แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ รหสั วชิ า ส33102 รายวชิ า ภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2/2562 เวลา 1 ชัว่ โมง ครผู ้สู อน นางลาวัลย์ สีหะวงษ์ 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และ เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอย่าง มปี ระสิทธิภาพ ตัวชี้วดั ส 5.1 ม.4-6/3 ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง ภูมิศาสตร์ และนาภูมสิ ารสนเทศมาใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวัน ผลการเรียนรู้ รู้จักองค์ประกอบของเครื่องมือทางภูมิศาสตร์แต่ละชนิด และสามารถใชเ้ ครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ได้อย่างถูกตอ้ งและ เหมาะ ตลอดจนนาเคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเดินชวี ติ ประจาวนั ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (จากตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้) 1. อธิบายประโยชนแ์ ละวิธีการใชเ้ คร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์ได้ 2. เลอื กใช้เครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร์ให้เหมาะสมกับความตอ้ งการในดา้ นข้อมลู 3. ใชเ้ ครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ในการรวบรวมขอ้ มลู ทางภูมศิ าสตร์ได้ 3. สาระสาคัญ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือที่รวบรวมข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่ต้องการ โดยแต่ละชนิดมีคุณสมบัติในการให้ ข้อมลู ที่แตกต่างกัน 4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สกึ และทัศนะของ ตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ และเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก เหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธีการสื่อสาร ทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือการ ตัดสินใจได้อย่าง เหมาะสม 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเ นิน ชีวิตประจาวัน การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา และความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 ความรู้ (Knowledge : K) เครอ่ื งมือที่ใชห้ าข้อมลู ทางภมู ศิ าสตร์ 1. เครือ่ งมอื ทางแผนที่ 1.1 เขม็ ทิศ 1.2 เครื่องมอื วดั ระยะทางในแผนท่ี 1.3 เครือ่ งมอื วัดพ้ืนที่ 2. เคร่อื งมือทางภูมอิ ากาศ 2.1 บารอมิเตอร์ 2.2 เทอร์โมมิเตอร์ 2.3 ไซโครมิเตอร์ 2.4 ไฮโกรมเิ ตอร์ 2.5 มาตรวดั ลม 2.6 เครื่องวัดฝน 5.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (Process : P) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพือ่ ให้ผู้เรียนมกี ารรู้เรื่องภมู ิศาสตร์น้ัน ผู้เรียนต้องทักษะทีส่ าคญั ดงั ต่อไปน้ี 1) การสังเกต (observation) เป็นการนาผู้เรียนไปสังเกตการณ์สิ่งแวดล้อมท้ังที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ และมนุษย์สร้าง ขึน้ เชน่ การสังเกตความแตกตา่ งของส่งิ แวดลอ้ มระหว่างบ้านกับโรงเรียน 2) การแปลความข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ (interpretation of geographic data) เปน็ การแปลความหมาย ข้อมูลของสิ่งที่ปรากฏอยู่ บนพ้ืนโลก ที่อ้างอิงด้วยตาแหน่ง ที่อาจจะปรากฏอยู่ในรูปของแผนภูมิ แผนภาพ กราฟ ตาราง รูปถ่าย แผนที่ ภาพจาก ดาวเทียม และภูมสิ ารสนเทศ 3) การใช้เทคนิคและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (using geographic technique and equipment) เป็นการใช้วิธีการ เช่น การชัก ตัวอยา่ ง (sampling) การวาดภาพร่างในภาคสนาม การใชร้ ปู ถ่าย แผนที่ และเครอ่ื งมือตา่ งๆ ในการรวบรวมขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ 4) การใช้เทคโนโลยี (using technology) เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ผ่าน อินเทอร์เน็ต เช่น การใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลต่างๆ การใช้ Google Earth การใช้โทรศัพท์เคล่ือนที่ ประกอบ การเรียน การสอน
5.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์(Attitude : A) 1. ซื่อสตั ย์สจุ ริต - ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงต่อคนเองทั้งกาย และวาจา ใจ 2. มีวินยั - ประพฤติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของขอ้ ตกลงในหอ้ งเรียน 3. ใฝ่เรียนรู้ - ตง้ั ใจเพียงพยายามในการเรียน และเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ - แสวงหาความรู้รู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการ เลอื กใช้สือ่ อย่างเหมาะสม สรปุ เปน็ องค์ความรู้ และสามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ 4. มุ่งมั่นในการทางาน - ตงั้ ใจและรับผิดชอบในหน้าทีก่ ารงาน - ทางานด้วยเพยี งพยายามและอดทนเพอ่ื ให้สาเรจ็ ตามเป้าหมาย 6. จดุ เนน้ ส่กู ารพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน(เลือกเฉพาะจดุ เน้นขอ้ ทีม่ ใี นแผนการจัดการเรยี นรู้ สามารถ เพิ่มเติมจดุ เน้นตามนโยบายอื่นๆได้) 6.1 ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C Reading (อ่านออก) (W) Riting (เขียนได้) (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ทกั ษะด้านการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเปน็ ทีมและภาวะผนู้ า (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการส่อื สาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy) ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ทกั ษะการเปลี่ยนแปลง (Change) 6.2 ทกั ษะดา้ นชีวติ และอาชีพ ของคนในศตวรรษท่ี 21 ความยืดหยุ่นและการปรับตวั การรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์และเปน็ ตัวของตวั เอง ทกั ษะสังคมและสังคมข้ามวฒั นธรรม การเป็นผู้สรา้ งหรอื ผู้ผลิต (Productivity) และความรับผดิ ชอบเช่อื ถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) 6.3 คุณลักษณะของคนในศตวรรษท่ี 21 คณุ ลักษณะด้านการทางาน ได้แก่ การปรับตวั ความเปน็ ผู้นา คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชนี้ าตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลกั ษณะด้านศลี ธรรม ได้แก่ ความเคารพผอู้ ื่น ความซือ่ สัตย์ ความสานึกพลเมอื ง
7. การบรู ณาการ(เลือกเฉพาะข้อทีส่ ามารถบรู ณาการในแผนการจดั การเรียนรู้ สามารถเพิม่ เติมเรื่องอื่นๆ ได้) โครงการสถานศกึ ษาพอเพียง โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม อาเซียนศกึ ษา คณุ ธรรม ค่านิยม 12 ประการ อนรุ ักษ์พลงั งานและสิ่งแวดล้อม อืน่ ๆ(ระบ)ุ ..................................................................................... 8. ชนิ้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน/รอ่ งรอยแสดงความรู้) 1. รายงานบันทึกผลการเก็บรวบรวมข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ 9. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั ตอนท่ี 1 การเรียนร้ตู งั้ คาถาม หรอื ขน้ั ต้งั คาถาม 1. ครูให้นักเรียนดูภาพเทอร์โมมิเตอร์ บอรอมิเตอร์ มาตรวัดลม เคร่ืองวัดฝน แล้วถามนักเรียนว่า นักเรียนรู้จักเคร่ืองมือชนิดใดบ้าง และให้นักเรียนอธิบายการใช้งานเคร่ืองมือชนิดน้ันตามความรู้ของนักเรียน จากนั้นครูเช่อื มโยงการสนทนาเข้าสู่บทเรียน ขั้นตอนท่ี 2 การเรียนรแู้ สวงหาสารสนเทศ 2 . ค รู ติ ด บั ต ร ค า ค า ว่ า compass, map measurer, planimeter, barometer, thermometer, psychrometer, hygrometer, anemometer, rain gauge แล้วให้แต่ละกลุ่มค้นหาความหมายภาษาไทยของ คาศพั ท์ภาษาองั กฤษในบตั รคา 3. ครูสุ่มเรียกนักเรียนบอกความหมายของคาในบตั รคาจนครบทุกคา 4. ครูให้นักเรียนศึกษาประโยชน์และวิธีการใช้งานของเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์แต่ละชนิด แล้วบันทึก ข้อมลู ลงในแบบบันทึกความรู้ ข้นั ตอนท่ี 3 การเรียนร้เู พื่อสร้างองค์ความรู้ 5. ครูใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน 6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกเคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ที่นักเรียนสนใจ แล้วเก็บข้อมูลทางภูมิศาสตร์ แล้วบันทึกผลจดั ทาเปน็ รายงานนาเสนอหน้าชั้นเรยี น ขน้ั ตอนท่ี 4 การเรียนรู้เพื่อการสือ่ สาร 7. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปความรเู้ กีย่ วกบั เครื่องมือทางภมู ศิ าสตรเ์ ปน็ แผนที่ความคิด และ นาเสนอหน้าชั้นเรยี น ข้ันตอนท่ี 5 การเรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม 8. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างสถานการณ์ในการนาความรู้เกี่ยวกับเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ไป ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
10. ส่อื การสอน 1. ภาพเทอร์โมมเิ ตอร์ บอรอมิเตอร์ มาตรวัดลม เคร่ืองวดั ฝน 2. บัตรคา คาว่า compass, map measurer, planimeter, barometer, thermometer, psychrometer, hygrometer, anemometer, rain gauge 3. แบบบนั ทึกความรู้ 5. หนังสอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภูมิศาสตร์ ม. 4–6 11. แหล่งเรียนรใู้ นหรอื นอกสถานที่ ........................................................................................................................................................... 12. การวดั และประเมนิ ผล (ใสต่ ามความเหมาะสม) 12.1 วธิ ีการวัดและประเมินผล - วัดความเข้าใจของนักเรียนโดยการสังเกตความสนใจ ความตั้งใจเรียน การแสดงความ คิดเหน็ การตอบคาถาม และการมสี ่วนรว่ มในการทาแบบฝกึ เสริมประสบการณใ์ นช้ันเรียน 12.2 เครื่องมอื - การประเมินทักษะการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม - การประเมินทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 12.3 เกณฑก์ ารประเมิน - การประเมินทักษะการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม (ผ่านเกณฑ์ต้องมีคะแนนตั้งแต่ระดับปานกลาง หรอื มี 5 คะแนนขนึ้ ไป) - การประเมินทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (ผ่านเกณฑ์ต้องมีคะแนนตั้งแต่ระดับปานกลาง หรอื มี 5 คะแนนขนึ้ ไป) 13. กิจกรรมเสนอแนะ การได้ศกึ ษาจากสือ่ การสอนจรงิ ๆ อาทิ เทอร์โมมิเตอร์ บารอมเิ ตอร์ มาตรวัดลม เคร่อื งวัดฝน
14. บันทึกผลหลงั การสอน 14. 1. ผลการจัดการเรียนการสอน 1. นักเรียนจานวน 55 คน ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 55 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ไม่ผ่านจุดประสงค์ ................................คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................................................. ได้แก่ 1. ............................................................................................................................ 2. ............................................................................................................................ นกั เรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นกั เรียนพิการได้แก่ 1. ............................................................................................................................ 2. ............................................................................................................................ 2. นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจ ประโยชนแ์ ละวิธีการใชเ้ คร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ / การเลอื กใช้เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ให้เหมาะสมกับความ ตอ้ งการในดา้ นข้อมลู และนักเรียนมคี วามรเู้ กิดทักษะ 3. นกั เรียนเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ซื่อสัตย์สุจริต - ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงต่อคนเองทั้งกาย และวาจา ใจ มวี นิ ยั - ประพฤติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคบั ของขอ้ ตกลงในหอ้ งเรียน ใฝ่เรียนรู้ - ตง้ั ใจเพียงพยายามในการเรียน และเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ - แสวงหาความรู้รู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการ เลอื กใช้สือ่ อย่างเหมาะสม สรุปเปน็ องค์ความรู้ และสามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ มงุ่ ม่ันในการทางาน - ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบในหน้าที่การงาน - ทางานด้วยเพยี งพยายามและอดทนเพอ่ื ให้สาเร็จตามเป้าหมาย 14.2 ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข ปญั หา - การเรียนจากสื่อในหนังสอื อุปสรรค – ผเู้ รียนขาดความสนใจ แนวทางแก้ปญั หา – สื่อจรงิ สือ่ ทนั สมยั 14.3 เสนอแนะ ครูเลือกสุ่มนกั เรียนในการตอบคาถาม ให้มากขึ้น บ่อยขึ้นกว่าเดิม เพื่อกระตุ้นใหน้ กั เรียนสนใจ เรียนตลอดเวลา เพราะไม่รู้ว่าครจู ะสุ่มโดนตัวเองตอไหน ลงชื่อ....................................................... ( นางลาวลั ย์ สหี ะวงษ์ ) ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ
ความเห็นของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรียนรขู้ อง นางลาวลั ย์ สีหะวงษ์ แล้วมีความคิดเห็นดังน้ี 1. องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ครบถ้วนและถกู ต้อง ยงั ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศกึ ษา สอดคล้อง ยงั ไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. รปู แบบของการจดั การเรียนรู้ เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ ยงั เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 4. สอ่ื การเรียนรู้ เหมาะสมกับรปู แบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป 5. การประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรยี นรู้ ยังไม่ครอบคลมุ ประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 6. ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ลงชือ่ ................................................................ (นายสุเมธ หน่อแก้ว.) ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียนน้าปลีกศึกษา
แบบประเมินทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่ม (10 คะแนน) สาหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ผรู้ บั การประเมิน/กลุ่ม .................................................................... ระดับชั้น/หอ้ ง.................. ผปู้ ระเมิน ตนเอง เพือ่ น ครู ประเมินครงั้ ที่ ..............................วันที่ ..................เดอื น ..................................... พ.ศ............... เรือ่ งที่เรยี นรู้................................................................................................................................. คาชีแ้ จง : ให้ผู้ประเมนิ สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียน แล้วทาเครอ่ื งหมาย ให้ตรงกบั ระดับคุณภาพ ระดบั คุณภาพ พฤติกรรม ดีมาก ดี ปาน น้อย น้อย พฤติ กลาง ที่สุด กรรมที่ (5) (4) (3) (2) (1) สงั เกต 1. การทบทวนตรวจสอบความรเู้ ดิม 2. การแสวงหาความรใู้ หม่ 3. การศกึ ษาและสร้างความเข้าใจข้อมลู ความรู้ใหม่ 4. การแลกเปลี่ยนความรู้กับความเข้าใจกบั กลุ่ม 5. การสรปุ และจดั ระเบียบความรู้ 6. การปฏิบตั ิ การแสดงความรแู้ ละผลงาน 7. การประยุกต์ใชค้ วามรู้ 8. การนาเสนอหน้าช้ันเรียน 9. การแสดงความคิดเหน็ -ถาม-ตอบ 10. การใช้ เก็บรักษาอุปกรณ์ รวมคะแนน
ขอ้ สงั เกต หลกั ฐาน รอ่ งรอย อืน่ ๆ .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน - พฤติกรรมที่ดีเด่นเป็นที่ยอมรบั และเป็นแบบอย่างทีด่ ี ให้ 5 คะแนน - พฤติกรรมทีป่ ฏิบัติชดั เจนและสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชัดเจน ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมทีไ่ ม่ปฏิบตั ิเลย ให้ 0คะแนน หมายเหตุ นาคะแนนทีไ่ ด้ 50 คะแนน มาหารด้วย 5 จะได้คะแนนเตม็ 10 คะแนน แล้วแปลความหมายตามเกณฑด์ งั น้ี เกณฑ์การแปลความหมายของชว่ งคะแนน ช่วงคะแนน ความหมาย 9 -10 ดีมาก 7 - 8 ดี 5 – 6 ปานกลาง 3 – 4 น้อย 0 – 2 น้อยทีส่ ุด ผลการประเมินทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่ม อยู่ในระดบั ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ สรุปผลการประเมินทักษะการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม(ผา่ น ต้องมีคะแนนตั้งแต่ 5 คะแนนขนึ้ ไป) ผา่ น ไม่ผ่าน ลงชื่อ …………………………….………………….ผปู้ ระเมิน ( นางลาวัลย์ สีหะวงษ์ ) ………../……………../…….….
แบบประเมินทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) (10 คะแนน) ผรู้ บั การประเมิน/กลุ่ม ........................................................................ ระดับช้ัน/ห้อง.................. ผปู้ ระเมิน ตอนเอง เพือ่ น ครู ประเมินครงั้ ที่ .......................วันที่ ......................เดือน ......................................... พ.ศ............... เรื่องที่เรยี นรู้................................................................................................................................ คาชี้แจง : ให้ผู้ประเมนิ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วทาเครือ่ งหมาย ให้ตรงกับระดบั คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ทักษะผเู้ รียน รายการประเมิน ดี ดี ปาน น้อย น้อย ปรบั หลักฐาน ด้าน มาก กลาง ที่สุด ปรงุ ทีเ่ ด่นชดั (5) (4) (3) (2) (1) (0) ทกั ษะผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21(21st Century Skills) ทักษะในสาระ 1. Reading (อ่านออก) วิชาหลัก (Core 2. (W)Riting(เขียนได้) Subjects–3Rs) 3. (A)Rithemetics(คิดเลขเป็น) ทกั ษะการ 1.Critical Thinking and Problem เรยี นร้แู ละ Solving (ทกั ษะด้านการคิดอย่างมี นวตั กรรม วิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา) (Learning and 2.Creativity and Innovation (ทักษะด้าน Innovation Skills การสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม) – 8Cs) 3. Cross-cultural Understanding (ทกั ษะ ด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่าง กระบวนทัศน)์ 4. Collaboration,Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมอื การทางานเป็นทีม และภาวะผนู้ า) 5. Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการส่อื สาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)
ระดบั คณุ ภาพ ทกั ษะผเู้ รียน รายการประเมิน ดี ดี ปาน น้อย น้อย ปรบั หลกั ฐาน ด้าน มาก กลาง ทีส่ ุด ปรงุ ที่เด่นชัด (5) (4) (3) (2) (1) (0) 6. Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโน โลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร) 7. Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้) 8. Compassion (มีคณุ ธรรมมเี มตตา กรุณามรี ะเบียบวินัย) ทกั ษะการเรียนรแู้ ละภาวะผนู้ า (2Ls) ทกั ษะการ 1. Learning(ทกั ษะการเรียนร)ู้ เรียนรู้และ 2. Leadership(ภาวะผู้นา) ภาวะผนู้ า (2Ls) ข้อสงั เกต หลักฐาน ร่องรอย อื่น ๆ .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
เกณฑก์ ารให้คะแนน - พฤติกรรมทีด่ ีเด่นเป็นทีย่ อมรบั และเป็นแบบอย่างทีด่ ี ให้ 5 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนและสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชัดเจน ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครง้ั ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมทีไ่ ม่ปฏิบตั ิเลย ให้ 0คะแนน นาคะแนนท้ังหมดรวมกันได้คะแนนเต็ม 65 คะแนน แล้วหาร 6.5 จะได้คะแนนเต็ม 10 คะแนน เกณฑก์ ารแปลความหมายของช่วงคะแนน ชว่ งคะแนน ความหมาย 9 -10 ดีมาก 7 - 8 ดี 5 – 6 ปานกลาง 3 – 4 น้อย 0 – 2 น้อยที่สดุ ผลการประเมินทกั ษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดับ ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อยทีส่ ุด สรุปผลการทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 ผา่ น ไม่ผา่ น(ผ่าน ต้องมีคะแนนต้ังแต่ 5 คะแนนขนึ้ ไป) ลงชื่อ …………………………….………………….ผปู้ ระเมิน ( นางลาวลั ย์ สีหะวงษ์ ) ………../……………../…….….
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: