Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์

ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์

Published by ampinee L, 2018-08-09 00:52:00

Description: c1-1

Search

Read the Text Version

สรุป บทท่ี 1 ความรู้เบอื้ งต้นเก่ยี วกับเศรษฐศาสตร์1) ความหมายของเศรษฐศาสตร์: เศรษฐศาสตร์คอื ศาสตร์ทศ่ี กึ ษาเกี่ยวกบั การเลอื กหนทางในการใช้ ปัจจยั การผลติ อนั มอี ยจู่ ากดั สาหรับการผลติ สนิ ค้าและบริการเพอ่ื ตอบสนองความต้องการทไ่ี มจ่ ากดั ของมนษุ ย์2) ทรัพยากรการผลติ (Productive Resources): แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ (1) สงิ่ ท่ีคนสร้างขนึ ้ (Man- Made Resources) และ (2) เกิดเองโดยธรรมชาติ (Natural-Made Resources)3) ปัจจยั การผลติ (Productive Factors): แบง่ ได้ 4 ประเภท คือ (1) แรงงาน (Labor: คา่ แรง) (2) ทดี่ ิน และทรัพยากรณ์ธรรมชาติ (Land and Natural Resources: คา่ เชา่ ) (3) ทนุ (Capital: ดอกเบยี ้ ) และ (4) ผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneur: กาไร) โดยในระบบทนุ นิยม ผ้ปู ระกอบการจะเป็ นปัจจยั ท่ีสาคญั ทส่ี ดุ เพราะเป็ นผ้รู ิเร่ิมการผลติ และเป็ นผู้ รวบรวมปัจจยั การผลติ อนื่ ๆ นอกจากนนั้ ยงั เป็ นผ้วู างนโยบายและตดั สนิ ใจในทกุ ขนั้ ตอนการผลติ ดรู ูป ท่ี 1 รูปท่ี 1: ความสมั พนั ธ์ของทรัพยากรณ์การผลิต4) สินค้าและบริการ (Goods and Services): แบง่ ได้ 2 ประเภท คอื (1) เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods) และ (2) ทรัพยเ์ สรี (Free Goods) เศรษฐทรัพย์มี “ต้นทุน” การผลติ แตท่ รัพย์เสรีไมม่ ี

5) ปัญหาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ : แบง่ ได้ 3 ปัญหา คอื (1) ผลติ อะไร (What), (2) ผลติ อยา่ งไร (How), และ (3) ผลติ เพ่อื ใคร (For Whom) ดรู ูปท่ี 1 และ 2 ประกอบ 5.1) ผลติ อะไร: เพราะทรัพยากรมจี ากดั การเลอื กใช้ไปในทางใดจะมคี า่ เสยี โอกาสเสมอ (Opportunity Cost) โดยทว่ั ไปจะเลอื กใช้ไปในทางท่ีมคี า่ เสยี โอกาสตา่ สดุ เสมอ 5.2) ผลติ อย่างไร: การใช้เทคโนโลยีเปลยี่ น input(s) ให้เป็ น output(s) เทคโนโลยที ่ีมปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ (Efficiency) คือ เทคโนโลยีท่ีใช้ input(s) น้อยกวา่ วิธีอ่นื แตใ่ ห้ output(s) เทา่ กบั วิธีอนื่ หรือ เทคโนโลยีทีใ่ ช้ input(s) เทา่ กบั วธิ ีอน่ื แตใ่ ห้ output(s) มากกวา่ วธิ ีอน่ื (ทงั้ สองแนวคดิ มีวธิ ีการคานวณตา่ งกนั แตใ่ ห้ผลเหมือนกนั ) 5.3) ผลิตเพ่ือใคร: เป็ นการกระจาย (Allocation) สนิ ค้าและบริการที่ผลติ ได้ หรือ ทรัพยากร ไปสู่ ประชาชนหรือผ้บู ริโภค ถ้าการกระจายสนิ ค้าและบริการไมเ่ ป็ นธรรม จะเกิดปัญหาความไมเ่ สมอภาค (Equity) รูปท่ี 2: ปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ6) ระบบเศรษฐกิจ: ระบบเศรษฐกิจสามารถแบง่ ออกได้เป็ น 3 กลมุ่ หลกั คือ (1) แบบทนุ นิยมหรือเสรี นิยม (Capitalism or Liberalism) (2) แบบวางแผน (Planned Economy) และ (3) แบบผสม (Mixed Economy) การพิจารณาวา่ ประเทศหนงึ่ ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบใด สามารถพจิ ารณาอยา่ งคร่าวๆได้จาก 2 สงิ่ หลกั คอื (1) เอกชนเป็ นเจ้าของปัจจยั การผลติ ได้หรือไม่ และ (2) เอกชนดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจได้โดย เสรีหรือไม่ ถ้าคาตอบคอื “ไม”่ ประเทศนนั้ นา่ ทจ่ี ะมีระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน แตถ่ ้า “ใช”่ ประเทศ นนั้ นา่ ท่จี ะมรี ะบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม

ระบบ ลกั ษณะสาคัญ ข้อดี ข้อเสีย เศรษฐกิจแบบทุนนิยม 1.เอกชนเป็ นเจ้าของปัจจยั การผลติ ถ้าเอกชน (นายทนุ ) มี ถ้าเอกชน (นายทนุ ) ไมม่ ี(เอกชนคอื ใคร 2.ใช้กลไกราคา และการแขง่ ขนั โดยก็ได้ทีไ่ มใ่ ช่ เสรีแก้ปัญหาเศรษฐกิจ คณุ ธรรมจริยธรรม หรือ คณุ ธรรมจริยธรรม หรือรัฐบาล) 3.เอกชนมีอสิ ระในการดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ (ใช้กาไร ผลประโยชน์สว่ นตวั ไมข่ ดั ผลประโยชน์สว่ นตวั ขดัแบบวางแผน หรือความพอใจเป็ นตวั ตดั สนิ ) 4.รัฐไมย่ งุ่ เก่ียวกบั เร่ืองของ กบั สว่ นรวม กบั สว่ นรวมแบบผสม เศรษฐกิจ (แตด่ แู ลให้เกิดกลไก ตลาด) 1.กาไรเป็ นสง่ิ จงู ใจให้เกิด 1.ใช้ทรัพยากรไปในทางท่ี 1.รัฐบาลเป็ นเจ้าของปัจจยั การผลติ การพฒั นา ไมเ่ กิดประโยชน์กบั (และทรัพย์สนิ )ทงั้ หมด 2.รัฐบาลเป็ นผ้ดู าเนินกจิ กรรมทาง 2.ใช้ทรัพยากรการผลติ สว่ นรวม เศรษฐกิจ (รัฐบาลเป็ นผ้วู างแผน พฒั นาทางเศรษฐกิจ) อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.เกิดความเลอื่ มลา้ ผสมระหวา่ งแบบทนุ นยิ มและแบบ ทางการกระจายรายได้ วางแผน ขนึ ้ อยกู่ บั ให้ความสาคญั รูปแบบใดมากกวา่ และการถือทรัพย์สนิ 1.รัฐและเอกชนเป็ นเจ้าของปัจจยั การผลติ 1.มเี สถียรภาพ 1.ขาดประสทิ ธิภาพใน 2.ใช้กลไกราคา และการแขง่ ขนั โดย เสรีแก้ปัญหาเศรษฐกิจ แตร่ ัฐ 2.ไมม่ ีความเลอ่ื มลา้ การผลติ (คนไมม่ ี สามารถแทรกแซง และวางแนว ทางการดาเนนิ การทางเศรษฐกิจ ทางการกระจายรายได้ แรงจงู ใจ) ไมเ่ กิดการ (เช่น แผนพฒั นาฯ) ได้ และการถือทรัพย์สนิ พฒั นา (หรือเกิดแตช่ ้า) 2.ใช้ทรัพยากรไมม่ ี ประสทิ ธิภาพ ผสมระหวา่ งแบบทนุ นยิ ม ผสมระหวา่ งแบบทนุ นยิ ม และแบบวางแผน ขนึ ้ อยู่ และแบบวางแผน ขนึ ้ อยู่ กบั ให้ความสาคญั กบั ให้ความสาคญั รูปแบบใดมากกวา่ รูปแบบใดมากกวา่ดรู ูปท่ี 3 และ 4 ซงึ่ อธิบายระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมและกลไกที่ใช้แก้ปัญหาของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นยิ ม และดรู ูปท่ี 5 และ 6 ซงึ่ อธิบายระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนและกลไกท่ีใช้แก้ปัญหาของระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน

รูปท่ี 3: ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม

รูปท่ี 4: การใช้กลไกราคาในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม รูปท่ี 5: ระบบเศรษฐกจิ แบบวางแผนรูปท่ี 6: การใช้กลไกของระบบเศรษฐกจิ แบบวางแผนในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกจิ

7) การแก้ปัญหาพืน้ ฐานของเศรษฐกจิ ดรู ูปที่ 4 และ 6 ท่ีอธิบายถึงกลไกการแก้ปัญหาของระบบ เศรษฐกิจแบบทนุ นิยมและแบบวางแผน ตามลาดบั ระบบเศรษฐกจิ เคร่ืองมอื แก้ปัญหาพืน้ ฐานของเศรษฐกิจแบบทุนนิยม กลไกราคาหรือกลไกตลาด (Price or Market Mechanism) (รูปที่ 4)แบบวางแผน วางแผนจากสว่ นกลาง (รูปที่ 6)แบบผสม ใช้กลไกราคาร่วมกบั วางแผนจากสว่ นกลาง (เชน่ ประเทศไทย)8) วชิ าเศรษฐศาสตร์: แบ่งเป็ น 2 สาขาหลกั คือ (1) เศรษฐศาสตร์จลุ ภาค (Microeconomics) และ (2) เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macroeconomics) 8.1) เศรษฐศาสตร์จุลภาค: เป็ นการศกึ ษาหนว่ ยยอ่ ยของระบบเศรษฐกิจซงึ่ ประกอบไปด้วย ผ้ผู ลติ (Producers) และ ผ้บู ริโภค (Consumers) โดยใช้ทฤษฎีของผ้ผู ลติ และของผ้บู ริโภคในการศกึ ษา ตามลาดบั นอกจากนี ้ เราจะใช้กลไกตลาดร่วมในการศกึ ษาถึงลกั ษณะการปฎสิ มั พนั ธ์ของทงั้ สอง หนว่ ยยอ่ ย 8.2) เศรษฐศาสตร์มหาภาค: เป็ นการศกึ ษาเศรษฐกิจทงั้ ระบบ เช่น รายได้ประชาชาติ ระดบั ราคา สนิ ค้าและบริการ การออมและการบริโภคของประเทศ การใช้จา่ ยของรัฐบาล การลงทนุ การนาเข้า และสง่ ออก และการจ้างงาน เป็นต้น9) หน่วยเศรษฐกจิ (Economic Units): ประกอบด้วย 3 หนว่ ย คอื (1) ครัวเรือน (Household) (2) หนว่ ยธรุ กจิ (Firms) และ (3) รัฐบาล (Government) 9.1) ครัวเรือน: เป็ นผ้บู ริโภคสนิ ค้าและบริการ (ทาให้เกิดอปุ สงค์ในตลาดสนิ ค้าและบริการ) แตเ่ ป็ น เจ้าของปัจจยั การผลติ (ทาให้เกิดอปุ ทานในตลาดแรงงาน) 9.2) หน่วยธุรกิจ: เป็ นผ้ผู ลติ สนิ ค้าและบริการ (ทาให้เกดิ อปุ ทานในตลาดสนิ ค้าและบริการ) แตเ่ ป็ นผู้ ซือ้ ปัจจยั การผลติ (ทาให้เกดิ อปุ สงค์ในตลาดแรงงาน) 9.3) รัฐบาล: ทาหน้าท่คี วบคมุ การแขง่ ขนั ของเอกชนให้เป็ นไปโดยเสรี และดแู ลทกุ ข์สขุ ของประชาชน ลกั ษณะการปฎิสมั พนั ธ์ของทงั้ 3 หนว่ ยดไู ด้ในรูปที่ 7

รูปท่ี 7: การหมุนเวยี นในระบบเศรษฐกจิ (Economics Circular Flows)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook