ห นั ง สื อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รีย น รู้ ตำ บ ล บ า ง ใ บ ไ ม้ bang bai mai ชุมชนคุณธรรม วัดบางใบไม้ ตำบล บาง ใบไม้ อำ เ ภ อ เ มื อ ง สุ ร า ษ ฏ ร์ ธ า นี จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฏ ร์ ธ า นี
นั ก ศึ ก ษ า ฝึ ก ป ร ะ ส บ ก า ร วิ ช า ชี พ ท า ง รั ฐ ป ร ะ ศ า ส น ส า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี คณะผู้จัดทำ นาย สัจจะพล ภักดี นาย ปองพล เพ็ชรทิพย์
\"การดำเนิ นชีวิตโดยใช้ วิชาการอย่างเดียวยังไม่เพียง พอ จะต้องอาศัยความรู้รอบ ตัวและหลักศีลธรรมประกอบ ด้วย ผู้ที่มีความรู้ดีแต่ขาดความยั้ง คิด นำความรู้ไปใช้ในทางมิ ชอบ ก็เท่ากับเป็ นบุคคลที่ เป็ นภัยแก่สังคมของมนุษย์\" พ ร ะ บ ร ม ร า โ ช ว า ท ใ น พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ใ น พิ ธี พ ร ะ ร า ช ท า น ป ริ ญ ญ า บั ต ร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์ 1 8 กั น ย า ย น 2 5 0 4
สารบัญ เรื่ อง หน้ า ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1 ส่วนที่ 2 โครงสร้างของชุมชน 9 ส่วนที่ 3 โครงสร้างเศรษฐกิจและอาชีพ 15 ส่วนที่ 4 สถานที่สำคัญ 19 ส่วนที่ 5 การวิเคราะห์ ศักยภาพ ชุมชน 25
1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้ นฐาน
2 1 . 1 ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ตำ บ ล ก่อนเป็ นหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านเบิดล่าง เ รี ย ก ว่ า ” ต ร ะ กู ล ธ น ะ ภ า ช น์ ” มี ก า ร ป ก ค ร อ ง ตำบลบางใบไม้ เล่ากันว่ามีขุนศึกผู้หนึ่ ง สืบทอดกันมาตามลำดับ คือ ผู้ใหญ่บ้าน นายวินัย อบยพครอบครัวมาจาก จังหวัด ธนะภาชน์ และนางจรัญญา ศรีรักษ์ ซึ่ งเป็ นผู้ใหญ่ นครศรีธรรมราชมาสร้างบ้านลักษณะเป็ น บ้านคนปั จจุบันบ้านเรือนไทยหลังดั้งเดิมที่ขุนศึก เ รื อ น ไ ม้ อ า ศั ย อ ยู่ ใ น ตำ บ ล บ า ง ใ บ ไ ม้ มาสร้างอาศัยอยู่แต่ดั้งเดิมก็ยังคงอนุรักษ์ไว้เป็ น เนื่ องจากพื้นที่ดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ เ รื อ น ไ ท ย โ บ ร า ณ ที่ ช ม ร ม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว จั ง ห วั ด เหมาะ แก่การประกอบอาชีพ ต่อมาได้ตั้ง สุราษฎร์ธานี ได้จัดให้เป็ นสถานที่โบราณแห่งหนึ่ ง ฐานครองครัวรุ่นลูก หลานและมีตระกูล สำหรับชม และทัศนศึกษา พื้ นที่ของหมู่บ้าน สืบทอดที่มีชื่ อเสียง ประกอบด้วย ลำคลองสายเล็กๆไหลผ่านหมู่บ้าน ช า ว บ้ า น เ ห็ น ว่ า บ้ า น เ รื อ น ส่ ว น ใ ห ญ่ ตั้ง บ้ า น เ รื อ น อ ยู่ ริมฝั่ งคลองของหมู่บ้าน และมีสภาพพื้ นที่เป็ นที่ต่ำ จึงมีน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝนและพื้ นที่อยู่ต้นทาง ของลำบาง จึงเรียกหมู่บ้านว่า”เบิดล่าง” http://www.bangbaimai.go.th/
3 1 . 2 ข น า ด แ ล ะ ที่ ตั้ ง ข อ ง ตำ บ ล ตำบลบางใบไม้เป็ นตำบลที่ตั้งห่างจากอำเภอเมืองฯจังหวัดสุราษฎร์ธานี ห่างจากตัวเมือง ประมาณ 2 กิโลเมตร ด้วยลักษณะพื้นที่ของตำบลมี ลำคลองเป็นจำนวนมากสองข้างเป็นป่าไม้เบญจพรรณ ในลำคลองจะมี ใบไม้ลอยทับถมกันจนน้ำขึ้นลงไม่สะดวก จึงได้นำเหตุผลดังกล่าว มาตั้ง ชื่อตำบลบางใบไม้ องค์การบริหารส่วนตำบลบางใบไม้ มีเนื้อที่ประมาณ 10.14 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ6,337.5 ไร่ และมีลักษณะพื้นที่ เป็นที่ราบลุ่มบริเวณริมแม่น้ำ บริเวณพื้นที่มีลำคลองหลายสายไหลผ่าน และมีอาณาเขตดังนี้ (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561) ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบางไทร อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลบางไทร, ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลบาง ตำบลคลองน้อย อำเภอเมืองฯ จังหวัด ชนะ อำเภอเมืองฯ จังหวัด สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี ทิศใต้ ติดต่อกับแม่น้ำตาปี อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
4 ภาพ แผนที่ตำบลบางใบไม้ (ที่มา : http://www. bangbaimai.go.th/)
5 1 . 3 ส ภ า พ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ป ร ะ ช า ช น ส่ ว น ใ ห ญ่ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ทำ สวนมะพร้าว มีบางส่วนที่เป็ นพื้นที่ปลูก ปาล์มและกล้วย ประชาชนบางส่วนที่ ประกอบอาชีพประมง จะเป็ นลักษณะ ประมงขนาดเล็ก ซึ่งใช้เรือหางยาวเป็ น หลัก ตำบลบางใบไม้ มีกลุ่มท่องเที่ยวที่ มีชื่ อเสียงและประสบความสำเร็จพอ สมควร ซึ่งได้แก่ กลุ่มท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ตำบลบางใบไม้ โดยตำบลบาง ใบไม้ มีกลุ่มอาชีพที่มีความเข้มแข็ง ด้านการประกอบอาชีพอยู่ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว สกัดเย็น 2) กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตำบลบางใบไม้ และ3)กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรตำบลบางใบไม้ ( แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ตำ บ ล บ า ง ใ บ ไ ม้ พ.ศ.2561)
6 1.4 เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น 1.4.1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน หมู่ที่ 1 บ้านเบิดล่าง มีพื้นที่ประมาณ 892 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 297 ไร่,สวน ปาล์มประมาณ 63 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 16 ไร่ หมู่ที่ 2 บ้านคลองใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 714 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 596 ไร่,สวน ปาล์มประมาณ 127 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 32 ไร่ หมู่ที่ 3 บ้านปลายคลอง มีพื้นที่ประมาณ 1,936 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 1,072 ไร่,สวนปาล์มประมาณ 229 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 64 ไร่ หมู่ที่ 4 บ้านบางไผ่ มีพื้นที่ประมาณ 1,357 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 893 ไร่,สวนปาล์ม ประมาณ 190 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 48 ไร่ หมู่ที่ 5 บ้านบางยาง มีพื้นที่ประมาณ 1,756 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 1,191 ไร่,สวน ปาล์มประมาณ 254 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 58 ไร่
7 สำหรับในพื้นที่ตำบลบางใบไม้มีกลุ่มอาชีพ/องค์กรต่างๆ ดังนี้ 1) กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตำบลบางใบไม้ 2) กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น 3) กลุ่มผลิตภัณฑ์จากต้นจาก 4) กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรตำบลบางใบไม้ 5) กลุ่มสตรีตำบลบางใบไม้ 6) ชมรมผู้สูงอายุตำบลบางใบไม้ 7) กลุ่มสวัสดิการชุมชนตำบลบางใบไม้
8 1.5 ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ 1.5.1 แหล่งน้ำทางการเกษตร พื้นที่ตำบลบางใบไม้ มีลักษณะเป็นพื้นที่ ใกล้ปากแม่น้ำ ทำให้บริเวณพื้นที่มี ลำคลอง หลายสาย โดยมีคลองสายหลักที่ สำคัญอยู่ 5 สาย 1.5.2 แหล่งน้ำกิน น้ำใช้ มีแหล่งน้ำจากลำคลองในพื้นที่และการ ประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดสุราษฎร์ธานี (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561)
9 ส่วนที่ 2 โครงสร้างของ ชุมชน
10 2.1 ด้านการเมืองการปกครอง จำนวนหมู่บ้านที่อยู่ในเขต อบต. บางส่วน ได้แก่หมู่ที่ 1 บ้านเบิดล่าง และ หมู่ที่ 2 บ้านคลองใหญและจำนวน หมู่บ้านในเขต อบต. เต็มหมู่บ้าน มี 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3 บ้านปลายคลอง หมู่ที่ 4 บ้านบางไผ่ และหมู่ที่ 5 บ้านบางยาง 2.1.1 การเลือกตั้ง การเลือกตั้งที่องค์การบริหารส่วนตำบล ดำเนินการเอง คือการเลือกตั้งนายกองค์การบริหาร ส่วนตำบล และ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล โดยใช้วิธีการ เลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย โดยแบ่ง หน่วยเลือก ตั้งเป็น 14 หน่วย หมู่ที่ 1-14 ใช้ศาลาหมู่บ้านของทุก หมู่บ้านเป็นสถานที่เลือกตั้ง (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบล บางใบไม้ พ.ศ.2561 ) (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561 )
11 2.2 ประชากร ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร ตำบลบางใบไม้ มีจำนวน ประชากรทั้งสิ้น 2,756 คน (ข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม 2561) ช่วงอายุและจำนวนประชากร 2,75 6 คน ( ที่มา : สำนักงานทะเบียนราษฎร์ อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม 2561)
12 2.3 สภาพทางการศึกษาและสาธารณสุข 2.3.1 การศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา 2 แห่ง (ร.ร.วัดบางใบไม้ ร.ร.บ้านปลายคลอง) โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง (ร.ร.วัดบางใบไม้โครงการขยายโอกาส ทางการศึกษา) 2.3.2 การสาธารณสุข สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง (ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 บ้านบางไผ่) (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561 )
13 2.4 บริการทางสังคม/ความเป็นอยู่ 2.4.1 การสังคมสงเคราะห์ สำหรับตำบลบางใบไม้ มีการช่วยเหลือในด้านสังคมสงเคราะห์ให้กับ บุคคลดังนี้ 1.จำนวนผู้รับเบี้ยยังชีพคนชรา 418 คน 2. จำนวนผู้รับเบี้ย คนพิการ 38 คน และจำนวนผู้รับเบี้ยผู้ป่ วยเอดส์ 2 คน 2.4.2 การคมนาคมขนส่ง การเดินทางไปตำบลบางใบไม้ โดยใช้การคมนาคมและ ขนส่งได้ 2 ทาง 1) ทางบก มีถนนสายหลักคือ ถนน ทางหลวงชนบทสาย 2007 และ ถนนทางหลวงสาย 420 และ2) ทางน้ำ มีคลองหลายสายที่มีการเชื่อมต่อกับแม่น้ำ ตาปี 2.4.3 การเดินทาง การเดินทางเข้าสู่แต่ละหมู่บ้าน โดยใช้การเดินทางได้ 2 ทาง ทั้งทางบกและทาง น้ำ ดังนี้ ( ที่มา : แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561 )
14 2.4.4 การไฟฟ้ า ในตำบลบางใบไม้มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 1,169 ครัว เรือน ประชาชนในพื้นที่มีไฟฟ้ าใช้ 100 % ของ จำนวน ครัวเรือนทั้งหมด 2.4.5 การประปา ประชาชนในพื้นที่มากกว่า90%ใช้น้ำจากการประปา ส่วนภูมิภาคจังหวัดสุราษฎร์ธานี 2.4.6 การโทรคมนาคม ตำบลบางใบไม้มีโทรศัพท์สาธารณะจำนวน 5 แห่ง 2.5 ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี และงานประจำปี มีดังนี้ 1) งานชักพระ,ทอดผ้าป่าประจำปีของจังหวัด สุราษฎร์ธานี 2) งานประเพณีลอยกระทงและ 3) งานประเพณีรดน้ำผู้สูงอายุ (จัดในวันจบปีจบ เดือน) (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561 )
15 ส่วนที่ 3 โครงสร้างเศรษฐกิจ และอาชีพ
16 3.1 แหล่งทุนทางธรรมชาติ 3.1.1 แหล่งน้ำทางการเกษตร พื้นที่ตำบลบางใบไม้ มีลักษณะเป็นพื้นที่ใกล้ปากแม่น้ำ ทำให้บริเวณ พื้นที่มีลำคลอง หลายสาย โดยมีคลองสายหลักที่สำคัญอยู่ 5 สาย 3.1.2 แหล่งน้ำกิน น้ำใช้ มีแหล่งน้ำจากลำคลองในพื้นที่ และการประปาส่วนภูมิภาคจังหวัด สุราษฎร์ธานี 3.2 แหล่งอาหาร และผลิตภัณฑ์ชุมชน ในพื้นที่ตำบลบางใบไม้จัดทำผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เนื่องจากประชาชนในตำบล บางใบไม้ส่วนใหญ่ทำการเกษตรเกี่ยวกับทำสวนมะพร้าว จึงได้ผลิตภัณฑ์ น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น และ ผลิตภัณฑ์จากต้นจาก เช่น น้ำส้มจาก,น้ำตาลจ ผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561)
17 3.3 สถานภาพทางเศรษฐกิจของประชาชน 3.3.1 การเกษตร ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทำสวนมะพร้าว ส่วนที่เหลือเป็นสวนปาล์ม,กล้วย เป็นต้น ซึ่งแต่ละหมู่บ้านพื้นที่การทำการเกษตรดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านเบิดล่าง มีพื้นที่ประมาณ 892 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 297 ไร่,สวนปาล์มประมาณ 63 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 16 ไร่ หมู่ที่ 2 บ้านคลองใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 714 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 596 ไร่,สวนปาล์มประมาณ 127 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 32 ไร่ หมู่ที่ 3 บ้านปลายคลอง มีพื้นที่ประมาณ 1,936 ไร่ ทำสวนมะพร้าว ประมาณ 1,072 ไร่,สวนปาล์มประมาณ 229 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 64 ไร่ หมู่ที่ 4 บ้านบางไผ่ มีพื้นที่ประมาณ 1,357 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 893 ไร่,สวนปาล์มประมาณ 190 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 48 ไร่ หมู่ที่ 5 บ้านบางยาง มีพื้นที่ประมาณ 1,756 ไร่ ทำสวนมะพร้าวประมาณ 1,191 ไร่,สวนปาล์มประมาณ 254 ไร่ และสวนกล้วยประมาณ 58 ไร่ (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561)
18 3.4 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ ในพื้ นที่ตำบลบางใบไม้มีสถานประกอบการประเภทการ พาณิชย์ ได้แก่ ปั๊มน้ำมัน 1 แห่ง (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561 )
19 ส่วนที่ 4 สถานที่สำคัญ
4.1 แหล่งท่องที่ยว 20 สถานที่น่ าสนใจ กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บางใบไม้ สุราษฏร์ธานี กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บางใบไม้ สุราษฏร์ จึงมีจุดเช็คอินถ่ายรูปโพสต์ลงสังคม ธานี กิจกรรมล่องเรือเที่ยวชุมชนเป็นหนึ่ง ออนไลน์ อย่าง อุโมงค์จาก ที่เท่สวยงาม กิจกรรมที่น่าสนใจ เริ่มกันตั้งแต่ 8 โมงเช้า แนวฮิปสเตอร์ และด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ล่องไปตามลำคลองสายเล็กที่มีมากนับร้อย ที่มีอยู่อย่างสมบูรณ์ ทำให้ชาวชุมชนได้นำ สาย ตลอดสองริมฝังคลองที่ล่องผ่านมีต้น มาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที อาทิ เอาลูกจาก จากและต้นมะพร้าวปลูกเรียงราย มีบ้าน มาทำขนมจาก ใบจากเอาไปห่อขนม หรือ เรือนตั้งอยู่ห่างกันเป็นระยะ บ้านโบราณริม เอามาสานปลาตะเพียน และหมวกสานใบ คลองซึ่งบางหลังมาอายุเก่าแก่มากกว่า 200 จาก ก้านเอามามัดรวมเป็นไม้กวาด รวมถึง ปี หนึ่งในนั้นคือ บ้านนายอำเภอหลังเก่า กิจกรรมอื่นๆ ที่นักท่องเที่ยวสามารถแวะ อายุกว่า 60 ปี เป็นเรือนไม้โบราณ หลังคา ชมการสาธิตจากชาวบ้านในขณะล่องเรือ ทรงปั้นหยา มุงด้วยกระเบื้องว่าว ทั้งยังมี อาทิ การทำสวนเกษตร การทำประมงพื้น บ้านตึกก่ออิฐฉาบปูนตามอย่างสมัยนิยม บ้าน การสาธิตการทำหัตถกรรมกะลา หลายหลังสร้างเอาไว้ให้นกนางแอ่นอยู่อาศัย มะพร้าว ผักตบชวา เขียนผ้าบาติก ชมการ การเข้ามาของนกเศรษฐกิจสามารถใช้เป็ น สาธิตทำผลิตภัณฑ์จากพืชในท้องถิ่น อาทิ ดัชนีวัดคุณภาพของน้ำที่ดี และเป็นแหล่ง น้ำมันมะพร้าว น้ำส้มสายชูจากต้นจาก รายได้มูลค่ามหาศาลของชุมชน ด้วย น้ำตาลสดจากต้นจาก ก็สามารถเลือกซื้อ บรรยากาศอันร่มรื่นของคลองร้อยสายที่เต็ม เป็นของฝากติดมือกลับบ้านได้ ทั้งยังเป็น ไปด้วยป่าจาก สวนมะพร้าว และพืชน้ำ กำลังใจให้กับชาวชุมชนและช่วยกระจาย ตลอดสองฝั่งคลอง รายได้อีกทางหนึ่ งด้วย
21 ชุมชนวัดบางใบไม้ (หลวงพ่อข่าวสุก) วัดบางใบไม้ สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 13 โดยสร้างบ้านหลังใหญ่ประมาณห้าหลัง เมษายน พ.ศ. 2325 ในสมัยต้นกรุง และตั้งชื่ อว่าหมู่บ้านใหญ่และกลายเป็ น รัตนโกสินทร์ โดยเกิดจากการรวมวัด ตำบลบางใบไม้ในปัจจุบัน ศูนย์กลาง 2 วัด คือ วัดนอกและวัดใน ตาม ทางสังคมของประชาชนในชุมชนก็คือ ประวัติคือ ชุมชนบางใบไม้เป็นชุมชน วัดบางใบไม้ วัดบางใบไม้เป็นหลักฐาน เก่าแก่เริ่มแรกของชาวในบาง มีความ ที่แสดงให้เห็นว่าชุมชนแห่งนี้เติบโตขึ้น เป็นมายาวนานกว่าสองร้อยปี สมัย มาอย่างรวดเร็ว และสิ่งหนึ่งที่เป็นที่ พระยาตากสินยกทัพมาตีเมือง เคารพศรัทธาของชาวบางใบไม้ และ นครศรีธรรมราช ขุนประจันศึกประชิด คนในภาคใต้ก็คือ หลวงพ่อข้าวสุข ซึ่งเป็ นทหารคู่ใจของเจ้าเมืองนครฯ รักษาหัวเมืองทางด้านทิศเหนือเห็นว่า ซึ่งเปรียบได้กับที่คนในภาคกลางนับถือ พระยานครสู้ทัพพระยาตากสินไม่ได้ ศรัทธาหลวงพ่อโสธร หลวงพ่อข้าวสุข จึงสั่งให้ทหารลงเรือเพื่อจะหนีพระยา สร้างราวปี พ.ศ. 2433 – 2446 เมื่อวัด ตากสิน ขุนประจันศึกประชิดพร้อม ใกล้เสร็จสิ้นและอหิวาตกโรคผ่านพ้นไป ทหารคู่ใจและครอบครัวหลบหนีมาทาง แต่ผู้คนยังหวาดกลัวและไม่กล้ากลับมา แม่น้ำหลวง ผ่านบ้านดอนเพื่อจะไป อยู่ในบางอีก หลวงพ่อขำเจ้าอาวาสวัด เมืองไชยา แต่ปรากฏว่าเมืองไชยาก็ บางใบไม้ในขณะนั้นจึงได้สร้างพระพุทธ โดนพระยาตากสินยกทัพมาตีแตก ขุน รูปปางสมาธิ มีส่วนประกอบเป็น 9 สิ่ง ประจันศึกประชิดจึงถอยร่นลงมาในลำ มงคล รวมถึงข้าวสุกก้นบาตรด้วย ทำพิธี คลองเล็กๆ ซึ่งเหมาะกับการตั้งบ้าน ปลุกเสกในวัดบางใบไม้เป็นเวลา 9 วัน 9 เรือน คืน
22 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้ชาวบ้านไม่กลัวภูตผีและปิ ศาจที่ชาวบ้านสมัยนั้น เชื่อกันว่าเป็ นสาเหตุที่ทำให้คนตายเป็ นจำนวนมาก จึงเรียกว่าโรคห่า จากนั้นก็มีคน ปั้นข้าวสุกขึ้นมาพอกต่อเติมหลวงพ่อองค์เดิมและใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ต่อมาจึงมีการ หล่อทองแดงหุ้มองค์หลวงพ่อข้าวสุขในปางสมาธิเพื่อกันมด กันแมลงที่มากัดกิน เพื่อความเป็นสิริมงคล แวะนมัสการหลวงพ่อข้าวสุก ณ วัดบางใบไม้ ศูนย์รวมจิตใจของชาวบางใบไม้ และชาวคลองร้อยสาย พระพุทธรูปปางสมาธิ อายุกว่า 100 ปี สร้างจากข้าวสุกเสกคาถาที่เหลือจากก้นบาตรวันละเล็กละน้ อย โดยหลวงพ่อขำ เพื่ อขับไล่ภูตผีปี ศาจตามความเชื่ อของชาวบ้านสมัยนั้น เนื่องจากเกิดโรคห่าระบาด ทำให้ชาวบ้านล้มตายเป็นจำนวนมาก ต่อมาเลยมีคน ปั้นข้าวสุกพอกองค์หลวงพ่อพร้อมต่อเติมองค์เดิมเรื่อยมาจนองค์ใหญ่ขึ้น และมี การหล่อทองแดงหุ้มองค์หลวงพ่อเพื่อกันมดแมลงมากินข้าว
23 ตลาดน้ำประชารัฐบางใบไม้ เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เห็นกรรมวิธีการผลิต จัดตั้งขึ้นโดยความร่วมมือของชาวบ้าน อาหารแต่ละชนิด เช่น ลูกจากลอยแก้ว ร่วมกับผู้นำท้องถิ่น ตลาดตั้งบนท้องร่อง ลาเช็ดและลากรอบ เคยจี ข้าวเหนียวอุบ สวนมะพร้าว ป่าจาก ขนาบริมคลองใน ปลาแนม ขนมเบื้องญวน ขนมต้มห่อด้วยใบ บางที่ร่มรื่นมีที่พักผ่อนที่นั่งรับประทาน จาก จั้งใบไผ่ใบมะพร้าว ขนมกรุบ ขนมดอก โดน กะลอจี้ ปลีกล้วยทอด ฯลฯ ผัก-ผลไม้ อาหารทั่วบริเวณ เพื่อส่งเสริมการท่อง ท้องถิ่นตามฤดูกาล เช่น มะพร้าว กระท้อน เที่ยวเชิงอนุรักษ์ และสนับสนุนให้ชาว เงาะ ทุเรียน กล้วยหอม กล้วยเล็บมือ บ้านมีรายได้จากการนำผลผลิตในท้อง กล้วยไข่ สับปะรด ทุเรียนเทศ ฯลฯ ถิ่นของตนเองมาจำหน่ายเพื่อสร้างราย ได้ ส่งผลทำให้ชุมชนเข้มแข็งมากขึ้น นอกจากนี้ ตลาดน้ำบางใบไม้ประชารัฐ ตลาดน้ำประชารัฐบางใบไม้ ตลอดเส้น มีจุดบริการล่องเรือแจว ชมอุโมงค์ทางจาก ทางเดินมากมายด้วยร้านค้า โดยภาชนะ เพื่อชมวิถีชีวิตและความงามวิถีชีวิตริมน้ำ ใส่อาหารเป็นวัสดุจากธรรมชาติ สินค้ามี คลองร้อยสาย ชมวิวธรรมชาติอันสวยงาม ราคาถูกกว่าท้องตลาด จำหน่ายสินค้า จุดเลี้ยงปลาสวาย จุดถ่ายภาพ ร้านซีฟู้ดริม ผลิตภัณฑ์แปรรูปในชุมชน เช่น น้ำส้ม คลอง รวมถึงมีชมการแสดงหนังตะลุงจาก จาก น้ำผึ้งจาก น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น เยาวชนบางใบไม้ สบู่มะพร้าว ฯลฯ อาหาร ขนมไทยพื้น เมืองของท้องถิ่น โดยเน้ นกรรมวิธีการ ผลิตในสถานที่จริง
24 4.2 ศาสนสถานของทุกศาสนา พื้ นที่ตำบลบางใบไม้ประกอบด้วยวัดหนึ่ งแห่ง คือวัดบางใบไม้ และศาลเจ้าหนึ่งแห่ง 4.3 โรงเรียน แหล่งเรียนรู้ ตำบลบางใบไม้ประกอบด้วย โรงเรียน ประถมศึกษา-มัธยม 1 แห่ง คือ โรงเรียนวัด บางใบไม้ โครงการขยายโอกาสทางการ ศึกษา1 แห่ง คือ ศูนย์การศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี ศูนย์วัดบางใบไม้ (แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561)
25 ส่วนที่ 5 การวิเคราะห์ ศักยภาพชุมชน
SWOT 26 ด้านสภาพแวดล้อม anlysis สิ่งที่ชุมชนทำได้ดี (จุดแข็ง) - รณรงค์ให้ความรู้ในการไม่ปล่อยน้ำเสียลงคลอง - ฝึ กอบรมจัดตั้งเยาวชนด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ขุดลอกคลองที่ตื้นเขิน และกำจัดวัชพืช สิ่งที่ชุมชนต้องพัฒนา (จุดอ่อน) - ปั ญหาน้ำเสียจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์และโรงสีข้าว - น้ำในคลองธรรมชาติ มีน้ำเค็มเข้าถึงในบางฤดูกาลไม่ สามารถนำน้ำมาใช้ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และอุปโภค-บริโภคได้ - คลองตื้นเขิน มีวัชพืชขึ้นปกคลุม ทำให้การระบายน้ำ ไม่สะดวก โอกาสของชุมชน (1) คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม{มาตรา ๖๗(๗)} (2) การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย {มาตรา ๑๖(๑๘)} (3) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่ า ไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม {มาตรา ๑๖ (๒๔)} อุปสรรคและความท้าทาย ทรัพยากรธรรมชาติบางส่วนถูกทําลายเนื่ องจากภัย ธรรมชาติ ปั จจุบันในส่วนของภัยธรรมชาติและ สถานการณ์โควิดทําให้หลายหน่วยงานชะลอการลงมาทํา งาน เพื่อพัฒนาชุมชนและสภาพพื้นที่เป็ นภูเขาและเนิน สูงทําให้ลําบากต่อการเข้าไปพัฒนา
SWOT 27 anlysis ด้านเศรษฐกิจ สิ่งที่ชุมชนทำได้ดี (จุดแข็ง) - จัดตั้งศูนย์ข้อมูลในการผลิตทางการเกษตร - ฝึ กอบรมความรู้ ด้านวิชาการ และการศึกษาดูงาน - สนับสนุนเงินทุนพร้อมอุปกรณ์ - ให้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย สิ่งที่ชุมชนต้องพัฒนา (จุดอ่อน) - การประกอบอาชีพในหมู่บ้าน - ปั ญหาการขาดความรู้ โอกาสในการประกอบอาชีพ - ปั ญหาการขาดการรวมกลุ่มอาชีพ - ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี การพัฒนาการเกษตร โอกาสของชุมชน (1) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์ {มาตรา ๖๘(๕) (2) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว {มาตรา ๖๘(๖)} (3) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์{มาตรา ๖๘ (๑๑)} (4) การส่งเสริมการท่องเที่ยว { มาตรา๖๘ (๑๒) และ มาตรา ๑๖ (๘) (5) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง {มาตรา ๑๖ (๑)} (6) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน {มาตรา ๑๖ (๗) } อุปสรรคและความท้าทาย ภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา การแข่งขันในชุมชนสูง ไม่มีเวลา ร่วมกิจกรรม ขาดความรู้และทักษะในการ ประกอบ อาชีพ พื้นที่เป็ นที่ราบสูง ขุดบ่อเลี้ยงปลาไม่ได้ ถนนใช้ งานด้านการเกษตรค่อนข้างลําบาก สถาน กํารณ์โควิดใน ตอนนี้ทําให้หลายอาชีพเกิดความลําบากในการประกอบ อาชีพ
28 SWOT ด้านโครงสร้งพื้นฐาน anlysis สิ่งที่ชุมชนทำได้ดี (จุดแข็ง) สิ่งที่ชุมชนต้องพัฒนา (จุดอ่อน) - ขุดลอกคลอง สร้างสะพาน คสล. วางท่อ - การคมนาคมขนส่งระหว่างหมู่บ้านไม่ ระบายน้ำ สะดวก - ติดตั้งโทรศัพท์สาธารณะให้เพียงพอทุก - ปัญหาการมีโทรศัพท์สาธารณะไม่ หมู่บ้าน เพียงพอ - ติดตั้งไฟฟ้ าสาธารณะเพิ่มขึ้น - ไฟฟ้ าสาธารณะไม่เพียงพอ - ปรับปรุงซ่อมแซมถนนลูกรัง หินคลุก - การขาดแคลนน้ำสำหรับอุปโภค- และปรับปรุงผิวถนนลาดยาง บริโภคในฤดูแล้ง - ให้มีการขุดลอกคลองธรรมชาติ และ - ระบบประปาหมู่บ้าน และประปาส่วน กำจัดวัชพืช ภูมิภาคไม่เพียงพอ - ให้มีการขยายเขตประปาหมู่บ้านทุก หมู่บ้าน โอกาสของชุมชน อุปสรรคและความท้าทาย (๑) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และ กฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ มีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การจัดสรรงบ ทางระบายน้ำ ประมาณ และระยะ การเบิกจ่ายไม่เหมาะ สมกับเวลาดําเนินการ ภาระหน้ าที่เพิ่มมาก {มาตรา ๖๗ (๑) ๖๘(๓) และ ๑๖(๒)} ขึ้นตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอน และการ ขาดแคลนเครื่องมือที่ทันสมัย ปัญหาการ (2) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร สื่อสาร และการขาดช่างชํานาญการเฉพาะ ทาง {มาตรา ๖๘(๑)} (3) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้ าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น {มาตรา ๖๘(๒)} (4) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม{มาตรา ๖๘(๑๐)} (5) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่า ข้าม และที่จอดรถ {มาตรา ๑๖ (๓) } (6) การสาธารณูปโภค และการก่อสร้างอื่นๆ { (มาตรา ๑๖(๔)} (7) การสาธารณูปการ {มาตรา ๑๖(๕)} (8) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร{มาตรา ๑๖ (๒๖)}
29 SWOT ด้านคุณภาพชีวิต anlysis สิ่งที่ชุมชนทำได้ดี (จุดแข็ง) - ฝึ กอบรมให้ความรู้ทางโภชนาการ อนามัยแม่และเด็ก - ให้ความรู้ด้านสุขศึกษา - ให้มีการป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติด กำจัดยุงลาย และ รณรงค์โรคพิษสุนัข - ต้องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เด็ก สตรีและคนพิการ การสงเคราะห์ผู้สูงอายุ - ฝึ กอบรมให้ความรู้ด้านอาชีพ มีศูนย์ข้อมูล ห้องสมุดชุมชน - ให้ความรู้ด้านการจัดการศึกษา กาศึกษานอกระบบ สิ่งที่ชุมชนต้องพัฒนา (จุดอ่อน) - ปั ญหาแหล่งข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุข และอนามัย - ปั ญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด - ปั ญหาการให้บริการสุขภาพของผู้สูงอายุ เด็ก สตรี และคนพิการไม่ทั่วถึง - ปั ญหาการแพร่ระบาดและการป้ องกันยุงลาย โรคพิษสุนัขบ้า - ปั ญหาการขาดแหล่งข้อมูลข่าวสาร - การขาดโอกาสในการศึกษา และการศึกษานอกระบบ
30 SWOT ด้านคุณภาพชีวิต anlysis โอกาสของชุมชน (1) รักษาความสะอาดของถนนทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้ง กำจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล{มาตรา ๖๗(๒)} (2) ป้ องกันโรคและระงับโรคติดต่อ{มาตรา ๖๗(๓)} (3) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กเยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ {มาตรา ๖๗ (๖)} (4) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และ สวนสาธารณะ {มาตรา ๖๘ (๔) } (5) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร {มาตรา ๖๘(๗)} ๗ (6) การส่งเสริม การฝึ ก และประกอบอาชีพ {มาตรา ๑๖(๖)} (7) การจัดการศึกษา {มาตรา๑๖(๑๙)} (8) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชราและ ผู้ด้อยโอกาส {มาตรา๑๖ (๑๐)} (9) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ { มาตรา ๑๖(๑๓) } (1๐) การส่งเสริมกีฬา {มาตรา๑๖(๑๔)} (11) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล{มาตรา ๑๖(๑๙)} (12) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน {มาตรา ๑๖ (๒๐)} (13) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ {มาตรา๑๖(๒๑)} (14) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์{มาตรา ๑๖ (๒๒)}
31 SWOT ด้านคุณภาพชีวิต anlysis อุปสรรคและความท้าทาย ประชาชนส่วนใหญ่มีค่านิยมและทัศนคติไม่ตรงกัน การดํารงชีวิตในชุมชน มีความแตกต่างกันปั ญหาของแต่ละครอบครัวแตกต่างกันและขาดการ อบรมด้านวินัย ประชาชนบางส่วนไม่ให้ความสําคัญด้านการศึกษา ปั ญหา เศรษฐกิจตกต่ําซึ่งเป็ นปั ญหาใหญ่ ประชาชนขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพ ขาดงบประมาณในการจัดหาเครื่ องมือที่ทันสมัยด้านสาธารณสุข สถานการณ์โควิดส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทุกครัวเรือนให้ต่างไปจากเดิม และรวมไปถึงราคาสินค้าทางการเกษตรตกต่ําทําให้ชาวบ้านมีรายได้น้ อย กว่าเดิมอีก
32 บรรณานุกรม แผนพัฒนาท้องถิ่นตำบลบางใบไม้ พ.ศ.2561 การศึกษาการจัดการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนชุมชนคลองโคนจังหวัด สม ทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ อุตสาหกรรม การบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. องค์การบริหารส่วนตำบลบางใบไม้. (2558).ข้อมูลทั่วไปของตำบลบาง ใบไม้. สุราษฎร์ธานี : รายงานประจำปีองค์การบริหารส่วนตำบลบาง ใบไม้. โฆษิต ไชยประสิทธ์ิ. (2556). การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนในมิติการ พัฒนาจากภายใน กรณีศึกษาชุมชนในสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. สุถี เสริฐศรี. (2558). การศึกษาการจัดการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนชุมชน คลองโคนจังหวัด สมุทรสงคราม. กรณีศึกษาชุมชนในสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม่. รายงานการวิจัยสมบูรณ์. เชียงใหม่ : มหาลัยราชภัฏ เชียงใหม่. จิรัญญา ศรีรักษ์. (2557). สรุปผลการดำเนินงานประการพิจารณา กำนันยอดเย่ียม. นางมณีวัลย์ อินทร์แก้ว ผู้ให้สัมภาษณ 13 ตุลาคม 2564 นางจันทิรา คงชุม ผู้ให้สัมภาษณ 13 ตุลาคม 2564 นายสุรินทร์ จิตร์จำนงค์ ผู้ให้สัมภาษณ 13 ตุลาคม 2564 นายอานนท์ พุ่มพฤกษ์ ผู้ให้สัมภาษณ 13 ตุลาคม 2564
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: