารายณ์ทรงสบุ รรณ รัชกาลท่ี ๙” ซ่ึงสร้อยนามว่า “รัชกาลท่ี ๙” น้ี เพื่อแสดงว่าเรือพระที่น่ังล�านี้สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิต ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปห ลวง เสดจ็ พระราชด�าเนินมาทรงเป็น องค์ประธานในพิธีวางกระดูกงูเรือพระท่ีน่ังเมื่อวันที่ ๕ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๓๗ และ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ขณะดา� รง พระราชอสิ ริยศสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร ในฐานะผแู้ ทนพระองค ์ ทรงทา� พธิ ี ปลอ่ ยเรอื พระท่นี งั่ ลงนา�้ เมื่อวนั ท ่ี ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ โขนเรอื และตัวเรือจา� หลักลงรกั ปด ทองประดับกระจก ที่หัวเรือเบอื้ งใต้ครฑุ เป็นชอ่ งส�าหรับ ปน ใหญ ่ กลางลา� เรอื ทอดบลั ลงั กก์ ญั ญาเปน็ ทป่ี ระทบั เรอื มคี วามยาว ๔๔.๓๐ เมตร กวา้ ง ๓.๒๐ เมตร ลึกถึงท้องเรือ ๑.๑๐ เมตร กินน�้าลึก ๔๐ เซนติเมตร น้�าหนัก ๒๐ ตัน ก�าลังพลประกอบด้วย ฝพาย ๕๐ นาย นายเรือ ๒ นาย นายทา้ ย ๒ นาย คนถอื ธงท้าย (นักสราช) ๑ นาย พลสัญญาณ ๑ นาย คนถอื ฉตั ร ๗ นาย และคนเห่เรอื ๑ นาย 91

โขนเรือพระที่น่งั นารายณท์ รงสบุ รรณ รชั กาลท ่ี ๙ 92

เรอื พระท่นี ั่งนารายณท์ รงสบุ รรณ รัชกาลท ่ี ๙ 93

โขนเรอื พระท่นี ง่ั อนนั ตนาคราช 94

เรือพระที่น่งั อนนั ตนำครำช ค�าว่า “อนันตนาคราช” หมายถึง ราชาแห่งนาคหรืองูท้ังหลาย ในฮินดูปกรณัม “อนันตะ” หมายถึง งูเทพ หรืองูทิพย ์ ผ้มู ีพลังย่ิงใหญ่ รูจ้ กั ในช่อื เศษะ หรือ อาทิเศษะ เปน็ ผู้ทมี่ เี ศยี รหน่ึงพนั ซง่ึ ประดบั ดว้ ยอญั มณสี อ่ งประกายสวา่ งจา้ ไปทกุ หนแหง่ สว่ นในคมั ภรี ป์ รุ าณะกลา่ ววา่ อนนั ตะอาศยั อยลู่ กึ ลงไปกวา่ โลกบาดาลทง้ั ๗ ชนั้ และแบกโลกทง้ั หมดไวบ้ นเศยี ร คราใดทอ่ี นนั ตะหาว โลกกส็ นั่ ไหว บางคัมภีร์อธิบายว่า อนันตะมีชื่ออีกอย่างว่า วาสุกรี ซ่ึงมีเจ็ดเศียรและอยู่ในโลกบาดาลช้ันท่ี ๗ อนันตะปกครองนาคท้งั หลาย 95

ส่วนในคติไตรภูมิเชื่อว่า มีปลาอานนท์แบกโลกมนุษย์ไว้ คราใดปลาอานนท์ขยับตัว โลกจะสั่นคลอนเกิดแผน่ ดนิ ไหว นอกจากนีย้ ังมคี วามเชื่ออกี ว่า พญานาคเจ็ดเศยี รบันดาลใหเ้ กดิ ฝน และยังมีความเชื่อที่ว่าพระเจ้าแผ่นดินของไทยเป็นอวตารของพระวิษณุลงมาเกิดบนโลกมนุษย์ ดงั นน้ั เรอื พระทน่ี ง่ั ซงึ่ เปน็ พระราชพาหนะทส่ี รา้ งเปน็ รปู พญาอนนั ตนาคราชจงึ สอดคลอ้ งกบั เรอื่ งราว ทว่ี ่าพระวษิ ณปุ ระทบั บรรทมบนพญาอนนั ตนาคราช ในเกษียรสมุทร โขนเรือพระที่นั่งอนันตนาคราชจ�าหลักเป็นรูปพญานาคเจ็ดเศียร ลงรักปดทองประดับกระจก ท้องเรือภายในทาสีแดง ภายนอกทาสีเขียว กลางล�าเรือเป็นบุษบกประดิษฐานพระพุทธรูป หรอื ผ้าพระกฐิน เรือมคี วามยาว ๔๕.๘๕ เมตร กวา้ ง ๒.๕๘ เมตร ลกึ ถึงท้องเรือ ๘๗ เซนตเิ มตร กินน�้าลึก ๓๑ เซนติเมตร ใช้ก�าลังพลประกอบด้วย ฝพาย ๕๔ นาย นายเรือ ๒ นาย นายท้าย ๒ นาย คนถอื ธงทา้ ย ๑ นาย พลสัญญาณ ๑ นาย คนถอื ฉตั ร ๗ นาย คนถอื บงั สรู ย์- พัดโบก-พระกลด ๓ นาย และคนเห่เรือ ๑ นาย เรอื พระทน่ี ง่ั อนนั ตนาคราชลา� ปจ จบุ นั สรา้ งขนึ้ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั แล้วเสร็จเมอื่ วันท ่ี ๑๕ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๔๕๗ แทนลา� เดมิ ซ่งึ สร้างขนึ้ ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว 96

เรอื พระท่ีนง่ั อเนกชำติภุชงค ค�าว่า “อเนกชาติภุชงค์” หมายถึง งูหลากหลายชนิด สอดคล้องกับรูปโขนเรือท่ีลงรักปดทอง มลี ายรูปงูตัวเลก็ ๆ จ�านวนมาก ค�าว่า “ภชุ งค์” มคี วามหมายเชน่ เดียวกบั คา� วา่ “นาค” ในภาษาไทย ซงึ่ เป็นเทพในฮินดปู กรณัม และปรากฏในพระพทุ ธศาสนา เป็นตัวแทนแหง่ พลงั อ�านาจ ความรอบรู้ และความอดุ มสมบรู ณ ์ เทพเจา้ หลายองคข์ องศาสนาฮนิ ดสู มั พนั ธก์ บั นาคหรอื ทป่ี รากฏในรปู รา่ งของงู หรอื งูเทพ (งทู ิพย)์ เช่น พระวษิ ณบุ รรทมบนพญานาคอนันตะหรอื เศษะนาคทอดตัวอยู่เหนือแผ่นน�้า รปู แบบของงหู รอื นาคตวั เลก็ ๆ จา� นวนมากทห่ี วั เรอื เชน่ น ้ี นา่ จะหมายถงึ นาคทมี่ จี า� นวนนบั พนั ซงึ่ เปน็ เหล่าบรรดานาคที่กา� เนดิ จากมหาฤษกี ัศยปะและนางกัทรนุ าคเหล่านอี้ าศัยอยูใ่ นโลกบาดาล เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ เป็นเรือพระท่ีนั่งศรี สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ลา� เรอื ภายนอกทาสชี มพ ู ทอ้ งเรอื ภายในทาสแี ดง หวั เรอื ลงรกั ปด ทองลาย รดนา้� เปน็ รปู นาคตวั เลก็ ๆ จา� นวนมาก ตอนกลางลา� เรอื มบี ลั ลงั กก์ ญั ญา เรอื มคี วามยาว ๔๕.๖๗ เมตร กว้าง ๒.๙๑ เมตร ลึกถึงท้องเรือ ๙๑ เซนติเมตร กินน�้าลึก ๔๖ เซนติเมตร น้�าหนัก ๗.๗ ตัน ก�าลังพลประกอบด้วยฝพาย ๖๑ นาย นายเรือ ๒ นาย นายท้าย ๒ นาย คนถือธงท้าย ๑ นาย พลสัญญาณ ๑ นาย คนถือฉตั ร ๗ นาย คนขานยาว ๑ นาย คนขานยาวทา� หน้าทใ่ี นการร้องขานเพลง เรอื โดยฝพายจะรอ้ งเหเ่ รอื พรอ้ มกันไปตามจงั หวะรว่ มกบั เรอื ล�าอนื่ ๆ 97

โขนเรอื พระท่นี ง่ั อเนกชาติภุชงค์ 98

เรอื พระที่น่งั อเนกชาตภิ ุชงค์ 99

เรอื พระทน่ี ง่ั สพุ รรณหงส์ 100

กำรเหเรอื นอกจากความงามทางดา้ นศลิ ปกรรมและประณตี ศลิ ปข์ องเรอื พระทนี่ ง่ั ทสี่ รา้ งอยา่ งวจิ ติ รบรรจงแลว้ บทเหเ่ รอื และรปู แบบการเหเ่ รอื ในการพระราชพธิ ไี ดส้ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ความงามทางวรรณศลิ ปแ์ ละคตี ศลิ ป์ อันแสดงให้เห็นถึงความย่ิงใหญ่ของขบวนพยุหยาตราทางชลมารคอันเป็นเคร่ืองเฉลิมพระเกียรติยศ สมเด็จพระมหากษัตรยิ าธิราชเจา้ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดา� รงราชานภุ าพ ทรงพระนพิ นธถ์ งึ การเหเ่ รอื พระราชพธิ ี ไวใ้ น “อธิบายตา� นานเห่เรอื ” วา่ “เหเ รอื ในพระราชพธิ คี อื การเหเ รอื พระทน่ี งั่ ของพระเจา แผน ดนิ เมอื่ จะเสดจ็ ทาง ชลมารคหรอื จะเรยี กอกี อยา งหนงึ่ วา เหเ รอื หลวง โดยเวลาพายจะชา และมคี นตน บทชกั คาํ วา “เหยอว” ฝพ ายทง้ั หมดจะรบั พรอ มกนั วา “เยอ ว” และเวลาทพี่ ายเรว็ หรอื แขง เรอื กนั ตน บทจะชกั คําวา “อีเยอวเยอว” ฝพายกจ็ ะรบั วา “เยอว” ซ่งึ รวมกบั บทเหลา นซ้ี งึ่ ไมใ ช คาํ ไทย แตป รากฏอยูใ ชในกระบวนเรอื หลวง ซึง่ เรียกวา สวะเห สนั นิษฐานวามาจากใน ประเทศอนิ เดยี เมอ่ื เวลาพระมหาราชา เจา เมอื งพาราณสี ประทบั ในเรอื ขา มแมน าํ้ คงคา ตน บทกจ็ ะชกั บทเปน ภาษาสนั สกฤตขนึ้ ตน ดว ยคาํ วา “โอม รามะ” และกลา วไปจนจบบท ฝพ ายทง้ั ลาํ กจ็ ะรบั พรอ มกนั วา “เยอ ว” และแหแ บบนไ้ี ปจนตลอดเสน ทาง จงึ สนั นษิ ฐาน วาเหเรือหลวงน้ันนาจะมาจากตําราพราหมณในอินเดียซึ่งเหเปนภาษาสันสกฤตกอน แตนานวันก็เลือนไปจนกลายเปน เหยอวเยอ ว อยา งทกุ วนั น้ี แตยังคงเรยี กในตําราวา สวะเห ชา ละวา เห และมลู เห เปน ตน ” 101

102

ลกั ษณะของการเหเ่ รอื ในขบวนพยหุ ยาตราชลมารคนน้ั ไมพ่ บหลกั ฐานของรปู แบบและลกั ษณะ การเห่เรือท่ีแน่ชัด พบเพียงพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ ทรงอธบิ ายลกั ษณะการเหเ่ รอื ในขบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคไวใ้ นเร่อื งอธบิ ายต�านานเหเ่ รือ วา่ “ถา วา โดยลาํ นาํ สาํ หรบั เหเ รอื ในตําราบอกไวแต ๓ อยาง เรียกวา สวะเหอยา ง ๑ ชา ลวะเหอ ยา ง ๑ มลู เหอ ยา ง ๑ แตท เี่ คยสงั เกตเหน็ ลกั ษณเหใ นกระบวนหลวง เหน็ เหอ ยู ๔ อยาง คือเมื่อเสด็จลงประทับในเรือพระที่น่ังแลว หลวงพิศณุเสนี ขุมรามเภรีเปน ตนบท (จะไดเปนตนบทโดยตําแหนงฤๅโดยเฉภาะตัว ขาพเจาไมทราบแน) คนหนึ่ง นั่งคุกเขาพนมมือเหโคลงนํากาพย บางทีเรียกกันวาเกริ่นโคลงก็เคยไดยิน เมื่อจบ บทโคลงแลวจึงออกเรือพระท่ีน่ัง พลพายพายนกบินจังหวะชา เพราะวาเรือตามนํ้าไม หนักแรง ผจงพายเอางามได ใชท ํานองเหช า เขาใจวา ไดก ับท่ีเรยี กในตําราวา ชาลวะเห (คงเปนชาแลวาเห) คงหมายความวาเหชา พอจวนจะถึงที่ประทับ ตนบทก็ชักสวะเห คาํ นจี้ ะหมายความอยา งไรยงั คดิ ไมเ หน็ คเนพอจบบทเรอื พระทน่ี งั่ กถ็ งึ ทจี่ อด ขากลบั เรอื ทวนนาํ้ มรี ะยะยา นไกลตอ งพายหนกั จงั หวะเรว็ ใชเ หท าํ นองเรว็ ทมี่ พี ลพายรบั “ฮะไฮ” นนั้ เขา ใจวา ไดก บั ทเ่ี รยี กในตาํ ราวา มลู เห คงหมายความวา เหเ ปนพน้ื เมอื่ จบบทพายจา้ํ ๓ ที สง ทกุ บท ถา ลอยพระประทปี เดอื น ๑๒ ซึง่ มกี ารแตงเรอื พระท่ีนัง่ ก่ิงทรงพระไชยลาํ หน่งึ พานพุมดอกไมพุทธบูชาลําหน่ึง เวลาเรือก่ิงเขามาทอดเทียบเรือบัลลังกพระที่น่ัง ทรงจุดเทียนเครื่องนมัสการแลว โปรดใหจอดเหถวายอยูนานๆ วาเปนทํานองมูลเห เหถ วายแลว ออกเรอื จงึ เปลยี่ นเปนทาํ นองชา ลวะเห ลกั ษณะการเหเ รอื เคยเหน็ ดงั กลา ว มาน้ี” 103

104

บทเห่เรือท่ีเก่าแก่ที่สุดของไทยเท่าที่ปรากฏหลักฐานในปจจุบัน คือ “กาพย์เห่เรือพระนิพนธ์ เจา้ ฟา ธรรมธเิ บศร” ซงึ่ ทรงพระนพิ นธส์ า� หรบั ขบั อา่ นเปน็ ทา� นอง ไมป่ รากฏหลกั ฐานวา่ ไดน้ า� มาใชเ้ หเ่ รอื ในขบวนเรอื หลวงเวลาเสดจ็ พระราชด�าเนนิ ทางชลมารค การน�ากาพย์เห่เรือมาใช้เห่เรือหลวงปรากฏในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพทรงพระอธิบายว่า เมื่อแรกมิได้ใช้เห่ ในเวลาเสดจ็ พระราชดา� เนนิ อยา่ งเปน็ ทางการ แตใ่ ชเ้ หใ่ นการลอยพระประทปี โดยใชบ้ ทเหพ่ ระนพิ นธ์ ของเจ้าฟาธรรมธิเบศร หรือบทพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ตามพระราชประสงค์ ในสมัยต่อมาจึงปรากฏการนา� บทเห่เรอื มาใช้ในขบวนเรือทีเ่ กยี่ วเน่ืองกบั การพระราชพิธตี า่ งๆ โดยในส่วนของการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกน้ัน ปรากฏบทพระนิพนธ์กาพย์เห่เรือของสมเด็จฯ เจ้าฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ใช้เป็นบทเห่ในเรือพระท่ีนั่งก่ิง เมื่อมาจอดถวายไชยมงคล ท่ีท่าราชวรดิฐ ครั้งท่ีกระทรวงทหารเรือจัดการสมโภชสนองพระเดชพระคุณเนื่องในงานพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษกสมโภชพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอื่ วนั ท ี่ ๘ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๔ นอกจากน ้ี ยงั ปรากฏกาพยเ์ หเ่ รอื เนอื่ งในวาระสา� คญั อนื่ ๆ เชน่ กาพยเ์ หเ่ รอื ทพ่ี ระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ์ทูลเกล้าฯ ถวายในพระราชพิธีเปดพระปฐมบรมราชานุสรณ์ และสะพาน พระพทุ ธยอดฟา พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ กาพยเ์ หเ่ รอื เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ในวโรกาสฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ป  พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๙ กาพย์เห่เรือเนื่องในพระราชพิธีทรงบ�าเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตรา ทางชลมารค ณ วัดอรณุ ราชวราราม พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ ประพันธโ์ ดยนาวาเอก ทองยอ้ ย แสงสินชัย เปน็ ต้น 105

บรรณำนุกรม กรมศิลปากร. ประมวลเอกสารพระราชพิธีบรมราชาภิเษก. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พร้ินต้ิงแอนด์ พับลิชชิ่ง จา� กัด (มหาชน), ๒๕๖๑. กระทรวงวฒั นธรรม. ประมวลองคค์ วามรู้พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก. นครปฐม: บรษิ ัท รุ่งศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (๑๙๗๗) จา� กัด, ๒๕๖๒. _______. พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก. นครปฐม: บรษิ ทั ร่งุ ศิลปก์ ารพิมพ ์ (๑๙๗๗) จา� กดั , ๒๕๖๐. ก่องแกว้ วรี ะประจกั ษ ์ และนยิ ะดา ทาสคุ นธ.์ กระบวนพยุหยาตรา ประวตั แิ ละพระราชพิธี. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๓๑. (หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากรจัดพิมพ์ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ในมหามงคลสมัย รัชมงั คลาภเิ ษก วนั ท่ ี ๒ กรกฎาคม พุทธศกั ราช ๒๕๓๑). ควอริช เวลส์. พระราชพธิ แี ห่งกรงุ สยาม ตั้งแตโ่ บราณกาล ถึง พ.ศ. ๒๔๗๕. สทุ ธิศักดิ ์ ปาลโพธิ์ (แปล). กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ส�านกั พมิ พร์ ิเวอร์ บคุ ส ์ จา� กดั , ๒๕๖๒. ชยั รตั น ์ พลมขุ . “วรรณคดปี ระกอบพระราชพธิ สี มยั รตั นโกสนิ ทร ์ : แนวคดิ ธรรมราชากบั กลวธิ ที างวรรณศลิ ป.์ ” วทิ ยานพิ นธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๒. ดา� รงราชานภุ าพ, สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา. พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๕. พมิ พ์ครงั้ ท ี่ ๕. กรงุ เทพฯ: ส�านักวรรณกรรมและประวัตศิ าสตร ์ กรมศิลปากร, ๒๕๕๖. ต�าราแบบธรรมเนียมในราชส�านักคร้ังกรุงศรีอยุธยา กับพระวิจารณ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาด�ารง ราชานภุ าพ. พิมพค์ รัง้ ท ี่ ๓. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร, ๒๕๓๙. “ที่ ๑๐/๒๕๖๒ หมายก�าหนดการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒.” ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓๖ ตอนท่ ี ๑๓ ข (๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒): ๑ - ๖๙. 106

ธรี ยทุ ธ ต้มุ ฉาย. “การเหเ่ รอื ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค.” วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาดุริยางค์ไทย ภาควิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๙. ประชุมกาพย์เห่เรือ. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๐. (พิมพ์เปนของแจกในงานศพ นายพลเรือตรี พระยาราชสงคราม (กร หงสกุล) ทจว. จม. ภช. รดม. (ศ), รจปร. ๒ รจม. ปมเสงนพศก พ.ศ. ๒๔๖๐) ศานต ิ ภกั ดคี า� . พระเสด็จโดยแดนชล. กรงุ เทพฯ: มติชน, ๒๕๖๒. สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง ลิลิตกระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค และชลมารค. กรุงเทพฯ: บริษทั อมรินทรพ์ ร้ินต้งิ แอนด์พับลิชชง่ิ จา� กดั (มหาชน), ๒๕๕๐. แสงสรู ย ์ ลดาวลั ย,์ ม.ร.ว. กระบวนพยุหยาตรา. กรงุ เทพฯ: พทุ ธบูชาการพมิ พ์, ๒๕๒๕. _______. พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกสมยั กรงุ รัตน์โกสินทร์. กรุงเทพฯ: ส�านักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร,ี ๒๔๒๗. (คณะอนุกรรมการจัดท�าเอกสารภาษาไทยในคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ส�านักเลขาธิการนายกรัฐมนตร ี จดั พมิ พเ์ ผยแพร่พทุ ธศักราช ๒๕๒๖). 107

กำรเดินทำง ๑. รถโดยสารประจา� ทางผา่ นทอ้ งสนามหลวง สาย ๑, ๓, ๙, ๑๕, ๒๕, ๓๐, ๓๒, ๓๓, ๔๓, ๔๔, ๔๗, ๕๓, ๕๙, ๖๔, ๘๐, ๘๒, ๙๑, ๒๐๓, ๕๐๓, ๕๐๘, ๕๑๒ ๒. รถโดยสารประจ�าทางผ่านแยกศิรริ าช สาย ๑๙, ๕๗, ๘๑, ๙๑, ๑๔๙, ๑๕๗, ๑๖๙, ๑๗๗ ตอ่ เรอื ขา้ มฟาก ท่าวงั หลัง (พรานนก) หรอื ท่าศิรริ าช ขนึ้ ทา่ ช้าง ๓. เรือ - เรอื ขา้ มฟาก ทา่ วังหลัง (พรานนก) หรอื ทา่ ศิริราช - เรือดว่ นเจา้ พระยา ขึ้นทา่ ชา้ ง ๔. รถไฟฟาใตด้ นิ - สถานสี นามไชย ประตทู ่ี ๕ ต่อรถโดยสารประจ�าทาง ๔๗, ๕๓ - สถานหี ัวล�าโพง ประตูท ี่ ๑ ต่อรถโดยสารประจา� ทาง ๒๕, ๕๓ 108

จุดจอดรถยนต์  วดั มหาธาตยุ ุวราชรงั สฤษฎ์ิ  ท่ามหาราช ซอยทวผี ล เข้าทางถนนมหาราช ซอยอยู่ตรงข้ามวัดมหาธาตยุ วุ ราชรังสฤษฎ์ิ  ขา้ งศาลหลักเมอื ง  ลานจอดรถถนนราชด�าเนิน มาจากถนนข้าวสาร เลี้ยวซ้ายเข้าถนนราชด�าเนินกลาง ทางเขา้ ที่จอดรถอยู่ซ้ายมอื  ซอยข้างวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม จากหนา้ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม วง่ิ ไปบนถนนมหาราช ผ่านท่าเตียน เลยทางเขา้ วัดไปทางปากคลองตลาด ซา้ ยมอื มีซอยขา้ งวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม  อาคารจอดรถวดั ระฆงั โฆสติ าราม ถนนอรณุ อัมรินทร ์ เขา้ ซอย ๑๘ (ซอยวัดระฆัง) อาคารจอดรถอยู่ทางซา้ ยมอื แล้วน่งั เรอื ขา้ มฟากจากวัดระฆงั โฆสติ ารามมาขึ้นทา่ ชา้ ง 109





















หนงั สอื เกี่ยวกบั พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก