1 ผลการใช้บทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยสี ื่อสงั คม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรู้เรอื่ งระบบนิเวศ สาหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3/1 โดย นางสาวภกั ดินันท์ สมรักษ์ โรงเรียนนา้ ปลกี ศึกษา ตาบลนา้ ปลีก อาเภอเมอื ง จังหวดั อานาจเจรญิ
2 สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 29 ใบรับรองรายงานการวจิ ยั ในชัน้ เรยี น เร่ืองวิจยั : ผลการใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ โดยใชเ้ ทคโนโลยสี อ่ื สังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบนเิ วศ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3/1 ชื่อผูท้ าวจิ ัย : นางสาวภักดินันท์ สมรักษ์ ( นายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท) ผู้ช่วยผ้อู านวยการโรงเรียนกลมุ่ งานบริหารงานวชิ าการ ( นายโชตชิ ยั กง่ิ แก้ว ) ผอู้ านายการโรงเรยี นนา้ ปลีกศึกษา
3 บันทึกข้อความ ส่วนราชการโรงเรยี นน้าปลกี ศึกษา อาเภอเมอื ง จังหวดั อานาจเจริญ ท่ี ............................................................วันท.ี่ ............เดือน............. พ.ศ. 25........ เรือ่ ง รายงานผลการวจิ ัย เรียน ผูอ้ านายการโรงเรียนน้าปลกี ศกึ ษา ด้วยข้าพเจ้านางสาว ภักดินันท์ สมรักษ์ ตาแหน่ง ครู ปฏิบัติหน้าท่ีสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน รหัสวิชา ว 23101 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้รายงานผลการวิจัย เร่ือง ผลการใช้บทเรียน ออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้เรอื่ งระบบนิเวศ สาหรับนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3/1 บัดนี้ไดท้ าการสรปุ ผลและจัดทา รูปเล่มเสร็จเรยี นร้อยแล้ว เพ่ือเป็นการเผยแพร่ผลงาน และเป็นกรณีตัวอย่างต่อไปนี้ ดังน้ันข้าพเจ้าจึงขออนุญาตเผยแพร่ ผลงานและรายงานผลให้ทราบและพจิ ารณาอนญุ าต จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดทราบและพจิ ารณาอนญุ าต ลงชอื่ ..........................................................ครูประจาวชิ า ( นางสาวภักดินันท์ สมรักษ์ )
4 บทคดั ย่อ ชื่อเร่อื งงานวจิ ัย ผลการใช้บทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระ การเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ สาหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3/1 ผ้วู ิจัย นางสาวภักดินันท์ สมรกั ษ์ ปีการศึกษา 2563 ผลการใช้บทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรู้เรอื่ งระบบนิเวศ สาหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3/1 ดาเนินการโดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่ม ตัวอยา่ งเปน็ นกั เรยี นโรงเรียนน้าปลีกศึกษา อาเภอเมือง จงั หวดั อานาจเจริญ จานวน 29 คน ท่ีได้มาโดย วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการ เรียนรู้ เร่ือง พลังงานไฟฟ้า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉล่ีย รอ้ ยละ คา่ สถติ ิ t - test จากผลการวจิ ยั พบวา่ นกั เรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นร้อยละ มีจานวนนกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ร้อย ละ และมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติทร่ี ะดบั 0.05 ความสาคัญ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ส่ือสังคม (Social Media)
5 กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยผลการใช้บทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการ เรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3/1 น้ี สาเร็จได้ดีเน่ืองจากได้รับความสนับสนุน ความอนุเคราะห์ และให้คาแนะนาปรึกษาตลอดจน แกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ จากทา่ นผ้อู านวยการโรงเรียนน้าปลกี ศึกษา ท่านผู้อานวยการโชติชัย กิง่ แกว้ ซึ่ง เป็นผู้ให้คาปรึกษาและตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องของงานวิจัยฉบับน้ีจนสมบูรณ์ ผู้วิจัยจึง ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง และขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่มิได้กล่าวนามไว้ ณ ท่ีน้ี ท่ีกรุณาให้ความ ชว่ ยเหลือสนบั สนนุ เปน็ อย่างดี ภกั ดนิ นั ท์ สมรักษ์
6 รายงานวจิ ัยเรอ่ื ง ผลการใช้บทเรยี นออนไลน์ โดยใชเ้ ทคโนโลยีสอื่ สังคม (Social Media) สาระการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรเู้ ร่ืองระบบนเิ วศ สาหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3/1 บทท่ี 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคตเพราะวิทยาศาสตร์เก่ียวข้องกับ ชีวติ ของทุกคน ท้ังในการดารงชีวติ ประจาวนั และในงานอาชีพต่าง ๆ เครื่องมือเคร่ืองใช้ ตลอดจนผลผลิต ต่าง ๆ ใช้เพ่ืออานวยความสะดวกในชีวิตและในการทางาน ล้วนเป็นผลของ ความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อ่ืน ๆ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี อย่างมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีก็ส่วนสาคัญมากที่จะให้มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ิมข้ึนอย่างไม่หยุดยั้ง วิทยาศาสตร์ทาให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถ ในการแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้วิทยาศาสตร์เป็น วัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ ซงึ่ เป็นสังคมแห่งความรู้ (knowledge based society) ทุกคนจึงจาเป็นต้อง ได้รับการพัฒนา ให้รู้วิทยาศาสตร์ (scientific literacy for all) เพ่ือที่จะมีความรู้ ความเข้าใจ โลก ธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษ์ย์สร้างสรรค์ข้ึน และนาความรไู้ ปใช้อย่าง มีเหตผุ ล สร้างสรรค์ มีคุณธรรม ความรวู้ ิทยาศาสตร์ไม่เพียงแต่นามาใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดีแต่ยงั ช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเก่ียวกับ การใช้ประโยชน์การดูแลรักษา ตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างสมดุลและย่ังยืนและที่สาคัญอย่างยิ่งคือ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยเพิ่มขีดความสามารถใน การพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถแข่งขันกับนานา ประเทศและดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างมี ความสขุ ในโลกท่ีไร้พรมแดนของศตวรรษท่ี 21 น้ีประเทศไทยจะต้องเผชิญกับการเปล่ียนแปลงด้าน เทคโนโลยีอย่างรวดเร็วในทุกๆดา้ นการแข่งขันและการต่อสู้ทางดา้ นเศรษฐกิจจะย่ิงทวคี วามรนุ แรงมากขึ้น ประเทศที่มีความพร้อมในการแข่งขันและสามารถดารงอยู่รอดในโลกใบนี้ได้คือประเทศท่ีสามารถพัฒนา คนของตนให้มีคุณภาพมกี ารศึกษามคี วามสามารถในการแข่งขันและพร้อมท่จี ะเสริมสร้างศกั ยภาพในการ ผลิตสินค้าและบริการได้เป็นอย่างดีดังนั้นประเทศไทยจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องเร่งพัฒนาคุณภาพคนใ น ชาตใิ ห้มีความร้คู วามสามารถและใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาเพ่ิมมากขึน้ อย่างเรง่ ดว่ น ปจั จบุ ันเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต เขา้ มามีบทบาทตอ่ การดาเนินชีวิตของเรามากขึ้น นับต้ังแต่ต่ืนขึ้นมาเราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์เน็ตกลายเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดารงชีวิต ในยุคท่ีข้อมูล ข่าวสารมีความสาคัญ คนหันมาบริโภคข้อมูลข่าวสารกันมากขึ้น นอกจากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตท่ี เปรียบเสมือนถนนสาหรับการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ เรายังต้องการเคร่ืองสาหรับที่จะสร้างเนื้อหาและ ขอ้ มลู ต่างๆไว้รองรบั การเขา้ ถึง ซึ่งนั่นก็คือเทคโนโลยเี วบ็ ไซด์ ที่เปน็ ตัวกลางคอยใหข้ ้อมูลตา่ งๆแก่ผู้ใช้โดย
7 การพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเว็บไซด์ได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก Wikipedia (www,2011) ได้แบ่งลกั ษณะการพฒั นาเทคโนโลยไี ดเ้ ป็น 3 ยคุ คือ 1. ยุคเว็บ 1.0 (พ.ศ. 2537 – พ.ศ. 2547) เนน้ การนาเสนอเน้ือหาใหก้ บั ผ้ใู ชง้ านเพียงทางเดยี ว ไมเ่ ปิดโอกาสให้ผใู้ ชง้ านมสี ่วนรว่ มกับเน้ือหา ผ้พู ัฒนาเวบ็ ไซด์จะเปน็ ผกู้ าหนดเน้ือหาเพยี งผู้เดยี ว และ ความเร็วเฉลีย่ ของอนิ เทอร์เน็ตในยุค 1.0 คือ 50 Kbps 2. ยุคเว็บ 2.0 (พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2552) มีลักษณะการทางานของเว็บไซต์ที่เป็นเครอื ข่าย ทาง สังคม (social network) เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานที่อยู่ในเครือข่ายหรือกลุ่มบุคคลท่ีมีความ สนใจในเรื่องเดียวกัน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้งานทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการเนื้อหา มีการแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างกัน จึงก่อให้เกิดสังคมออนไลน์ทางความรู้ที่ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ใหม่ๆมากมาย มี คุณสมบัติท่ีเรียกว่า Rich Internet Application (RIA) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ทาให้เว็บไซด์มีประสิทธิภาพ การทางานเทียบเท่ากับแอพลิเคชั่นท่ัวๆไป (Desktop Application) โดยมีลักษณะหน้าตา (User Interface) ท่ีสวยงามมากขึ้น ตัวอย่างเว็บไซต์ในยุค 2.0 ก็คือเว็บบล็อก (Weblog) สารานุกรมออนไลน์ (Wiki) เปน็ ต้น โดยความเรว็ เฉลีย่ ของอนิ เทอรเ์ น็ตในยคุ นคี้ อื 1 Mbps 3. ยุคเว็บ 3.0 ( พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป) เป็นการพัฒนาเว็บไซด์ให้เหมือนมีความฉลาดเทียม (Artificial intelligence) โดยสามารถเรียนรู้พฤติกรรมของผู้ใช้งานเว็บไซด์ได้ ใช้ข้อมูลบางส่วนเพื่อ อธบิ ายความหมายของข้อมูลในส่วนใหญ่ (Tag) เวบ็ ไซด์ในยุค 3.0 น้นั กล่าวไว้ว่าเปน็ การพัฒนาตอ่ มาจาก ยคุ เว็บ 2.0 หลังจากเวบ็ ไซด์กลายเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ขนาดใหญ่ ดังนั้นเน้ือหาและข้อมูลต่างๆจึง มากขึ้นตามมาด้วย ก่อใหเ้ กิดการพัฒนาเวบ็ ไซดท์ ่ีสามารถตอบสนองความต้องการในการบรโิ ภคข้อมูลที่มี ประสทิ ธิภาพมากข้ึน เนื่องจากเรามีขอ้ มลู มากมายในเว็บไซดจ์ ึงต้องเกิดการวิเคราะห์และคดั แยกขอ้ มูลให้ ตรงกับผู้ใช้งานต้องการมากท่ีสุด โดยตัวอย่างของลักษณะเว็บไซด์ในยุค 3.0 น้ันก็คือ Sematic Web โดยความเรว็ อนิ เทอรเ์ นต็ ในยคุ นคี้ อื 2.0 Mbps สืบเนื่องจากการที่ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เข้ามามบี ทบาทสาคัญ ตอ่ การดาเนินงาน ทง้ั การบรหิ ารและการจัดการของหน่วยงานทางการศกึ ษาโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์และอนิ เทอร์เน็ตเป็นสงิ่ จาเป็นท่ที ุกหน่วยงานต้องจัดหามาใช้ในการดาเนนิ งาน เพราะจะชว่ ย ให้การบริหารงานและการจัดการทางการศึกษาเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและทันต่อการ เปลี่ยนแปลง ดังนั้นบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะและมีความเข้าใจใน กระบวนการทางานการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหารการ จดั การศึกษา และท่ีสาคัญคอื การนาไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ท้ังนี้คอมพิวเตอร์ได้เข้ามีบทบาทในการศึกษามากข้ึนเรื่อยๆนับแต่เริ่มใช้เพื่อการศึกษา เช่น การศึกษาการเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อีกท้ังยังได้ พัฒนาให้มีความสามารถในการสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) แต่ปัญหาของการใช้เคร่ืองมือดัง กล่าวคือการไม่ได้ตอบรับจากนักเรียน ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝ่เรียนรู้ อีกท้ังนักเรียน สามารถเข้าถึงส่ือเหล่านั้นได้ยาก เพราะเป็นสื่อท่ีไม่สามารถใช้งานได้บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
8 ดังนั้นการพัฒ นาสื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนในปัจจุบันจึงควรเป็น สื่อออนไลน์ที่นักเรียน สามารถเข้าถึงและเรียนรู้ได้จากทุกหนทุกแห่งหรือทุกสถานที่ ซ่ึงส่ือท่ีได้รับความนิยมและนักเรียน สามารถเข้าถึงได้ง่ายในปัจจุบันก็เป็นสื่อประเภท Social Media และเว็บไซด์ แต่การที่จะนาสื่อ Social Media และสื่อออนไลน์ต่างๆมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้น้ัน ส่ิงสาคัญคือครูผู้สอนจะต้องรู้และ เข้าใจ และสามารถใช้สื่อเหล่าน้ันได้เป็นอย่างดี สามารถพัฒนาผลงาน ส่ือและเนื้อหาเพื่อเผยแพร่ให้กับ นกั เรียนได้เรยี นรู้ และต้องมีปฏิสมั พันธ์กับนักเรยี นอยู่เสมอๆ เช่นการตั้งประเด็นคาถาม การตอบคาถาม ข้อสงสัย การติดตามผลงาน การให้คาแนะนาที่เหมาะสม น่ันคือจะต้องมีการพัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถในการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนได้นั่นเอง....................................... หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2551 ได้กาหนดไว้อย่างชัดเจนเก่ียวกับจุดมุ่งหมายท่ี ต้องการให้เกิดกับนักเรียนและสมรรถนะสาคัญของนักเรียนในด้านความสามารถในการคิด โดยให้ นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้าง องค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเก่ียวกับตนเองหรือสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยเน้นนักเรียน เปน็ สาคัญ ในศตวรรษที่ 21 มีการใช้ส่ือสังคมออนไลน์กันอย่างกว้างขวาง ครูต้องพบกับความท้าทายที่ต่าง ไปจากอดีต นักเรียนควรได้เรียนรู้รอบด้านและเตรียมความพร้อมสู่การเป็นพลเมืองของประเทศและของ โลก ดังน้ันเพ่ือตอบสนองต่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนจึง เปล่ียนแปลงไป ครูต้องเป็นผู้นาผู้สร้างแรงจูงใจพรอ้ มทั้งใช้นวัตกรรมและสื่อสังคมออนไลน์ที่มีอยู่ เข้ามา บูรณาการ ส่งเสริมให้เกิดทักษะการใช้เทคโนโลยี ทักษะการคิดเพ่ือให้นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเองส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงข้ึน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทาการวิจัยเร่ืองผลการใช้ บทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยสี ื่อผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนเิ วศ สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3/1 เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีใน เชิงสร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์ต่อการเรียนรูข้ องตนเอง ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อีกท้ังยังช่วย พฒั นาทักษะกระบวนการคิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะหข์ องนักเรียนให้มปี ระสทิ ธภิ าพอีกด้วย
9 บทที่ 2 แนวคิด / ทฤษฎี การวจิ ยั เร่ือง บทเรียนออนไลนโ์ ดยเทคโนโลยสี ื่อผสม (Social Media) สาระการเรยี นรวู้ ิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรเู้ ร่อื งระบบนิเวศ สาหรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3/1 ผ้วู จิ ัยไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้องตา่ ง ๆ โดยมสี าระสาคญั ดังนี้ แนวคดิ เกย่ี วกับการสรา้ งบทเรียนออนไลน์ ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร มีการพัฒนา เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีเทคโนโลยีต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อช่วยอานวยความสะดวก รวมท้ังให้ ความบันเทิง หรือแม้กระทั่งการเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย โดยที่ทุกคนท่ัวโลกสามารถเป็นเพ่ือกัน พบปะ พูดคุยกันได้ตลอดเวลา เพียงแค่มีอินเตอร์เน็ต กับอุปกรณ์สาหรับเช่ือมต่อ เช่น คอมพิวเตอร์ หรือ โทรศัพทม์ ือถอื ทาให้การตดิ ต่อสอ่ื สารเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเรว็ ไม่จาเป็นทีจ่ ะต้องเดินทางไปพบปะ กันโดยตรง ถ้าพูดถงึ คาว่า Social Media หรือ Social Network ในปัจจุบัน หลายคนอาจจะสงสัยวา่ ส่ิง เหล่านี้คืออะไร แต่ถ้าพูดถึง Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtube ฯลฯ เช่ือว่าหลายคนคงจะ ปฏิเสธไม่ได้ท่ีจะไม่รจู้ ัก ย่ิงโดยเฉพาะในวยั รนุ่ หรอื เยาวชนท่ีอยู่ในระหว่างการศึกษาเล่าเรียน คงจะคุ้นเคย กันเป็นอย่างดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ( Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtube ฯลฯ ) ท่ีถูกเรียกว่า Social Media หรือ Social Network ดังนั้นถ้าจะให้ความหมายของคาว่า Social Media หรือ Social Network น้นั จะไดว้ ่า Social Media หมายถึง สังคมออนไลนท์ ่ีมีผู้ใช้เป็นผู้ส่ือสาร หรอื เขียนเรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวีดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนข้ึนเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากส่ืออ่ืน ๆ แล้วนามาแบ่งปัน ให้กับผู้อื่นท่ีอยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ท่ีให้บริการบนโลกออนไลน์ ปจั จบุ นั การส่อื สารแบบนี้จะทาผา่ นทาง Internet และโทรศพั ท์มือถอื เทา่ นน้ั กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ( 2553 ) ได้กล่าวว่า ปัจจุบัน Social Media ได้กลายเป็นเครื่องมือที่ สาคัญในการสร้างให้เกิดเป็นเครือข่ายเช่ือมโยงกันในโลกออนไลน์ ท่ีเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็น ช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่ เสยี ค่าใชจ้ ่ายในการซือ้ ลขิ สิทธิแ์ ตอ่ ย่างใด ดังนั้น การนาเทคโนโลยี Social Media มาใช้เปน็ เครอื่ งมือใน การจัดการเรียนการสอนจะเป็นการผลักดันบุคลากรครูให้ก้าวทันเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันและสามารถ เข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ได้อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่าย อนิ เตอรเ์ น็ต ท่ีมีการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้สอนกับผู้สอน ผู้สอนกับนักเรียน และนักเรยี นกับนักเรียน ที่ มีการแบ่งปันความรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึง สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 ที่จัด การศึกษาต้องยึดหลักว่านักเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่านักเรียนมี ความสาคัญท่ีสุด โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ( สานักงานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2545 ) และสอดคล้องกับหลักสูตร
10 แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน2551 ที่มุ่งพัฒนาการเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ โยให้เกิด สมรรถนะสาคัญข้อท่ี 5 คือ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นความสามารถในการเลือกใช้ เทคโนโลยีต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ เรียนรู้ การสื่อสาร การทางานและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม ( กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 ) โดยการนักเรียนจะสามารถก้าวสั่งคมการเรียนรู้ได้น้ัน จาเป็นอย่างย่ิงที่ จะต้องทีพื้นฐานที่เหมาะสม และผู้ท่ีเกี่ยวข้องท้ังหลายจะต้องช่วยกันสร่างพ้ืนฐาน ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ให้พรอ้ มที่จะสร้างสังคมแหล่งความรขู้ ้ึนได้ พ้ืนฐานและปัจจัยสาคัญอย่างหน่ึงที่จะช่วยก้าวไปสู่สังคมแห่ง การเรียนรู้ได้ คือ ครู อาจารย์ และสังคมการศึกษา สถาบันการศึกษาจะต้องปรับปรุงการเรียนรู้ของครู อาจารย์ และส่งเสริมการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสร้างนิสัยในด้านการใฝ่รู้และรัก ความรูใ้ หเ้ กดิ ขน้ึ กับเยาวชน ( ครรชิต มาลยั วงศ์ และคณะ, 2544 ) จะเห็นได้วา่ การใช้บทเรียนออนไลน์ ในการจดั การเรยี นการสอนทจะชว่ ยให้นักเรยี นเกดิ การ เรยี นรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และปลูกฝังให้นักเรยี นรู้จักการใช้เทคโนโลยใี ห้เกิดประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ อีกท้ังยังสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในเชงิ สรา้ งสรรค์ ก่อใหเ้ กิดการทักษะกระบวนการคิดวเิ คราะห์ และ สังเคราะหข์ องนักเรยี นให้มีประสิทธิภาพอีกด้วย และย่อมส่งผลตอ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนแน่นอน เทคโนโลยีสอ่ื สงั คม (Social Media) Wordpress หมายถงึ โปรแกรมสาเร็จรปู ตัวหนง่ึ ทีเ่ อาไว้สาหรับสร้างบล็อก หรือ เวบ็ ไซต์ สามารถใช้งานไดฟ้ รี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System) เฟชบุ๊ก ( Facebook ) เป็นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมสาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้งาน เมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรก นั้นเฟชบุ๊กเป็นให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ซ่ึงต่อมาได้ขยายตัวออกไปสาหรับ มหาวิทยาลัยท่ัวสหรัฐอเมริกา และต้ังแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสาหรับผู้ใช้ทั่วไปทุกคน เหมอื นในปจั จุบัน ( www, 2010 ) หลายท่านอาจจะสงสยั วา่ เฟชบุ๊กนามาใช้ในการจดั การเรียนการสอนได้อยา่ งไร ซึ่งจะขออธบิ าย ว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media น้ัน ไม่ได้หมายความว่าจะต้องใช้ Facebook เป็น เครื่องมือหลักในการจัดการเรียนการสอน แต่จากสภาพสังคมในปัจจุบันท่ีเยาวชนหรือนักเรียนส่วนใหญ่ สามารถเข้าถงึ อนิ เตอร์เน็ตได้นั้น ทาให้หลายคนมีการใช้เฟชบุ๊กอยู่เป็นประจาอยู่แลว้ ซง่ึ จากปัญหาท่ีพบก็ คอื นักเรยี นให้ความสนใจกับเฟชบุ๊กมากเกินไป เชน่ ใชใ้ นการพูดคุยกับเพื่อน เล่มเกม แสดงความคิดเห็น หรือแสดงรปู และวีดโี อของตนเอง เป็นต้น ซ่ึงกิจกรรมต่างๆ เหล่าน้ีเป็นกจิ กรรมท่ีไม่ก่อให้เกดิ ประโยชน์ หากใช้เวลามากเกินไป หรืออาจเรียกได้ว่านักเรียนมีความหมกมุ่นกับสิ่งเหล่านี้มากเกินไป ความสนใจที่ จะศึกษา ทบทวนบทเรียน จึงมีน้อยลงตามไปด้วย ดังน้ัน ถ้าครูผู้สอนสามารถใช้เคร่ืองมือเหล่าน้ี เพ่ือชัก จูงให้นักเรียนใช้เฟชบุ๊กในเชิงที่สร้างสรรค์ เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ในด้านการสร้างความรู้ พัฒนา สติปัญญา ก็จะเปน็ สง่ิ ที่เกิดประโยชนอ์ ยา่ งยิง่ การใช้ Facebook ในการจดั การเรยี นการสอนนนั้ ไม่ได้ใช้โดยตรง แตจ่ ะใช้ในลักษณะของการ ติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรยี น การสง่ งาน การบ้าน หรือการตอบปัญหาข้อสงสัยตา่ งๆ ให้นักเรียน อกี ท้ัง
11 ครูยังสามารถติดตามดูแลนักเรียนได้ เมื่อนักเรียนขาดเรียน หรือไม่ส่งงานตามกาหนดเวลา ซ่ึงเป็นการ กระตุน้ นักเรยี นให้เกิดการเรียนรู้และป้องกันปญั หาท่อี าจจะเกิดข้ึนได้อีกวิธีการหน่ึง Slideshare และ Youtube เป็นสื่อ Social Media อีกประเภทหน่ึงท่ีสามารถนาไปใช้ ประกอบการจดั การเรียนการสอนในช้นั เรียนได้ โดยการใช้งานรว่ มกัน Blog น่นั ก็คอื การนาเอกสารต่างๆ ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ สไลดท์ ่ีใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน ฯลฯ จาก Slideshareมาแสดงเปน็ บทเรยี น ไว้ใน Blog หรือการนาวีดีโอที่น่าสนใจต่างๆ จาก Youtube มาแสดงไว้ใน Blog เพ่ือให้นักเรียนได้เข้ามา ศึกษา แสดงความคดิ เห็น หรือวิพากษ์วิจารณ์ จนเกิดเป็นขอ้ สรุปที่เป็นองค์ความรู้ ความเขา้ ใจ ทีส่ ร้างขึ้น ด้วยตนเอง จะเห็นวา่ การนาเทคโนโลยี Social Media มาใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในการจัดการเรยี นการสอนจะ เป็นการผลักดันบุคลากรครูให้ก้าวทันเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันและสามารถเข้าถึงเยาวชนยุ คใหม่ได้อย่าง ทันทว่ งที ซ่ึงจะทาให้เกิดระบบ Community แหง่ การเรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทมี่ ีการปฏิสัมพันธ์ กันระหว่างผู้สอนกับผู้สอน ผู้สอนกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียน การแบ่งปันความรู้ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมท้ังส่งเสริมให้มีการศึกษาตามอัธยาศัย ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซ่ึงเป็นความสามารถในการเลือกใช้ เทคโนโลยีต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ เรียนรู้ การสอ่ื สาร การทางานและการแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม การเรียนการสอนผ่านออนไลน์ การใชเ้ ว็บเพอ่ื การเรยี นการสอนเป็นการนาเอาคณุ สมบัตขิ องอนิ เทอร์เน็ต มาออกแบบเพ่อื ใช้ใน การศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ เช่น การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บ ฝึกอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วย สอน(Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บ ช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ท้ังนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของ การเรยี นการสอนผา่ นเวบ็ เอาไวห้ ลายนิยาม ไดแ้ ก่ คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)ไว้ว่าเป็นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วย ในการสอน โดยการใช้ ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรพั ยากรของอินเทอร์เน็ต มาสร้างให้เกดิ การเรียนรู้อย่างมีความหมายโดย ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การเรียน รู้อยา่ งมากมายและสนบั สนุนการเรียนรู้ในทุกทาง ดรสิ คอล (Driscoll, 1997) ได้ใหค้ วามหมายของการเรียนการสอนผ่านเวบ็ ว่า เป็นการใชท้ ักษะ หรือความรตู้ า่ งๆ ถา่ ยโยงไปสทู่ ี่ใดท่ีหนงึ่ โดยการใชเ้ วิลดไ์ วดเ์ วบ็ เป็นช่องทางในการเผยแพร่ ส่งิ เหล่านั้น คาร์ลสันและคณะ (Carlson et al., 19100) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นภาพท่ี ชัดเจนของการผสมผสานระหว่าง เทคโนโลยีในยุคปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสที่ชัดเจนในการนาการศึกษาไปสู่ท่ีด้อยโอกาส เป็นการจัดหา
12 เคร่ืองมือใหม่ๆสาหรับส่งเสริมการเรียนรู้และเพ่ิมเคร่ืองมือ อานวยความสะดวกที่ช่วยขจัดปัญหา เร่ือง สถานทแ่ี ละเวลา สาหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่นักเรียนภายในประเทศไทย การเรียนการสอนผ่านเว็บถือ เป็นรูปแบบใหม่ของการเรียนการสอนท่ีเริ่มนาเข้ามา ใช้ ทั้งน้ีนักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของ การเรยี นการสอนผ่านเวบ็ ไว้ดังน้ี กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บในการ เรียนการสอนโดยอาจใช้เว็บเพื่อนา เสนอบทเรียนในลักษณะส่ือหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตร หรือใช้เพียงการเสนอข้อมูลบางอย่างเพื่อประกอบการสอนก็ได้ รวมทั้งใช้ประโยชนจ์ ากคุณลักษณะต่างๆ ของการส่ือสารท่มี ีอยู่ในระบบอิน เทอร์เน็ต เช่น การเขียนโตต้ อบกนั ทางไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์และการ พดู คยุ สดดว้ ยขอ้ ความและ เสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพสูงสุด ถนอมพร เลาจรัสแสง (2544) ให้ความหมายว่า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการ สอนเพ่ือเพิ่ม ประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเร่ืองข้อจากัดทางด้าน สถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บ จะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมและ สนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนท่ีจัดข้ึนผ่านเว็บน้ีอาจเป็นบางส่วนหรือท้ังหมด ของ กระบวนการเรียนการสอนก็ได้ ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง การผนวก คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ เพ่ือสร้างส่ิงแวดล้อมแห่งการเรียนใน มิติท่ีไม่มีขอบเขตจากัดด้วยระยะทางและ เวลาท่ีแตกต่างกันของนักเรียน (Learning without Boundary) วชิ ุดา รัตนเพียร (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียน บนเว็บเพจโดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต ซ่ึงผู้ออกแบบและสรา้ งโปรแกรม การสอนผ่านเว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถ และบริการที่หลากหลายของอินเทอร์เน็ต และนา คณุ สมบตั ติ า่ งๆเหลา่ นัน้ มาใชเ้ พือ่ ประโยชนใ์ นการเรยี นการสอนใหม้ ากทส่ี ดุ จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษา ทั้งในต่างประเทศและภายใน ประเทศไทยดังท่ีกล่าวมาแล้วน้ันสามารถสรุปได้ว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียน การสอนท่ีได้รับการออกแบบ อย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็น สื่อกลางในการถ่ายทอดเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการ เรียนการสอนท้ังกระบวนการ หรือนามาใช้เป็นเพียงส่วนหน่ึงของกระบวนการทั้งหมดและชว่ ยขจัดปัญหา อุปสรรค ของการเรยี นการสอนทางดา้ นสถานที่และเวลาอีกดว้ ย การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรยี นการสอนผา่ นให้มปี ระสิทธิภาพน้ันมีนักการ ศึกษา หลายทา่ นให้ข้อเสนอแนะเกย่ี วกับกระบวนการทีจ่ ะใชเ้ ปน็ แนวทางในการออก แบบการเรียนการสอน ดังนี้
13 ดิลลอน (Dillon,1991) ไดใ้ ห้แนวคิดเก่ยี วกบั ขนั้ ตอนในการสรา้ งบทเรยี นทม่ี ีลักษณะเป็นส่อื หลายมิติ (Hypermedia) ซ่ึงหลกั การนี้สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการออกแบบและพัฒนาเว็บเพ่อื การ เรยี น การสอน แนวคิดดงั กล่าวมีขัน้ ตอน ดงั น้ี……………………………………………………………………………… 1. ศึกษาเกยี่ วกบั นักเรยี นและเน้อื หาท่ีจะนามาพัฒนาเพื่อกาหนดวัตถุประสงค์และหาแนวทาง ในการจัดกิจกรรมการเรยี น…………………………………………………………………………………………………………. 2. วางแผนเกีย่ วกับการจดั รปู แบบโครงสรา้ งของเนื้อหา ศกึ ษาคุณลักษณะของเนื้อหาท่ีจะนา มาใชเ้ ปน็ บทเรยี นว่าควรจะนาเสนอในลกั ษณะใด…………………………………………………………………………… 3. ออกแบบโครงสร้างเพอื่ การเขา้ ถึงขอ้ มลู อย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยผู้ออกแบบควรศึกษาทา ความเข้าใจกบั โครงสรา้ งของบทเรยี นแบบต่างๆ โดยพิจารณาจากลักษณะนกั เรียนและเนื้อหาวา่ โครงสร้างลกั ษณะใดจะเออ้ื อานวยต่อการเขา้ ถึงข้อมูลของนักเรียนได้ดีทส่ี ุด………………………………… 4. ทดสอบรปู แบบเพ่อื หาข้อผิดพลาด จากน้นั ทาการปรบั ปรงุ แก้ไขและทดสอบซ้าอีกครง้ั จน แนใ่ จว่าเปน็ บทเรียนท่ีมปี ระสิทธภิ าพกอ่ นท่จี ะนาไปใช้งาน……………………………………………………………… อาแวนติ สิ (Arvanitis, 1997) ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าในการสรา้ งเว็บไซตน์ ั้น ควรจะดาเนนิ การ ตามขัน้ ตอนต่อไปน้ี………………………,,,,…………………………………………………………………………………………. 1. กาหนดวัตถุประสงค์ โดยพิจารณาว่าเป้าหมายของการสร้างเวบ็ ไซต์น้เี พ่ืออะไร 2. ศึกษาคุณลกั ษณะของผู้ที่จะเขา้ มาใช้ ว่ากลุ่มเปา้ หมายใดท่ผี ู้สรา้ งต้องการสอ่ื สาร ข้อมลู อะไรท่ีพวกเขาต้องการ โดยข้ันตอนนีค้ วรจะปฏบิ ตั ิควบคู่ไปกับขน้ั ตอนที่หนงึ่ 3. วางลักษณะโครงสร้างของเว็บ 4. กาหนดรายละเอยี ดให้กบั โครงสร้าง ซ่งึ พิจารณาจากวัตถุประสงค์ที่ตง้ั ไว้โดยตงั้ เกณฑ์ใน การ ใช้ เช่น ผู้ใชค้ วรจะทาอะไรบา้ ง จานวนหนา้ ควรมีเทา่ ใด มีการเชอ่ื มโยงมากนอ้ ยเพียงไร 5. หลงั จากน้ันจงึ ทาการสร้างเว็บแล้วนาไปทดลอง เพ่อื หาข้อผิดพลาดและทาการปรับปรงุ แก้ไข แล้วจึงค่อยนาเข้าสู่เครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ เปน็ ขั้นตอนสุดท้าย ควนิ แลน (Quinlan, 1997) เสนอ วธิ ดี าเนนิ การ 5 ข้นั ตอนเพื่อการออกแบบและพฒั นาการเรียนการสอนผา่ นเว็บที่มีประสิทธภิ าพ คือ 1) ทาการวิเคราะห์ความต้องการของนักเรียน รวมท้งั จดุ แขง็ และจดุ ออ่ น ของนักเรียน 2) การกาหนดเปา้ หมาย วตั ถุประสงค์ และกจิ กรรม………………………………………………….. 3) ควรเลอื กเนื้อหาที่จะใช้นาเสนอพร้อมกับหางานวจิ ัยอื่นๆ ทเี่ กยี่ วข้องและช่วยสนับสนุน เนอื้ หา…………………………………………………………….………………………………………………………………………… 4) การวางโครงสร้างและจดั เรียงลาดบั ข้อมลู รวมท้งั กาหนดสารบัญ เครื่องมือ การเขา้ ส่เู นื้อหา (Navigational Aids) โครงรา่ งหนา้ จอและกราฟิกประกอบ………………………………………………………… 5) ดาเนนิ การสร้างเวบ็ ไซตโ์ ดยอาศยั แผนโครงเร่ือง…………………………………………………………… คาน (Khan, 1997) ไดก้ ล่าวไว้ว่า การออกแบบเว็บทีด่ ีมีความสาคญั ต่อการเรยี นการสอน เป็น อยา่ งมากดังนนั้ จึงควรทาความเขา้ ใจถึงคุณลกั ษณะ 2 ประการของโปรแกรมการเรยี นการสอน ผ่านเวบ็ 1. คณุ ลกั ษณะหลัก (Key Features) เปน็ คุณลกั ษณะพื้นฐานของโปรแกรมการเรียนการสอน ผา่ นเว็บทุกโปรแกรม ตัวอย่างเช่น การสนบั สนุนให้นกั เรียนมปี ฏสิ ัมพันธ์กบั บทเรยี น ผู้สอน หรอื นักเรียน
14 คนอนื่ ๆ การนาเสนอบทเรยี นในลกั ษณะของส่ือหลายมิติ (Multimedia) การนาเสนอบทเรียนระบบเปิด (Open System) กล่าวคือ อนญุ าตใหน้ กั เรยี นสามารถเชือ่ มโยงเข้าส่เู ว็บเพจอื่นๆท่ีเก่ียวข้องได้ นกั เรยี น สามารถสบื ค้นข้อมลู บนเครอื ขา่ ยได้ (Online Search) นกั เรียนควรทจ่ี ะสามารถเขา้ สู่โปรแกรมการสอน ผ่านเว็บจากทใี่ ดกไ็ ด้ทว่ั โลก รวมทั้งนกั เรยี นควรทีจ่ ะสามารถควบคมุ การเรียนของตนเองได้ 2. คณุ ลกั ษณะเพม่ิ เติม (Additional Features) เปน็ คณุ ลกั ษณะประกอบเพ่มิ เติม ซ่งึ ข้ึนอยู่ กับคณุ ภาพและความยากงา่ ยของการออกแบบ เพ่ือนามาใชง้ านและการนามาประกอบกบั คุณลักษณะ หลักของโปรแกรมการเรียนการสอน ผา่ นเว็บ ตัวอย่างเช่น ความง่ายในการใช้งานของโปรแกรมมรี ะบบ ป้องกนั การลักลอบข้อมูล รวมทั้งระบบใหค้ วามช่วยเหลอื บนเครือข่ายมคี วามสะดวกในการแก้ไข ปรบั ปรุงโปรแกรม เปน็ ต้น…………………………………………………………………………………………………………. ฮอลล์ (Hall, 19100) ได้กล่าวถงึ การใชเ้ วบ็ ในด้านการเรียนการสอนว่า การศึกษาทดลองหา วิธกี ารสรา้ งเว็บอย่างมีประสทิ ธภิ าพยังอยู่ในระดับทน่ี ้อย แตจ่ ากการรวบรวมจากประสบการณแ์ ละ การ นาเสนอของบรรดานักออกแบบเว็บเพือ่ การเรยี นการสอน สรุปไดว้ ่าเวบ็ เพอ่ื การเรยี นการสอนที่ดี จะต้อง มีลักษณะดังน้ี………………………………………………………………………………………………………………. 1. ต้องสะดวกและไม่ยุ่งยากต่อการสืบคน้ ของนักเรียน..............ใ........ใ............................ 2. ต้องมีความสอดคล้องตรงกนั ในแต่ละเว็บรวมถงึ การเชื่อมโยงระหวา่ งเว็บต่างๆ……………….…… 3. เวลาในการแสดงผลแต่ละหนา้ จอจะต้องน้อยทีส่ ุด หลีกเลี่ยงการใชภ้ าพกราฟิกขนาดใหญ่ ทีจ่ ะ ทาใหเ้ สียเวลาในการดาวนโ์ หลด………………………………………………………………………………………………. 4. มีสว่ นท่ที าหน้าท่ใี นการจดั ระบบในการเข้าสู่เว็บ นักออกแบบควรกาหนดให้นกั เรียนไดเ้ ขา้ สู่ หน้าจอแรกที่มีคาอธิบาย มีการแสดงโครงสรา้ งภายในเว็บ เพอ่ื ทราบถึงขอบเขตที่นักเรียนจะสบื คน้ ……. 5. ควรมีความยดื หยนุ่ ในการสืบคน้ แม้จะมีการแนะนาว่านกั เรียนควรจะเรยี นอย่างไรตามลาดับ ขั้นตอนกอ่ นหลังแต่ก็ควรเพิ่มความยืดหยุน่ ให้นักเรียนสามารถกาหนดเสน้ ทางการ เรยี นรู้ได้เอง………… 6. ตอ้ งมคี วามยาวในหนา้ จอให้น้อย แมน้ กั ออกแบบสว่ นใหญ่จะบอกว่าสามารถใช้ ไฮเปอร์เท็กซ์ ชว่ ยในการเล่อื นไปมาในพน้ื ที่ส่วนตา่ งๆ ในหน้าจอ แต่ในความเป็นจรงิ แล้วหน้าจอทีส่ นั้ เป็นสิ่งทีด่ ที สี่ ดุ 7. ไมค่ วรมจี ดุ จบหรือกาหนดจุดส้ินสดุ ทีน่ กั เรยี นไปไหนต่อไมไ่ ด้ ควรมีการสรา้ งในแบบวนเวียนให้ นักเรียนสามารถหาเสน้ ทางไปกลับระหวา่ ง หน้าตา่ งๆไดง้ ่าย นอกจากนยี้ ังควรใหน้ ักเรียนสามารถกลบั ไป เรยี นในจุดเรมิ่ ตน้ ไดด้ ว้ ยโดยการคลิกเพียงครั้งเดียว…………………………………………………………….. สาหรับนกั วชิ าการศกึ ษาในประเทศไทยได้กลา่ วถึง การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเวบ็ ไว้ หลายท่านดังน…ี้ ……………………………………………………………………………………………………….ใ................... ปทปี เมธาคุณวุฒิ (2540) กล่าววา่ การออกแบบโครงสรา้ งของการเรียนการสอนผ่านเวบ็ ควรจะ ประกอบด้วย………………………………………………………………………………………………………….................. 1. ข้อมลู เก่ียวกบั รายวิชา ภาพรวมรายวชิ า (Course Overview) แสดงวัตถุประสงคข์ อง รายวชิ า สงั เขปรายวิชาคาอธบิ าย เกยี่ วกบั หวั ข้อการเรียน หรอื หนว่ ยการเรยี น…………………………………. 2. การเตรยี มตัวของนกั เรยี นหรือการปรบั พ้ืนฐานนกั เรียน เพ่ือทีจ่ ะเตรยี มตวั เรยี น................. 3. เน้อื หาบทเรียน พรอ้ มทั้งการเช่อื มโยงไปยังสื่อสนับสนนุ ต่างๆในเน้ือหาบทเรยี นน้นั ๆ
15 4. กจิ กรรมท่มี อบหมายให้ทาพรอ้ มท้งั การประเมินผล การกาหนดเวลาเรียนการสง่ งาน 5. แบบฝกึ หดั ทีน่ ักเรยี นตอ้ งการฝึกฝนตนเอง………………………………….……………………… 6. การเชอ่ื มโยงไปแหลง่ ทรัพยากรท่ีสนบั สนุนการศกึ ษาค้นคว้า ……………………………………….. 7. ตัวอย่างแบบทดสอบ ตัวอยา่ งรายงาน…………………………………………………………………… 8. ข้อมูลทว่ั ไป (Vital Information) แสดงขอ้ ความท่จี ะติดต่อผูส้ อนหรือผูท้ ่ีเกี่ยวขอ้ งการ ลงทะเบยี นค่าใช้จ่าย การได้รับหนว่ ยกติ และการเชื่อมโยงไปยังสถานศกึ ษาหรือหนว่ ยงานและมีการเช่ือม โยงไปสู่รายละเอยี ดของหน้าท่ีเก่ียวข้อง……………………………………………………………………………….. 9. ส่วนแสดงประวตั ิของผสู้ อนและผทู้ เี่ กีย่ วข้อง……………………………………………………”””” 10. สว่ นของการประกาศข่าว (Bulletin Board) ………………………………………………………….. 11. ห้องสนทนา (Chat Room) ที่เป็นการสนทนาในกล่มุ นักเรียนและผสู้ อน………………. จากท่กี ลา่ วมาการเรียนการสอนผา่ นเวบ็ เปน็ การจัดการอยา่ งจงใจและนาเสนอข้อมูลที่มี เป้าหมายเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ โดยเฉพาะ ดงั นนั้ การออกแบบเว็บช่วยสอนจึงต้องพจิ ารณาให้เปน็ ไปตาม วตั ถุประสงคแ์ ละการ จดั ระเบียบของเน้ือหาในบทเรยี นที่สรา้ งขึ้น เพ่ือชว่ ยให้การเรียนรู้ของนักเรียน เปน็ ไปอยา่ งมีระบบ ประโยชนก์ ารเรียนการสอนผา่ นเว็บ ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บมีมากมายหลายประการ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของ การนาไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน ซึ่งเป็นมิตใิ หมข่ องเครือ่ งมือและกระบวนการในการเรียนการสอน โดยมีผู้กล่าวถึงประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ดังนี้ ………………………………………………… ถนอมพร เลาหจรัสแสง(2544) ได้กล่าวถึงการสอนบนเว็บมีข้อดีอยู่หลายประการ กล่าวคือ 1. การสอนบนเว็บเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่อยู่ห่างไกล หรือไม่มีเวลาในการมาเข้าช้ันเรียน ได้เรียนในเวลาและสถานที่ ๆ ต้องการ ซ่ึงอาจเป็นที่บ้าน ท่ีทางาน หรือสถานศึกษาใกล้เคียงท่ีนักเรียน สามารถเขา้ ไปใช้บรกิ ารทางอินเทอรเ์ น็ตได้ การที่นกั เรียนไมจ่ าเป็นตอ้ งเดินทางมายังสถานศึกษาทกี่ าหนด ไว้จึงสามารถช่วย แก้ปัญหาในด้านของข้อจากัดเก่ียวกับเวลา และสถานท่ีศึกษาของนักเรียน เป็นอย่าง ดี …………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. การสอนบนเวบ็ ยงั เป็นการส่งเสรมิ ให้เกิดความเท่าเทียมกนั ทางการศึกษา นักเรียนท่ีศึกษาอย่ใู น สถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่งสามารถท่ี จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย กับอาจารย์ ครูผู้สอนซ่ึงสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในนครหลวงหรือในต่างประเทศก็ตาม…………………………………… 3. การสอนบนเว็บนี้ ยังช่วยส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเว็บเป็น แหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเร่ืองใด เรื่องหน่ึง สามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่าง ต่อเนื่องและตลอดเวลาการสอนบนเว็บ สามารถตอบสนองต่อนักเรียนท่ีมีความใฝ่รู้รวมทั้งมีทักษะในการ ต ร ว จ ส อ บ ก า ร เรี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เอ ง (Meta-cognitive Skills) ได้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 4. การสอนบนเว็บ ช่วยทลายกาแพงของหอ้ งเรยี นและเปล่ียนจากหอ้ งเรยี น 4 เหล่ยี มไปส่โู ลกกว้าง แห่งการเรยี นรู้ เปิดโอกาสให้นักเรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆได้อย่างสะดวกและมี ประสิทธิภาพ สนับสนุนส่ิงแวดล้อมทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับ ปัญหาท่ีพบในความเป็นจริง โดยเน้นให้เกิด
16 การเรียนรู้ตามบริบทในโลกแห่งความเป็น จริง(Contextualization) และการเรียนรู้จากปัญหา (Problem-based Learning) ต า ม แ น ว คิ ด แ บ บ Constructivism………………………………………… 5. การสอนบนเว็บเป็นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพ เน่ืองจากที่เว็บได้กลายเป็นแหล่งค้นคว้า ข้อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม่ครอบ คลุมสารสนเทศทั่วโลกโดยไม่จากัดภาษา การสอนบนเว็บช่วย แก้ปญั หาของข้อจากัดของแหล่งค้นคว้าแบบเดมิ จากห้องสมุดอัน ได้แก่ ปัญหาทรพั ยากรการศึกษาที่มีอยู่ จากดั และเวลาท่ีใช้ในการค้นหาข้อมูล เนื่องจากเว็บมีข้อมูลทหี่ ลากหลายและเปน็ จานวนมาก รวมทั้งการ ที่เว็บใช้การเช่ือมโยงในลักษณะของไฮเปอร์มิเดีย (ส่ือหลายมิติ) ซ่ึงทาให้การค้นหาทาได้สะดวกและ ง่า ย ด า ย ก ว่ า ก า ร ค้ น ห า ข้ อ มู ล แ บ บ เดิ ม ……………………………………………………………………………………….. 6. การสอนบนเว็บจะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีกระตือรือร้น ทั้งน้ีเนื่องจากคุณลักษณะของเว็บที่ เอ้ืออานวยให้เกิดการศึกษา ในลักษณะท่ีนักเรียนถูกกระตุ้นให้แสดงความคิดเห็นได้อยูต่ ลอดเวลา โดยไม่ จาเป็นต้องเปิดเผยตัวตนท่ีแท้จริง ตัวอย่างเช่น การให้นักเรียนร่วมมือกันในการทากิจกรรมต่าง ๆ บน เครือข่ายการให้นักเรียนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแสดงไว้บนเว็บบอร์ ดหรือการให้นักเรียนมี โอกาสเข้ามาพบปะกับนักเรียนคนอื่น ๆ อาจารย์ หรือผู้เช่ียวชาญในเวลาเดียวกันที่ห้องสนทนา เป็นต้น 7. การสอนบนเว็บเอื้อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ซึ่งการเปิดปฏิสัมพันธ์นี้อาจทาได้ 2 รูปแบบ คือ ปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนด้วยกันและ/หรือผู้สอน ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการสอนบนเว็บ ซ่ึงลักษณะแรกนี้จะอยู่ในรูปของการเข้าไปพูดคุย พบปะ แลกเปล่ียน ความคิดเห็นกัน ส่วนในลักษณะ หลังน้ันจะอยู่ในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบที่ผู้สอนได้จัดหาไว้ให้แก่ นั ก เรี ย น …………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. การสอนบนเว็บยังเป็นการเปิดโอกาสสาหรับนักเรียนในการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ท้ังใน และนอกสถาบันจากในประเทศและต่างประเทศท่ัวโลก โดยนักเรียนสามารถติดต่อสอบถามปัญหาขอ ข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญจริงโดยตรงซึ่งไม่สามารถทาได้ในการเรียนการ สอนแบบ ดั้งเดิม นอกจากน้ียังประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายเม่ือเปรียบเทียบกับการติดต่อสื่อสารในลักษณะ เดิ ม ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 9. การสอนบนเว็บเปิดโอกาสให้นกั เรยี นไดม้ ีโอกาสแสดงผลงานของตน สู่สายตาผอู้ นื่ อย่างงา่ ยดาย ทั้งน้ีไม่ได้จากัดเฉพาะเพื่อนๆ ในชั้นเรียนหากแต่เป็นบุคคลท่ัวไปทั่วโลกได้ ดังนั้นจึงถือเป็นการสร้าง แรงจูงใจภายนอกในการเรียนอย่างหน่ึงสาหรับผู้ เรียน นักเรียนจะพยายามผลิตผลงานที่ดีเพ่ือไม่ให้เสีย ช่ือเสียงตนเองนอกจากนี้ผู้ เรียนยังมีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อ่ืนเพ่ือนามาพัฒนางานของตนเองให้ดี ยิ่งขึ้น …….................………………………………………………………………………………………………………………… 10. การสอนบนเว็บเปิดโอกาสให้ผู้สอนสามารถปรับปรุงเน้ือหาหลักสูตร ให้ทันสมัยได้อย่าง สะดวกสบายเน่ืองจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัตร ( Dynamic ) ดังนั้นผู้สอนสามารถอัพเดต เน้ือหาหลักสูตรที่ทันสมัยแก่นักเรียนได้ตลอดเวลา นอกจากนี้การให้นักเรียนได้ส่ือสารและแสดงความ คิดเห็นท่ีเกี่ยวข้องกับ เนื้อหา ทาให้เน้ือหาการเรียนมีความยืดหยุ่นมากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิม และเปลี่ยน แปลงไปตามความต้องการของนักเรียนเป็นสาคัญ การสอนบนเว็บสามารถนาเสนอเน้ือหาใน รูปของมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคล่ือนไหว วีดีทัศน์ ภาพ 3 มิติ โดยผู้สอนและ
17 นักเรียนสามารถเลือกรูปแบบของการนาเสนอเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุดทางการเรียน จะเห็นได้ว่าการสอนบนเว็บมีประโยชน์ต่างๆมากมาย เช่น เปิดโอกาสให้นักเรียนที่อยู่ห่างไกล หรือไมม่ ีเวลาในการมาเข้าช้นั เรยี นได้เรียนในเวลาและสถานที่ ท่ตี ้องการ ซ่ึงอาจเป็นที่บา้ น ทท่ี างาน หรือ สถานศึกษาใกล้เคียงท่ีนักเรียนสามารถเข้าไปใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้ ส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียม กันทางการศึกษา ส่งเสริมแนวคิดในเร่ืองของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เน่ืองจากเว็บเป็นแหล่งความรู้ท่ีเปิด กว้างให้ผูท้ ่ีตอ้ งการศกึ ษาในเร่อื งใด เรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาคน้ คว้าหาความร้ไู ด้อย่างต่อเน่ือง เปิดโอกาส ให้นักเรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ สนับสนุนสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนที่เช่ือมโยงสิ่งท่เี รียนกับปัญหาที่พบในความเป็นจรงิ นักเรียนสามารถกลา้ ถาม กล้าตอบ กล้า แสดงความคิดเห็นเพราะไม่ต้องเปิดเผยตัวตนท่ีแท้จริง ก่อให้เห็นการพัฒนาทักษะการคิดต่างๆอย่าง หลากหลาย เปน็ ตน้ การประเมินผลการเรยี นการสอนผา่ นเวบ็ การประเมนิ ผลการเรียนที่มีการเรยี นการสอนผ่านเว็บนั้น มีลกั ษณะที่แตกตา่ งอยู่บา้ ง แต่ก็อยู่บน พ้ืนฐานความต้องการให้มีการเรยี นการสอนผ่านเวบ็ ทม่ี ีคณุ ภาพและ ประสิทธิภาพต่อการเรยี นการสอน สาหรบั การประเมนิ ในแง่ของการจดั การเรียนการสอนผ่านเว็บ ซ่ึงจัดว่าเป็นการจดั การเรียนการสอน ทางไกล วธิ ใี นการประเมนิ ผลสามารถทาได้ท้ังผสู้ อนประเมินนกั เรยี นหรือใหน้ ักเรยี น ประเมนิ ผลผสู้ อน ซึ่งองคป์ ระกอบที่ใชเ้ ป็นมาตรฐานจะเป็นคุณภาพของการเรียนการสอน วธิ ีประเมินผลทีใ่ ชก้ ันอยู่ในการ ประเมนิ ผลมหี ลายวธิ ีการ แต่ถ้าจะประเมนิ ผลมีการเรยี นการสอนผา่ นเว็บกต็ อ้ งพจิ ารณาวิธกี ารที่ เหมาะสม และทันกับเทคโนโลยีท่เี ปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว………………………………………………………… โดยเฉพาะกับเว็บซ่ึงเป็นการศกึ ษาทางไกลวธิ ีหนึ่ง การประเมนิ ผลแบบท่ัวไป ทเ่ี ป็นการประเมิน ระหวา่ งเรยี น(Formative Evaluation) กบั การประเมนิ รวมหลงั เรยี น (Summative Evaluation) เป็น วธิ กี ารประเมินผลสาหรับการเรยี นการสอน โดยการประเมินระหว่างเรยี นสามารถทาได้ตลอดเวลา ระหวา่ งมีการเรียนการสอน เพื่อดผู ลสะท้อนของนกั เรยี นและดูผลท่ีคาดหวังไว้ อนั จะนาไปปรบั ปรงุ การ สอนอย่างต่อเนื่องขณะทก่ี ารประเมนิ หลังเรียนมักจะใช้ การตัดสินในตอนท้ายของการเรียนโดยการใช้ แบบทดสอบเพ่ือวัดผลตามจุดประสงค์ของ รายวชิ า (ปรชั ญนันท์ นิลสุข .2546)………………………………… พอตเตอร์ (Potter, 1910) ได้เสนอวธิ ีการประเมินการเรียนการสอนผ่านเว็บ ซึง่ เป็นวิธกี ารท่ใี ช้ ประเมนิ สาหรบั การเรยี นการสอนทางไกลผ่านเว็บของมหาวิ ทยาลยั จอร์จ เมสนั โดยแบ่งการประเมนิ ออกเปน็ 4 แบบ คือ………………………………………………………………………………………………………………… 1. การประเมนิ ดว้ ยเกรดในรายวิชา (Course Grades) เป็นการประเมนิ ทีผ่ สู้ อนให้คะแนนกบั นกั เรยี น ซึ่งวิธีการน้ีกาหนดองคป์ ระกอบของวชิ าชดั เจน เชน่ คะแนน 100 % แบ่งเปน็ การสอบ 30% จากการมีส่วนรว่ ม 10% จากโครงงานกลมุ่ 30% และงานทีม่ อบหมายในแต่ละสปั ดาห์อีก 30% เป็นต้น………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. การประเมนิ รายคู่ (Peer Evaluation) เปน็ การประเมินกันเองระหว่างคู่ของนักเรียนท่ีเลอื ก จับคู่กันในการเรยี นทาง ไกลด้วยกนั ไม่เคยพบกนั หรอื ทางานดว้ ยกนั โดยใหท้ าโครงงานร่วมกันให้ ตดิ ตอ่ กันผ่านเวบ็ และสรา้ งโครงงานเป็นเว็บทเ่ี ป็น แฟม้ สะสมงาน โดยแสดงเว็บใหน้ ักเรียนคนอื่นๆ ไดเ้ หน็
18 และจะประเมนิ ผลรายคู่จากโครงงาน………………………………………………………………………………… 3. การประเมินตอ่ เน่ือง (Continuous Evaluation) เป็นการประเมนิ ท่นี กั เรียนต้องสง่ งานทุกๆ สปั ดาห์ใหก้ ับผู้สอนโดยผสู้ อนจะให้ ข้อเสนอแนะและตอบกลบั ในทนั ที ถ้ามสี ิ่งที่ผดิ พลาดกบั นกั เรยี นกจ็ ะ แกไ้ ขและประเมินตลอดเวลาในช่วงระยะเวลา ของวชิ า………………………………………………………………. 4. การประเมินท้ายภาคเรยี น (Final Course Evaluation) เป็นการประเมินผลปกตขิ องการสอนที่ นักเรยี นนาส่งสอน โดยการทาแบบสอบถามสง่ ผ่านไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์หรือเคร่ืองมืออ่นื ใด บนเว็บ ตามแต่จะกาหนด เปน็ การประเมนิ ตามแบบการสอนปกตทิ ่ีจะตอ้ งตรวจสอบความกา้ วหน้า และ ผลสัมฤทธิก์ ารเรยี นของนักเรียน………………………………….……………………………………………………. จะเห็นวา่ การประเมนิ ผลการเรยี นการสอนผ่านเว็บ สามารถประเมนิ ได้ตามหลกั การวัดผล ประเมินผล โดยผสู้ อนจะต้องเปน็ ผ้อู อกแบบประเมนิ ใหเ้ หมาะสมกับกจิ กรรมและสภาพความพรอ้ มของ ผู้เรียน และนอกจากนย้ี ังสามารถประเมินได้อย่างหลากหลาย ผู้สอนสามารถประเมินผู้เรียน ผเู้ รยี น ประเมินกันเอง และผู้เรยี นประเมินผู้สอน…………………………………………………………………………. งานวิจยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง เสกสรร สวยสสี ด (2545) ได้ทาการศึกษาการพฒั นารูปแบบระบบการเรียนการสอนโดยใช้ อนิ เทอรเ์ น็ตสาหรับสถาบนั ราชภัฎผลวิจยั พบวา่ การหาประสทิ ธิภาพเวบ็ เพจบทเรียนผ่านอินเทอร์เนต็ รายวชิ าระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การที่พฒั นาขน้ึ มปี ระสิทธิภาพท่มี ีค่าเทา่ กบั 84.44/82 ซงึ่ สูงกว่า เกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ผลของการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกอ่ นเรยี นและหลงั เรียนพบว่า การเรยี นหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 ออมสิน ช้างทอง (2546) ได้ทาวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รายวิชา การเสรมิ สร้างคุณภาพชวี ิตเร่ือง “ชวี ติ กับนันทนาการ” สาหรับนสิ ติ ปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลัยนเรศวร การ วิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพ่ือพัฒนาสื่อมัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รายวิชา การเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตเรื่อง “ชีวิตกับนันทนาการ” สาหรับนิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัยนเรศวร 2) เพ่ือ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตท่ีเรียนบทเรียนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตกับนิสิตที่เรียน ตามปกติ ซึ่งผู้วิจัยได้ดาเนินการพัฒนาส่ือมัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตรายวิชาการเสริมสร้าง คุณภาพชีวิต เร่ือง “ชีวิตกับนันทนาการ” สาหรับนิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัยนเรศวร 3) เพ่ือศึกษา ความคิดเห็นของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วยส่ือมัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์ เน็ตโดยมีขั้นตอนการวิจัย ดังนี้ 1) ข้ันตอนการสารวจปัญหา หาความจาเป็นในการใช้ส่ือมัลติมีเดียของบทเรียนบนเครือข่าย อนิ เทอร์เน็ต และความจาเป็นในการใช้สื่อมัลติมีเดียเป็นส่วนหนง่ึ ของการเรียนการสอน 2) การสร้างและ หาประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดีย 3) การทดลองใช้ส่ือมัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อ เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนและหลังการเรียน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) ผลการศึกษาเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตท่ีเรียนตามปกติกับผู้เรียนท่ีเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีกว่านิสิตท่ีเรียนในห้องเรียนตามปกติ อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 2) นิสิตมีความคิดเห็นต่อสื่อมัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รายวิชาการเสริมสร้าง
19 คุณภาพชีวิตเรื่อง “ชีวิตกับนันทนาการ” อยู่ระดับมาก ดังนั้นการเรียนโดยสื่อมัลติมีเดียบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตสามารถค้นคว้าเพ่ิมเติมได้มากขึ้น สื่อมัลติมีเดียสามารถให้ความรู้และความเพลิดเพลิน การ เรียนโดยสื่อมัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้ความกว้างขวางกว่าการเรียนปกติ มีกระดานข่าวที่ สามารถฝากข้อความถามเพ่อื นในชัน้ และผู้สอนได้สะดวก สามารถเรียนได้กลมุ่ ใหญ่ ผู้เรยี นสามารถรับส่ือ ได้อย่างชัดเจนกว่าในการเรียนปกติ การเรียนโดยสื่อมัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนมากข้ึน ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนได้ด้วยตนเอง การเรียนโดยส่ือ มัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผู้เรียนไม่เครียดจนเกินไป ผู้เรียนมีความตั้งใจในการเรียนมากขึ้น ผู้เรียนกล้าแสดงออกมากขึ้น วราภรณ์ ผ่องสุวรรณ (2547) ได้ทาการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนผ่านเว็บเรื่อง เทคโนโลยี สารสนเทศและการบริหาร กรณศี ึกษานกั ศึกษารัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ซึง่ มีวัตถปุ ระสงค์การ วจิ ัยครั้งนี้ คือ 1) เพ่อื พฒั นาบทเรียนผ่านเว็บเรอ่ื ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหาร สาหรับนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารของนักศึกษา ระหว่างกลุ่มที่เรียนบทเรียนผ่านเว็บและกลุ่มที่เรียน ต าม ป ก ติ ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ างท่ี ใช้ ใน ก ารวิจัย เป็ น นั ก ศึ ก ษ าระดั บ ป ริญ ญ าต รี ค ณ ะรัฐ ศ าส ต ร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาบริหารรัฐกิจ ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาวิทยาการบริหารในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2546 จานวน 60 คน แบง่ เป็นกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน โดยแยกเปน็ กลุ่ม ทดลองกาหนดให้เรียนบทเรยี นผา่ นเว็บ และกลมุ่ ควบคมุ ให้เรยี นตามปกติ ผลการวิจยั พบวา่ บทเรียนผ่าน เว็บเร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหาร มีประสิทธิภาพ 83.50/81.06 และนักศึกษาคณะ รฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ที่เรียนบทเรียนผ่านเว็บมผี ลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนสูงกว่านักศึกษาท่ี เรียนตามปกติ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 ปรัชญนันท์ นิลสุข ( 2550 ) ทาการพัฒนามัลติเว็บบล็อกเพ่ือการจัดการเรียนรู้สาหรับ สถาบันอุดมศึกษา เป็นการวิจัยและพัฒนามัลติเว็บบล็อกเพ่ือการจัดการเรียนรู้ โดยศึกษาพฤติกรรมการ จัดการเรียนรู้ เจตคติและความพึงพอใจต่อมัลติเว็บบล็อกในการจัดการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์ และเจา้ หน้าท่ีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จานวน 35 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) การวิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนามัลติเว็บบล็อกในการจัดการเรียนรู้สาหรับสถาบันอุดมศึกษา พบว่า มัลติเว็บบล็อก ประกอบไปด้วยระบบใหม่ ได้แก่ ส่วนของผู้ดูแลระบบ ส่วนการจัดการลิงค์ ส่วนการจัด สมาชิก ส่วนการจัดการเว็บบล็อก และส่วนของบล็อกเกอร์ 2) ผลการศึกษาพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ ด้วยมัลติเว็บบล็อกของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทางานต่ากว่า 5 ปี มี ประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ตั้งต่ี 5-10 ปี ประสบการณ์ในการใช้อินเตอร์เน็ตต้ังแต่ 5-10 ปี มี ประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 5-10 ปี ประสบการณ์ในการใช้อินเทอร์เน็ตต้ังแต่ 5-10 ปี มี ประสบการณ์ในการใช้เว็บบล็อกระดับปานกลาง เป็นสว่ นมาก มีความถีใ่ นการใชบ้ ล็อกทุกวัน ระยะเวลา ในการใช้บล็อกแต่ละครั้ง 1-2 ช่ัวโมง ช่วงเวลาที่เขียนบล็อกส่วนใหญ่อยู่ระหว่างเวลา 17.01-23.00 จานวนข้อมูลที่ส่งขึ้นบนเว็บบล็อก น้อยกว่า 3 ข้อมูลและสถานท่ีใช้เว็บบล็อก ส่วนใหญ่ร้านอินเทอร์เน็ต คิดเป็นร้อยละ 50 3) ผลการศึกษาเจตคติและความพึงพอใจในการจัดการความรู้ด้วยมัลติเว็บบล็อกของ
20 อาจารย์และเจ้าหน้าที่ พบว่า เจตคติและความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยมัลติเว็บบล็อกอยู่ใน ระดับมาก ธนาธร ทะนานทอง ( 2551 ) ได้พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เท คโนโลยี เว็บบล็อกซ่ึงเป็นเว็บ 2.0 ในยุคของการติดต่อสอื่ สารข้อมลู บนอินเตอร์เน็ตที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลตา่ งๆ มากข้ึน เช่น เสียง รูปภาพ และวีดีโอ เป็นต้น ซ่ึงเทคโนโลยีเว็บบล็อกน้ีเป็นอีกหน่ึงเทคโนโลยีท่ีอยู่ในยุค เว็บ 2.0 มีลักษณะเป็นเว็บ 2.0 เป็นเว็บไซต์ส่วนตัวท่ีมีรูปแบบง่ายต่อการใช้งานและการจัดการเนื้อหา ภายใน ดังนั้นจะพบว่า มีผู้ใช้เว็บบล็อกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะเวลาอันส้ัน จากการที่เว็บบล็อกเป็น นิยมใชก้ ันอยา่ งแพร่หลาย จงึ ก่อใหเ้ กิดสงั คมออนไลน์และองคค์ วามร้ใู หมเ่ กิดข้ึน การใชเ้ ว็บบลอ็ กเป็นเวที ในการเปิดโอกาสให้ผู้อื่นแสดงความคิดเห็นต่อบทบาทของเจ้าของเว็บบล็อก และการใช้เว็บบล็อกใน ระบบพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นต้น โดยสังคมออนไลนแ์ ละองคค์ วามรู้ต่างๆ เหลา่ นี้นบั วา่ เปน็ จุดเริ่มต้น ของประเทศไทยในการก้าวไปสู่ยุคของเว็บ 2.0 อย่างแท้จริง ในงานวิจัยนี้ ทาการศึกษาและพัฒนาเว็บ บล็อกสาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน ท่ีมี ขั้นตอนในการจัดการข้อมูลได้ง่านและสะดวกต่อการใช้งาน อีกทั้งยังเพิ่มความรวดเร็วในการค้นหาและ การนาข้อมูลในระบบไปใช้ เนื่องจากเว็บบล็อกน้ันใช้เทคโนโลยี RSS ที่มีรูปแบบการเก็บข้อมูลเป็นไฟล์ XML โดยระบบดังกล่าวจะเป็นสังคมออนไลน์ทางด้านการศึกษารูปแบบใหม่ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วน รว่ มและเป็นสว่ นหนึ่งของสังคมการศกึ ษาออนไลน์ ขวัญชีวา ว่องนิติธรรม ( 2551 ) ทาการวิจัยเร่ืองการใช้แนวการสอนเขียนแบบเน้น กระบวนการและเว็บบล็อกเพ่ิมพูนความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิในการ เขียนของนักเรียนระดับก้าวหน้า โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียน ภาษาอังกฤษและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ในการเขียนของนักเรียนระดับก้าวหน้าก่อนและหลังการใช้แนวการ สอนเขียนแบบเน้นกระบวนการและเว็บบล็อก กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์อุปถัมภ์ อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ท่ีเรียนวิชา ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จานวน 30 คน เครือ่ งมือที่ใช้ในการเกบ็ ข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษและแบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิในการเขียน ภาษาอังกฤษ ซึ่งทาการทดสอบและวัดก่อนและหลังการเรียนโดยใช้แนวการสอนเขียนแบบเน้น กระบวนการและเว็บบล็อก แล้วนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ โดยผลการวจิ ยั สรุปไดด้ งั น้ี 1) นักเรยี นทเี่ รยี นโดยการใช้แนวการสอนแบบเนน้ กระบวนการ และเวบ็ บล็อกมีความสามารถในการเขยี นภาษาอังกฤษหลงั การทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง 2) นกั เรียน มี แ รงจู งใจ ใฝ่ สั ม ฤ ท ธิ์ท างก ารเรีย น สู งข้ึ น ห ลั งจ าก ได้ เรีย น โด ย ก ารใช้ แ น ว ก ารส อ น เขี ย น แบ บ เน้ น กระบวนการและเว็บบล็อก สุภพงษ์ วงศ์สมิตกุล (2553) ได้ทาการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้ เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการเพาะ เหด็ หอม สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนปากช่อง จงั หวัดนครราชสีมา ผลการวิจยั พบว่า บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
21 อาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการเพาะเห็ดหอมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ตามท่ีกาหนด 85/85 นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการเพาะเห็ดหอม มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่อื งการเพาะเหด็ หอม มคี วามคิดเหน็ เฉลีย่ รวมอยใู่ นระดับเหน็ ด้วยอย่างยิ่ง จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องที่ได้กล่าวมาข้างต้น พบว่า การจัดการเรียนการ สอนโดยใช้เว็บบล็อกและสื่อสังคมออนไลน์ สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนได้เป็นอย่างดี ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น อีกท้ังยังเป็นแรงจูงใจท่ีจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อยากท่ีจะ เรียนรู้และใฝ่เรียนรู้อีกด้วย ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะนาส่ือสังคมออนไลน์ และเว็บบล็อกเข้ามาใช้ ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเป็นนักเรียนท่ีก้าวทันเทคโนโลยีและเรียนวิชา วทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งมีความสุข ไดร้ ับความรู้ และมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสงู ข้ึน
22 บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ การวจิ ยั กรอบแนวคดิ การวจิ ัย ตัวแปรตาม . ตัวแปรอสิ ระ 1. ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์โดย เทคโนโลยีสื่อผสม (Social Media) สาระการ บทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยี เรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วย สื่อผสม (Social Media) สาระการ การเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ สาหรับนักเรียนช้ัน เรี ย น รู้ วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3/1 เทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ือง 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียน ระบบนิเวศ สาหรับนักเรียนชั้น ด้วยบทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีสื่อผสม มัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 (Social Media) ส า ร ะ ก า ร เรี ย น รู้ วิ ช า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เร่ืองระบบนเิ วศ สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษา ปีท่ี 3/1 3. ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีเรียนด้วย บทเรยี นออนไลน์โดยเทคโนโลยสี อ่ื ผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ สาหรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3/1 ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย 1. เพ่อื สรา้ งและหาประสิทธภิ าพของบทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีสื่อผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3/1 2. เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีสื่อผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ สาหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3/1
23 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 ที่มีต่อบทเรียนออนไลน์โดย เทคโนโลยสี อ่ื ผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรเู้ รื่อง ระบบนิเวศ สมมติฐานการวิจัย……….........………………………………………………………………………………………………… 1. บทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีสื่อผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3/1 มีประสิทธภิ าพ ตามเกณฑ์ 80/80 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ที่เรียนจากบทเรยี นออนไลน์โดยเทคโนโลยีส่ือผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ สาหรับ นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3/1 มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขน้ึ 3. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ที่เรียนโดยบทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีส่ือผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ สาหรับ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3/1 มคี วามคดิ เห็นในระดับเหน็ ดว้ ยอย่างยงิ่ ตวั แปรและนยิ ามตวั แปร 1. ตัวแปรอิสระ คือ บทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีส่ือผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรเู้ รื่องระบบนเิ วศ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3/1 2. ตัวแปรตาม คอื 2.1 ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีสื่อผสม (Social Media) สาระการ เรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้เรื่องระบบนิเวศ สาหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3/1 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรยี นออนไลน์โดยเทคโนโลยสี ื่อผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3/1 2.3 ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีสื่อผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ สาหรับ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3/1 ประชากร ประชากรคือนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3/1 โรงเรียนนา้ ปลกี ศึกษา ปีการศึกษา 2563 จานวน 1 ห้องเรียน รวมนักเรียนทัง้ สน้ิ 29 คน กลมุ่ ตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนน้าปลีกศึกษา ได้มาจากวิธีการ เลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
24 เครอ่ื งมอื วิจยั เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัยเรือ่ งบทเรียนออนไลนโ์ ดยเทคโนโลยีส่ือผสม (Social Media) สาระ การเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรู้เรอ่ื งระบบนิเวศ สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3/1 ประกอบด้วย 1. บทเรียนออนไลนโ์ ดยเทคโนโลยีสอ่ื ผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วชิ าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้เรือ่ งระบบนิเวศ 2. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหน่วยการเรียนรู้เร่ือง ระบบนิเวศ 3. แบบสอบถามความคดิ เห็นของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3/1 ทม่ี ีต่อบทเรียนออนไลนโ์ ดย เทคโนโลยีสอ่ื ผสม (Social Media) สาระการเรียนรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรู้เรื่อง ระบบนเิ วศ การสร้างและพฒั นาเคร่อื งมือในการวิจยั 1. การสร้างและพัฒนาบทเรียนออนไลนโ์ ดยเทคโนโลยีส่ือผสม (Social Media) สาระวิชา วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรเู้ รื่องระบบนเิ วศ ท่ี http://gg.gg/krununsite9254 มขี ้ันตอนการสร้างและ พฒั นา 9 ข้ันตอนดงั นี้ 1. ศกึ ษา ค้นคว้า อบรม เว็บไซตท์ ี่ใชใ้ นการสร้างบทเรียนออนไลน์ 2. วเิ คราะหเ์ นือ้ หาท่จี ะนามาสรา้ งบทเรยี นออนไลน์ 3. ออกแบบกิจกรรมการเรียนผา่ นออนไลน์ 4. แปลงบทเรยี นเป็นสอ่ื ออนไลน์ 5. นาสอ่ื ออนไลน์เขา้ สู่เว็บไซต์ 6. ทดลองระบบบทเรยี นออนไลน์ 7. ตรวจสอบคณุ ภาพโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ 8. ทดสอบหาประสทิ ธภิ าพในขัน้ ทดลองใชเ้ บือ้ งต้น ภาพ9ท. ่ีป2รขับน้ัปตรอุงนกแากรไ้ สขรแา้ งลแะลนะาพไปฒั ในชาส้ บอทนเจรียริงนออนไลน์ ภาพที่ 2 ข้นั ตอนการสร้างและพัฒนาเคร่ืองมอื ในการวจิ ัย
25 รายละเอียดแต่ละขนั้ ตอนเป็น ดังน้ี 1. ศกึ ษาค้นคว้า อบรม เวบ็ ไซต์ท่ีใชใ้ นการสร้างบทเรียนออนไลน์ เข้ารับการอบรมความรู้การ สรา้ ง website ตามโครงการพัฒนาครูของสานักเทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอน สานกั งานการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 2. วเิ คราะหเ์ นอ้ื หาที่จะนามาสร้างบทเรยี นออนไลน์ 2.1 ศกึ ษาหลักสตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 (ปรับปรงุ 60) สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่วงชน้ั ท่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 วิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้ และสาระ เรยี นรู้ ตัวชี้วัดในสาระที่ 1 ระบบนิเวศ มาตรฐาน ว.1.1 ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสงิ่ ไม่มีชีวติ กับส่งิ มชี ีวิตและความสัมพันธ์ระหวา่ งส่งิ มีชีวิตกบั สงิ่ มีชีวิตตา่ ง ๆ ใน ระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหา และผลกระทบท่มี ีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ การแก้ไขปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2.2 วิเคราะห์เนอื้ หาสาระที่ 1 ระบบนเิ วศ ประกอบด้วยคาอธบิ ายรายวชิ า สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้วี ัด 2.3 กาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ โดยวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ และ ตวั ช้วี ดั ให้สมั พนั ธก์ ับกจิ กรรมการเรียนการสอน 3. ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านบทเรยี นออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยสี ือ่ สัง ออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสงั คม (Social Media) ให้เขา้ ใจอย่างชัดเจน สอบถามผูร้ ู้และศึกษาทฤษฏแี นวคดิ ท่ใี ช้ บทเรยี นออนไลน์ โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ื่อสังคม (Social Media) 4. แปลงบทเรียนเป็นสื่อออนไลน์ โดยเม่อื สรา้ งบทเรียนเสร็จกส็ ามารถอพั โหลดเปน็ ส่อื ออนไลน์ ได้ 5. นาบทเรียนออนไลน์เขา้ สู่เว็บไซต์ชอ่ื http://gg.gg/krununsite9254 6. ทดลองระบบบทเรียนออนไลน์ โดยให้ผู้ทร่ี ้จู ักในโรงเรยี นต่างๆทั่วประเทศไดท้ ดลองเปิด เว็บไซต์ http://gg.gg/krununsite9254 7. ตรวจสอบคณุ ภาพโดยผเู้ ชีย่ วชาญ นาเสนอบทเรียนออนไลนท์ สี่ รา้ งขีน้ ต่อผเู้ ช่ียวชาญการ สอนด้านวิทยาศาสตร์และมีความถนดั ดา้ นคอมพวเตอรเ์ พื่อให้ประเมินความสอดคล้องด้านตัวชี้วดั จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสาคญั กิจกรรมการเรียนการสอน การวดั ผลประเมนิ ผล ดา้ นการออกแบบ จอภาพ ภาพ แสง เสียง การใช้ภาษา และนาข้อเสนอแนะของผ้เู ชีย่ วชาญมาปรับปรงุ แกไ้ ขก่อนทดลองใช้ และนาผลการประเมนิ มาวเิ คราะหห์ าค่าดัชนคี วามสอดคล้อง 8. ทดสอบหาประสิทธภิ าพในขน้ั ทดลองใช้เบือ้ งต้น 8.1 นาบทเรยี นออนไลน์ ทส่ี ร้างขน้ึ ไปทดลองหาประสิทธภิ าพกับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3/1 ปีการศึกษา 2563 ที่ไม่ใชก่ ล่มุ ทดลองและยงั ไมเ่ คยเรียนเนือ้ หาเร่อื งน้ีมากอ่ น 8.1.1 การทดลองแบบ 1:1 โดยนาไปทดลองใชก้ ับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรยี นนา้ ปลีกศึกษา ปีการศึกษา 2563 ท่ีไม่ใชก่ ล่มุ ทดลอง จานวน 3 คน โดยส่มุ จากนักเรยี นท่มี ี
26 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่ม เกง่ ปานกลาง อ่อน กลุม่ ละ 1 คน เพ่ือหาข้อบกพร่องของบทเรียน ออนไลน์ เชน่ การใชภ้ าษา รูปภาพ ความเหมาะสมของเนื้อหา และกจิ กรรม ระยะเวลาที่ใชใ้ น การเรยี น ผ้วู จิ ยั ไดบ้ ันทกึ ขอ้ บกพร่องตา่ งๆลงในแบบประเมินการใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ และนาข้อบกพรอ่ ง มาปรับปรงุ แก้ไขให้ดีขึน้ ต่อไป 8.1.2 การทดลองกลุ่มเลก็ โดยนาไปทดลองใช้กบั นัก เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนน้าปลกี ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2563 ที่ไม่ใชก่ ลมุ่ ทดลอง จานวน 9 คน โดยส่มุ จากนักเรยี นทีม่ ี ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในกลุ่ม เกง่ ปานกลาง อ่อน กล่มุ ละ 3 คน โดยบนั ทึกขอ้ มลู ต่าง ๆ จากการใช้ บทเรยี นออนไลนเ์ พอื่ นาไปแก้ไขปรบั ปรุงให้ชดั เจนและเข้าใจง่ายขึ้น 8.1.3 การทดลองกลุ่มใหญ่ โดยนาไปทดลองใชก้ ับนัก เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3/1 โรงเรยี นนา้ ปลีกศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 ท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง จานวน 29 คน โดยสุม่ จากนกั เรยี นที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มเก่ง 9 คน กลุ่มปานกลาง 10 คน กลมุ่ อ่อน 10 คน โดยบันทกึ ข้อมูลจาก การใช้บทเรยี นออนไลน์ ตลอดจนขอ้ เสนอแนะต่างๆของนักเรยี น เพ่ือนาไปแก้ไขปรับปรุงใหด้ ขี ึ้นและ วเิ คราะหห์ าประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ 9. ปรบั ปรงุ แก้ไข และนาไปใช้สอนจริง การทดลองภาคสนาม โดยนาบทเรียนออนไลน์ที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้วจากการทดลอง ทั้ง 3 ขั้นตอน ไปทดลองกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 โรงเรียนน้าปลีกศึกษาปีการศึกษา 2563 จานวน 29 คน แลว้ นาผลการใช้มาวเิ คราะห์หาประสทิ ธิภาพของบทเรยี นออนไลน์
27 2. การสรา้ งและพฒั นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 1. ศึกษาเอกสาร ตาราเก่ียวกับการสรา้ งแบบทดสอบ 2. กาหนดรปู แบบของแบบทดสอบ 3. เขียนแบบทดสอบรายข้อ 4. ตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ 5. ทดลองกับกลุ่มตัวแทนกลมุ่ ตัวอยา่ ง 6. วิเคราะหค์ ณุ ภาพแบบทดสอบ อานาจจาแนก ระดบั ความยากง่าย 7. คัดเลือกข้อสอบ 8. วิเคราะหค์ วามเช่อื มัน่ ของแบบทดสอบ 9. จดั ทาแบบทดสอบที่สมบูรณ์ ภาพท่ี 3 ขัน้ ตอนการสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
28 รายละเอยี ดแตล่ ะขัน้ ตอนเป็น ดงั น้ี 1. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เร่ือง ระบบนิเวศ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 ซ่ึงแบบทดสอบท่ีสร้างขึ้น นามาใช้ วัดผลทางการเรียนรู้ หลังจากเรียนโดยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบนิเวศ เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด เลือกตอบ (Multiple Choise) 4 ตวั เลือก ผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างแบบทดสอบโดยศึกษาเนื้อหา และทา การออกแบบทดสอบตามจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ เพื่อใช้ทดสอบนักเรียนหลังเรียน จานวน 20 ขอ้ โดยมีขั้นตอนการสรา้ งดังนี้ 1.1 ศึกษาหลักสตู ร คาอธบิ ายรายวิชา ตวั ชี้วดั กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี จากหลักสตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 (ปรับปรุง60) หนงั สือการจดั สาระการเรียนรู้ กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โดยนามาวเิ คราะห์เนื้อหาและทาการออก ขอ้ สอบตามจุดประสงค์และรายละเอียดของเนอื้ หา 1.2 กาหนดจุดประสงค์การเรยี นรู้ เพื่อกาหนดขอบเขตของเนื้อหาในแต่ละตอนในการเรียน จากบทเรยี นออนไลน์ใหเ้ ป็นไปตามจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร 1.3 กาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพ่ือกาหนดวิธีการเรียนและข้ันตอน การเรียน การ วัดผล ประเมนิ ผลในเน้ือหาแตล่ ะตอน 1.4 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เร่ืองระบบนิเวศ ชนิดเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก โดยมีคาตอบท่ีถูกสุดเพียงคาตอบเดยี ว ตัวลวงอีก 3 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อโดยให้ครอบคลุม เน้ือหาและจดุ ประสงค์การเรียนรู้ นาไปใหผ้ เู้ ช่ียวชาญด้านวดั ผล ตรวจสอบแบบทดสอบและตัวเลือก แต่ ละข้อ และนามาปรับปรุงแก้ไข 1.5 นาแบบทดสอบท่ีได้ปรบั ปรงุ แก้ไขแลว้ ไปใหผ้ ู้เช่ยี วชาญด้านเน้อื หาตรวจสอบความ ถูกต้องแลว้ นามาวเิ คราะหห์ าคา่ ดชั นคี วามสอดคลอ้ ง ระหวา่ งจุดประสงค์การเรยี นรกู้ บั เนื้อหา ของ แบบทดสอบแต่ละข้อ (Index of Objective Congruence: IOC) แลว้ คัดเลอื กเฉพาะข้อท่ไี ด้ค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 ข้นึ ไป โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรปู SPSS for Window 1.6 นาแบบทดสอบที่มีคา่ IOC ตัง้ แต่ 0.50 ขึน้ ไป ไปทดสอบกับนักเรยี น ในกลมุ่ ทดลอง แบบกลุ่มเล็ก ท่ีเคยเรียนเนื้อหาเรอ่ื ง ระบบนิเวศ มาแลว้ จานวน 9 คน แลว้ นาคะแนนที่ได้ไปวเิ คราะห์หา ค่าความยากง่าย (P) และคา่ อานาจจาแนก (r) ของแบบทดสอบ ใชก้ ลุม่ สงู 25 % และกลมุ่ ต่า 25 % โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรปู SPSS for Window และใชส้ ตู ร P = RU RL 2f r = RU RL f
29 เมอ่ื p หมายถงึ ค่าความยากง่าย r หมายถึง ค่าอานาจจาแนก RU หมายถึง จานวนผทู้ ่ตี อบถกู ในกลุม่ สูง RL หมายถงึ จานวนผ้ทู ต่ี อบถูกในกลุม่ ตา่ f หมายถงึ จานวนผ้ทู ีเ่ ขา้ สอบในกลมุ่ สูง (หรอื กลุ่มตา่ ) จากนั้นทาการคัดเลือกแบบทดสอบที่มีค่าความยากง่าย 0.20 – 0.80 และค่าอานาจจาแนก 0.20 ข้นึ ไป ใหเ้ หลอื จานวน 20 ขอ้ 1.7 นาแบบทดสอบท่ไี ด้ตามข้อ 1.6 ไปทดลองกบั นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3/1 ทเี่ ปน็ กล่มุ ทดลองขนาดใหญ่ จานวน 29 คน แล้วนาคะแนนทไี่ ด้มาวิเคราะหห์ าคา่ ความเทย่ี งของแบบทดสอบ ได้คา่ ความเทยี่ งของแบบทดสอบ เท่ากับ 0.71 แล้วนาแบบทดสอบที่ไดม้ าตรฐานไปทดลองใช้กับกลุ่ม ตัวอย่างภาคสนาม เพือ่ หาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรียนตอ่ ไป การหาความเท่ยี งของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ใช้สูตร KR – 20 ของ คเู ดอร์ รชิ าร์ดสัน (Kuder-Richardson formula 20) โดยใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู SPSS for Window และใชส้ ูตร rtt = k k 1 1 pq s2 เมือ่ rtt แทน ค่าความเท่ียงของแบบทดสอบ k แทน จานวนขอ้ ของแบบทดสอบ p แทน สดั ส่วนของผตู้ อบถกู ในแตล่ ะข้อ q แทน สัดสว่ นของผตู้ อบผดิ ในแตล่ ะข้อและ q = 1 - p s2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมของผเู้ ข้าสอบแต่ละคน s2 = n X2 X2 nn 1
30 3. การสรา้ งและพัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็น 1. ศกึ ษาทฤษฎกี ารสร้าง จากเอกสาร ตาราวิชาการ 2. กาหนดประเด็นทต่ี อ้ งการถาม 3. ตรวจสอบความตรงโดยผู้เช่ยี วชาญ 4. หาความเช่ือมน่ั (Reliability) 5. สร้างเปน็ แบบสอบถามท่ีสมบูรณ์ ภาพที่ 4 ขัน้ ตอนการสรา้ งแบบสอบถามความคิดเหน็ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้ดาเนนิ การดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนด้วยบทเรียนออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยีสอื่ สังคม (Social Media) ขัน้ ท่ี 2 จดั การเรียนการสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ื่อสงั คม (Social Media) ขั้นท่ี 3 ทดสอบหลังเรียนด้วยบทเรยี นออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ข้ันที่ 4 สอบถามความคิดเห็นหลังจากเรยี นดว้ ยบทเรยี นออนไลนโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยีสอ่ื สงั คม (Social Media) ข้ันท่ี 5 นาข้อมูลมาวเิ คราะห์ และแปลผล
31 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมูล . 1. การวิเคราะห์หาประสทิ ธภิ าพของบทเรยี นออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสือ่ สงั คม (Social Media) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่อื งระบบนเิ วศที่ http://gg.gg/krununsite9254 ไดห้ าประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 จากสตู ร E1/E2 (ชัยยงค์ พรหม วงศ์ สมเชาว์ เนตรประเสรฐิ และสุดา สนิ สกลุ 2520: 136-137) X สตู ร E1 N 100 A เมอ่ื E1 คือ ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ X คือ คะแนนรวมของการตอบคาถามท้ายหนว่ ย 8 หนว่ ย A คือ คะแนนเต็มของคาถามทา้ ยหนว่ ย 8 หน่วย N คือ จานวนนกั เรียน F สตู ร E2 N 100 B เมื่อ E2 คอื คา่ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ F คือ คะแนนรวมของการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น B คือ คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น N คือ จานวนนกั เรยี น 2. การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ที่เรียนจาก บทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เรื่องระบบนิเวศ ใน URL http://gg.gg/krununsite9254 โดยการเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนท่ีได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบ วัดผลสมั ฤทธิห์ ลังเรียน โดยใช้ t-test (t-test for Dependent group) (ล้วน สายยศ 2540 : 301) สูตร t = D เม่ือ df = n-1 N D2 ( D)2 N 1 เมื่อ D เป็นความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่ N เป็นจานวนคู่
32 3. การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ท่ีเรียนจากบทเรียน ออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องระบบนิเวศ ใน URL http://gg.gg/krununsite9254 โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นมีลักษณะ ท่ีใชม้ าตราส่วนประเมนิ ค่าของลเิ คริ ต์ (Likert’s Rating Scale) มี 5 ระดบั ดังนี้ 5 หมายถึง เหน็ ด้วยอย่างย่งิ 4 หมายถึง เหน็ ด้วย 3 หมายถงึ ไม่แนใ่ จ 2 หมายถงึ ไมเ่ ห็นด้วย 1 หมายถงึ ไม่เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ การนาคะแนนมาหาค่าเฉล่ีย(Mean) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นาคา่ เฉลย่ี (Mean) ดังนี้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถงึ เห็นดว้ ยอย่างย่ิง คา่ เฉลีย่ (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถึง เหน็ ดว้ ย คา่ เฉลี่ย (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถงึ ไมแ่ น่ใจ คา่ เฉลี่ย (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถงึ ไมเ่ หน็ ด้วย คา่ เฉลี่ย (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถงึ ไม่เหน็ ดว้ ยอยา่ งยิ่ง เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของเบสท์ (Best, 1970 อ้างถึงในบญุ มี พนั ธุ์ไทย, 2545 : 60) ผลจากการวจิ ัย ในการวิจัยเร่ืองบทเรียนออนไลน์โดยเทคโนโลยีส่ือผสม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ผูว้ ิจัยมีความประสงค์ เพ่ือพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการ เรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่อื งระบบนเิ วศ และเพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนกั เรียนที่มี ต่อบทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี หน่วยการเรียนรูเ้ รื่องระบบนิเวศ ได้ผลการวิจัยดังนี้ 1. ผลการทดสอบประสิทธภิ าพของบทเรยี นออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยสี ่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรูเ้ รื่องระบบนิเวศ 1.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยสี ื่อสังคม (Social Media) สาระการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรูเ้ ร่ืองระบบนิเวศ ดังตารางที่ 4.1
33 ตารางท่ี 4.1 แสดงคา่ ร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามท้ายหนว่ ย และคะแนนจากการทดสอบ หลงั เรยี น แบบเดย่ี ว (n=3) คะแนนจากการตอบคาถามท้ายหนว่ ย คะแนนจากการทดสอบหลงั เรียน E1/E2 (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 75.48/73.33 75.48 73.33 จากตารางท่ี 4.1 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบเด่ียวของบทเรียนออนไลน์โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เรื่องระบบนเิ วศ มีประสิทธภิ าพ 75.48/73.33 ผ้วู จิ ัยได้สัมภาษณ์นกั เรียนจานวน 3 คน พบวา่ ปญั หาของการเรียนจากบทเรียนออนไลน์โดย ใช้เทคโนโลยีส่อื สังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เร่ืองระบบนิเวศ มีดังน้ี 1) ตัวอักษรไม่ชัดเจนเล็กเกินไป 2) ไฟล์วีดิโอ และไฟล์ภาพประกอบใหญ่มาก ทาใหโ้ หลดช้า หลังจากทดสอบแบบเดี่ยวผู้วิจัยได้นาบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) มาปรับปรุงในส่วนของ 1) เพิ่มขนาดตวั อกั ษรและเปล่ยี นรูปแบบตวั อักษร 2) ไฟล์วดี ิโอ และ ไฟล์ภาพประกอบได้ลดขนาดไฟลล์ งเหลือ 20 เปอรเ์ ซ็นต์ 1.2 ผลการทดสอบประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรเู้ ร่ืองระบบนเิ วศ ดังตารางที่ 4.2 ตารางที่ 4.2 แสดงคา่ ร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามทา้ ยหนว่ ย และคะแนนจากการ ทดสอบหลังเรียน แบบกลุ่ม (n=9) คะแนนจากการตอบคาถามท้ายหนว่ ย คะแนนจากการทดสอบหลังเรยี น E1/E2 (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) 82.46 81.48 82.46/81.48 จากตารางท่ี 4.2 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุ่มของบทเรียนออนไลน์โดยใช้ เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เรอ่ื งระบบนิเวศ มีประสทิ ธิภาพ 82.46/81.48 ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์นักเรียนจานวน 9 คน พบว่า ปัญหาของการเรียนจากบทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการ เรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ ดังน้ี (1) นักเรียนต้องการคู่มือการเรียน ไปอ่านท่ีบ้านก่อนการเรียน เพราะเม่ือ เวลาผ่านไปนานทาให้นักเรียนลืมข้ันตอนการเรียน และ (2) นักเรียนหลายคนบอกว่าความเร็ว อินเทอร์เน็ตช้า ทาให้การโหลดบทเรียนช้าไปดว้ ยต้องรอนานจงึ จะได้เรยี น
34 หลังจากทดสอบแบบกลุ่มผู้วิจัยปรับปรุง คือ (1) ทาคู่มือการเรียนบทเรียนออนไลน์โดยใช้ เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เร่ืองระบบนิเวศ สาหรับนักเรียน (2) ความเร็วอินเทอร์เน็ตช้า ทาให้การโหลดข้อมูลช้าต้องรอนาน ผู้วิจัยได้แนะนาให้นักเรียนมาเรียนท่ีห้องคอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียน เช่น ตอนเช้า ตอนพักกลางวัน ตอนหลังเลิกเรียน และวันเสาร์โดยทาหนังสือขอความอนุเคราะห์ผู้ดูแลระบบห้องคอมพิวเตอร์ของ โรงเรยี น 1.3 ผลการทดสอบประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสือ่ สงั คม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ แบบภาคสนาม ดัง ตารางที่ 4.3 ตารางที่ 4.3 แสดงคา่ ร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามท้ายหน่วย และคะแนนจากการ ทดสอบหลงั เรียน แบบภาคสนาม (n = 29) คะแนนจากการตอบคาถามท้ายหน่วย คะแนนจากการทดสอบหลงั เรียน E1/E2 (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 87.33 86.78 87.33/86.78 จากตารางท่ี 4.3 พบวา่ การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามของบทเรียนออนไลน์โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เรอื่ งระบบนเิ วศ มีประสิทธิภาพ 87.33/86.78 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 ที่เรียนจากบทเรียน ออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดังตารางท่ี 4.4 ตารางที่ 4.4 แสดงคะแนนเฉลย่ี ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของคะแนน เฉล่ยี จากกลมุ่ ตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม (n=29) คะแนนการประเมินก่อนเรียน คะแนนการประเมินหลังเรยี น t-test X SD. X SD. 33.35* 6.63 1.56 0.87 *P< .05 , t (.05, df 29) =1.699 17.20
35 จากตารางท่ี 4.4 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือ สังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดย นกั เรยี นมีคะแนนเฉล่ยี หลังเรยี นสงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยกอ่ นเรยี น 3. ผลความคดิ เห็นของนักเรียนที่มตี ่อบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยสี ื่อสงั คม (Social Media) สาระการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรเู้ รอ่ื งระบบนิเวศ ผลการ วิเคราะหค์ วามคิดเหน็ ดงั ตารางท่ี 4.5 ตารางท่ี 4.5 แสดงคา่ เฉลยี่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของนักเรียนที่เรยี นจาก บทเรียนออนไลน์โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ือ่ สังคม (Social Media) (n=29) ความคิดเห็น X SD. แปลความหมาย 1. นกั เรยี นชอบเรยี นดว้ ยบทเรียนออนไลน์ 5.00 0.00 เห็นดว้ ยอย่างย่ิง 0.25 เห็นดว้ ยอย่างยง่ิ 2. นกั เรียนได้เสาะแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง 4.93 0.38 เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ 0.41 เห็นด้วยอย่างยงิ่ 3. นกั เรยี นมีความสุขในการเรียน 4.83 0.35 เห็นดว้ ยอย่างยงิ่ 0.66 เหน็ ดว้ ยอย่างยิ่ง 4. นกั เรยี นมโี อกาสได้ตัดสินใจด้วยตนเอง 4.80 0.38 เห็นดว้ ยอยา่ งย่งิ 0.40 เหน็ ดว้ ยอยา่ งย่ิง 5. นักเรียนมีอิสระในการเรยี นมากขน้ึ 4.87 0.45 เหน็ ดว้ ยอย่างย่ิง 0.39 เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ 6. นกั เรียนได้รบั ความรเู้ หมือนเรียนกบั ครูตวั จริง 4.67 0.10 เหน็ ด้วยอยา่ งยงิ่ 7. เน้ือหาในบทเรยี นออนไลน์เป็นลาดับข้ันตอนเขา้ ใจงา่ ย 4.83 8. ภาพ เสยี ง ภาษาในบทเรียนออนไลนช์ ัดเจนเขา้ ใจง่าย 4.82 9. การออกแบบจอภาพชดั เจน ดงู ่าย สบายตา 4.78 10. กิจกรรมในบทเรยี นออนไลนเ์ ขา้ ใจงา่ ย สามารถปฏิบตั ติ ามได้ 4.84 เฉล่ียรวม 4.85 จากตารางท่ี 4.5 พบว่า ความเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3/1 บทเรียนออนไลน์โดยใช้ เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เรื่องระบบนิเวศ โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างย่ิง ( X = 4.85) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า นักเรียนชอบเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ มีค่าเฉล่ียสูงสุด ( X = 5.00) รองลงมานักเรียนได้เสาะแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง ( X =4.93) นักเรียนมีอิสระในการเรียนมากข้ึน ( X = 4.87) กิจกรรมในบทเรียน ออนไลน์เข้าใจง่าย สามารถปฏิบัติตามได้ ( X = 4.84) นักเรียนมีความสุขในการเรียน เนื้อหาใน บทเรียนออนไลน์เป็นลาดับข้ันตอนเข้าใจง่าย ( X = 4.83) ภาพ เสียง ภาษาในบทเรียนออนไลน์ชัดเจน เขา้ ใจง่าย ( X = 4.82) การออกแบบจอภาพชัดเจน ดูง่าย สบายตา ( X = 4.78) ตามลาดบั และนักเรียน ไดร้ ับความร้เู หมือนเรยี นกบั ครตู วั จรงิ ( X = 4.67) มคี ่าเฉลี่ยต่าสดุ
36 บทท่ี 5 การอภิปรายผล ในการวิจัยเรื่องบทเรียนออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3/1 โรงเรยี นน้าปลีกศึกษา จังหวัดอานาจเจริญ มีจุดประสงค์เพื่อพฒั นาบทเรียนออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยีส่ือ สังคม (Social Media) สาระการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรเู้ รอื่ งระบบนิเวศ เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้เร่ืองระบบนิเวศ และเพ่ือศกึ ษา ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการ เรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรอ่ื งระบบนิเวศ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรเู้ รื่องระบบนเิ วศ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรเู้ รอ่ื ง ระบบนิเวศ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ท่ีใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้ เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เร่อื งระบบนเิ วศ จากการวิจัยในคร้ังนี้ ผู้วจิ ยั ได้สรา้ งบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสือ่ สงั คม (Social Media) เพื่อใช้ในการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ระบบนิเวศ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป็นไปตามสมมติฐาน ทีต่ ัง้ ไว้ ซง่ึ สรปุ ผลการศึกษาไดด้ งั นี้ 1. ประสิทธภิ าพของบทเรยี นบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสอื่ สังคม (Social Media) ท่ี ผู้วิจยั สร้างข้นึ มีประสทิ ธิภาพสงู กวา่ เกณฑ์ทกี่ าหนด 80/80 ทตี่ ง้ั ไว้ คือ มีประสิทธิภาพเฉลีย่ รวมเทา่ กับ 87.33/86.78 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสงั คม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ ก่อน เรียนมีค่าเฉล่ียรวมเท่ากับ 6.63 และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนมีค่าเฉล่ียรวมเท่ากับ 17.20 นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยเท่ากับ 10.57 และเม่ือทดสอบความแตกต่างของคะแนน เฉล่ีย พบว่าค่า t ท่ีคานวณได้เท่ากับ 33.35 เม่ือเปรียบเทียบกับค่า t ท่ีคานวณได้ในตารางหลักพบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ .05 แสดงว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียน ซ่ึงเป็นค่าความแตกต่างท่ีเชื่อมั่นได้ถึง 99 เปอร์เซนต์ แสดงว่านักเรียนมี ความก้าวหน้าทางการเรยี นและมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเพม่ิ ขนึ้ 3. ความคิดเหน็ ของนกั เรียนทเี่ รียนโดยบทเรยี นออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยสี ่อื สังคม (Social Media) สาระการเรียนรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นร้เู ร่อื งระบบนเิ วศ อยู่ในระดบั เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ ทุกเรอื่ งมีคา่ เฉลี่ยรวมเทา่ กบั 4.85 แสดงว่านกั เรียนเห็นด้วยอย่างยิ่ง และคา่ สว่ น เบีย่ งเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.1 แสดงว่านกั เรยี นมีความคดิ เหน็ คล้อยตามกัน
37 จากผลการวจิ ัยเรื่องผลการใช้บทเรยี นออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยสี ่อื สงั คม (Social Media) สาระการเรียนร้วู ิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้เร่อื งระบบนเิ วศ มปี ระเดน็ ทค่ี วรนามา อภปิ ราย ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สงั คม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 ท่ีตั้งไว้ คือ มีค่าประสิทธิภาพเฉลี่ยรวม เท่ากับ 87.33 /86.78 ผลการวิจัยในครั้งน้ีพบว่า บทเรียนออนไลน์ท่ีสร้างข้ึน ได้ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ของนักเรียนเป็นอย่างดี เนื่องจากนักเรียนไม่เคยเรียนจากบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) จึงทาให้มีความกระตือรือร้นในการเรียน และยังได้ฝึกปฏิบัติโดยทาแบบฝึกหั ดใน บทเรียน และได้ผลป้อนกลับในทันที ทาให้นักเรียนเรียนด้วยความสนุก อยากเรียนซ้าอีก ท้ังนี้เพราะ นักเรยี นได้มีปฏิสัมพันธ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ บทเรียนออนไลน์ท่ีผูว้ ิจัยสรา้ งขึ้นมานั้น ไดก้ าหนดกิจกรรม การเรียนการสอนไว้อย่างชัดเจน อีกท้ังบทเรียนออมีการวัดผลประเมินผลเป็นระยะ ๆ ได้แก่ประเมินผล ก่อนเรียนเพ่ือทราบพ้ืนฐานของนักเรียน ประเมินผลระหว่างเรียน และประเมินผลหลังเรียนเพื่อทราบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทาใหม้ ีการปรับปรุงการเรียนการสอนอยู่ตลอดเวลา และช่วยให้ครผู ู้สอนได้ทราบ ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ว่าเป็นอย่างไร มีจุดบกพร่องตรงไหนเพื่อที่จะนาไปปรับปรุงแก้ไข บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้ดีข้ึน ดังคากล่าวของ สุภพงษ์ วงศ์สมิตกุล (2553 : บทคัดย่อ) ได้ทา การวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (online) โดยใช้เทคโนโลยสี ื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานพ้ืนฐานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการเพาะเห็ดหอม สาหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นปากชอ่ ง จังหวัดนครราชสมี า ผลการวจิ ัยพบวา่ บทเรียนออนไลน์(online) โดยใช้เทคโนโลยสี ่ือ สังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพ้ืนฐานอาชีพและเทคโนโลยี เรอ่ื งการเพาะเห็ดหอม ที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด 85/85 นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่องการเพาะเห็ดหอม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 และความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (online) โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชพี และเทคโนโลยี เรื่องการเพาะเห็ดหอม มีความคิดเห็น เฉล่ยี รวมอยู่ในระดบั เห็นดว้ ยอยา่ งยิง่ 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยีส่ือสงั คม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ ก่อน เรียนได้ค่าเฉล่ียรวมเท่ากับร้อยละ 6.33 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนได้ค่าเฉล่ียรวมเท่ากับ 17.20 นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่มขึ้นเฉล่ียเท่ากับ 10.57 เม่ือทดสอบความแตกต่างของ คะแนนเฉลี่ยรวม พบว่าค่า t ท่ีคานวณได้เท่ากับ 33.35 เม่ือเปรียบเทียบกับค่า t ที่คานวณได้ในตาราง หลักพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 แสดงว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรียน แสดงวา่ นักเรียนมีความก้าวหนา้ ทางการเรียน และมีผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรียนเพ่ิมขึ้น แสดงให้เห็นว่า บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) สาระการ
38 เรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ ท่ีผู้วิจัยาสร้างข้ึนมานั้นสามารถ พัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนได้ดีขึ้น เพราะว่าบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ ได้รับ การตรวจสอบจาก ผเู้ ชย่ี วชาญ และผา่ นการทดลองใช้มาแล้ว 3. ผลการศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยี ส่ือสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบ นิเวศ อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างย่ิงทุกเรื่อง มีค่าเฉล่ียรวมเท่ากับ 4.85 แสดงว่านักเรียนเห็นด้วยอย่างยิ่ง และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.1 แสดงว่านักเรียนมีความคิดเห็นคล้อยตามกัน แสดงให้เห็นว่า นักเรียนที่เรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้เร่ืองระบบนิเวศ เห็นด้วยอย่างยิ่งต่อการเรียนในครั้งน้ี ซึ่ง ตรงกับงานวิจัยของ ปรัชญนันท์ นิลสุข (2550) ทาการพัฒนามัลติเว็บบล็อกเพ่ือการจัดการเรียนรู้ สาหรับสถาบันอุดมศึกษาเป็นการวิจัยและพัฒนามัลติเว็บบล็อกในการจัดการเรียนรู้ โดยศกึ ษาพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ เจตคติและความพึงพอใจในการจัดการความรู้ด้วยมัลติเว็บบล็อกของอาจารย์และ เจ้าหน้าท่ี พบว่าเจตคติและความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยมัลติเว็บบล็อกอยู่ในระดับมาก และ งานวิจัยของสุภพงษ์ วงศ์สมิตกุล (2553) ได้ทาการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดย ใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กล่มุ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการเพาะ เห็ดหอม สาหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการเพาะเห็ดหอม มีความคิดเห็นเฉล่ีย รวมอยใู่ นระดบั เหน็ ด้วยอย่างย่ิง ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) กับ กลุ่มสาระ การเรยี นรอู้ น่ื ๆ เพอ่ื เป็นประโยชน์ต่อการเรยี นการสอนมากย่งิ ข้ึน 2. การสร้างบทเรียนออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยสี ่ือสังคม (Social Media) ควรจะนาเสนอใน รปู แบบของเกมสอดแทรกบา้ ง เพือ่ เปน็ การสร้างแรงจูงใจใหก้ ับนกั เรียน 3. ควรมกี ารจัดอบรมการสร้างนวตั กรรมบทเรยี นออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสอื่ สังคม (Social Media) ให้กบั ครทู กุ คนในโรงเรยี น เพ่ือจะได้พฒั นาการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพทุกกลมุ่ สาระ 4. ควรสง่ เสริมให้ครไู ด้นาเทคโนโลยีมาใช้ในกิจกรรมการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเน่ือง การนาผลการวจิ ยั ไปใช้ 1. การใช้บทเรยี นออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยีส่ือสังคม (Social Media) ครผู ้สู อน ควรชี้แจงให้ นกั เรยี นเข้าใจถึงวธิ ีการเรียนโดยใช้บทเรียนออนไลนโ์ ดยใช้เทคโนโลยสี อื่ สงั คม (Social Media) อยา่ งมี ประสิทธิภาพ 2. การดาวน์โหลดวีดีโอ ทาให้เร็วขึน้ จะนา่ สนใจยงิ่ ข้นึ
39 3. ควรมีการสรปุ ทบทวนเน้อื หาในกรอบตา่ ง ๆ ให้นกั เรียนไดศ้ ึกษาก่อนทาแบบทดสอบเพื่อให้ เกิดความเข้าใจและเรยี นรไู้ ด้ดียง่ิ ขึ้น 4. ควรมีการสารวจความตอ้ งการของนกั เรยี นดว้ ยว่าต้องการเรยี นในรปู แบบใด เพื่อนามา วิเคราะห์และพัฒนาใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของนักเรียน
40 บรรณานุกรม กติกา สายเสนีย.์ (2552). คู่มือการใช้งาน tweeter. (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ า : http://www.keng.com. 2 สิงหาคม 2555. กมลพรรณ เครือวลั ย.์ (2544). การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือขา่ ย อินเตอร์เน็ตในการสอนวชิ าการส่ือสารข้อมลู . วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาครุศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา ภาควชิ าครุศาสตร์ เทคโนโลยีบัณฑิตวิทยาลยั สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. กอบวิทย์ พิรยิ ะวัฒน์. (2553). Social media. (ออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า : http://www.teacherkobwit2010. wordpress.com. 2 สงิ หาคม 2555. กดิ านนั ท์ มลิทอง (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวตั กรรม. พิมพ์ครัง้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: อรณุ การพิมพ์. ใจทพิ ย์ ณ สงขลา.(2542). การสอนผ่านเครอื ขา่ ยเวลิ ด์ไวด์เว็บ. วารสารครุศาสตร.์ ปีที่ 27 ฉบับท่ี 3 (มนี าคม 2542): 18-28. ถนอมพร เลาหจรสั แสง (2544). การสอนบนเวบ็ (Web-Based Instruction) นวตั กรรมเพอ่ื คณุ ภาพการเรียนการสอน .วารสารศึกษาศาสตรส์ าร ปที ี่ 28 ฉบับที่ 1 มกราคม-มถิ ุนายน 2544 หนา้ 87-94 ธนาธร ทะนานทอง (2551). การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยเี วบ็ บลอ็ ก. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี. ธงชัย ทองอยู.่ (2543). การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ วิชาหลกั การเบื้องตน้ ของระบบรบั สง่ ใยแกว้ นาแสง. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้าบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. บญุ มี พันธไ์ุ ทย. (2542). การวิจัยในชั้นเรยี น. กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลยั รามคาแหง. บญุ เรือง เนียมหอม. (2540). การพัฒนาระบบการเรยี นการสอนทางอินเตอรเ์ นต็ ในระดบั อดุ มศึกษา. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ปรัชญนันท์ นลิ สขุ (2543) . นิยามเวบ็ ชว่ ยสอน Definition of Web-Based Instruction .วารสาร พัฒนาเทคนคิ ศึกษาสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปที ี่ 12 ฉบับท่ี 34 เม.ย. – มิ.ย. 2543 หน้า 53-56 พูลศรี เวศยอ์ ุฬาร. (2543). ผลการเรยี นผา่ นเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่4ี [ระบบออนไลน์] แหล่งท่มี า: http://www.thaicai.com/articles/wbi 3.html. [12 ตุลาคม 2546]. ล้วน สายยศ. (2538). เทคนิคการวจิ ยั ทางการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร. สรุ ิวยิ าสน์ . วราภรณ์ ผ่องสุวรรณ. (2547). การพฒั นาบทเรียนผา่ นเว็บเรอื่ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การบริหารกรณีศึกษานกั ศึกษารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิทยานิพนธ์
41 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาบัณฑิต วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ วิชุดา รตั นเพยี ร. (2542).การเรียนการสอนผ่านเว็บ:ทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาไทย. วารสารครุศาสตร.์ ปที ่ี 27 ฉบบั ที่ 3 (มีนาคม 2542): 29-35. เสกสรร สวยสสี ด. (2545). การใช้ประโยชนจ์ ากอินเตอรข์ องนักศกึ ษา อาจารย์และผบู้ รหิ าร สถาบันราชภฎั อดุ รธานี. กรุงเทพฯ: วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาโทจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ออมสิน ชา้ งทอง. (2546). การพฒั นาบทเรยี นบนเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตรายวชิ าเสริมสรา้ งคุณภาพ ชีวิตเรอ่ื ง ชวี ติ กับนนั ทนาการสาหรบั นสิ ติ ปรญิ ญาตรีมหาวิทยาลัยนเรศวร. วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษาบัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั นเรศวร. สภุ พงษ์ วงศ์สมติ กลุ (2553). รายงานวจิ ัยเรอ่ื งการพัฒนาบทเรยี นออนไลน(์ online)โดยใช้ เทคโนโลยสี ่อื สังคม(Social Media)กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรอ่ื งการเพาะเหด็ หอมสาหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นปากช่อง จงั หวัด นครราชสีมา. Arvanitis, Theodoros N. (1997). Web site structure: SIMQ tutorial (Issue 2). [On-Line]. Available : http://www.cogs.susx.ac.uk/users/theoa/simq/tutorial_issue2. Doherty, A.(19100). The Internet: Destined to Become a Passive Surfing Technology?. Educational Technology, 38 (5) (Sept-Oct 19100): 61-63. Driscoll, M. (1997) Defining Internet-Based and Web-BasedTraining.Performance Improvement. 36(4), April 1997: 5-9. Hall, B. (1997). FAQ for web-based training.Multimedia and Training Newsletter.[On- Line]. Available : http://www.brandon-hall.com/faq.html. Khan (Ed.), Web-based instruction (pp. 241-242). Englewood Cliffs, NJ: Educational Technologies Publications. Potter ,. D.J (19100). Evaluation Methods Used in Web-based Instruction and Online Course, Taming the Electronic Frontier. [On-Line]. Available: http://mason.gmu.edu/dpotter1/djp 611.html
42 ภาคผนวก
43 แบบประเมนิ บทเรยี นออนไลน์ สาระการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนนา้ ปลีกศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 29 สำหรับผู้เช่ียวชำญ คาชี้แจง 1. การประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว 32101) เร่ือง ระบบนิเวศ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 จัดทาโดยนางสาวภักดินนั ท์ สมรักษ์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรียนน้าปลีกศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 ใช้สาหรับการ ประเมินองค์ประกอบของบทเรียนออนไลน์ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของนวัตกรรมให้มีความ สมบูรณ์ชัดเจนย่งิ ขึ้นไป เพอ่ื นาไปพัฒนาการเรยี นการสอน 2. โปรดใสเ่ ครือ่ งหมาย / ลงในช่อง ความคดิ เห็น ที่ตรงกับความคิดเหน็ ของท่าน โดย กาหนดระดับคะแนนความคิดเหน็ ไว้ดงั น้ี 5 หมายถึง ดมี าก 4 หมายถึง ดี 3 หมายถงึ พอใช้ 2 หมายถึง ควรปรบั ปรุง 1 หมายถึง ไมเ่ หมาะสม
44 แบบประเมินบทเรียนออนไลน์โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ือ่ สังคม (Social Media) สาระการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอื่ งระบบนเิ วศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จัดทาโดยนางสาวภักดนิ นั ท์ สมรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนน้าปลกี ศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 29 ระดบั ความคดิ เห็น รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควร ไม่เหมาะ ปรบั ปรงุ สม 54 3 2 1 1. ดา้ นเนอ้ื หาและการนาเสนอ 1.1 การจดั ลาดับข้นั นาเสนอเนือ้ หา ……... …... ……..... …………… …………… 1.2 ความถูกต้องของเน้ือหา ......... …... ........... ………...... …………… 1.3 เนื้อหาเหมาะสมกับระดับความรู้ของนักเรียน ......... ...... ........... ………...... …….......... 1.4 ความน่าสนใจของเนื้อหาบทเรียน ....... ...... ........... .............. ………….... 2. ดา้ นภาพ เสยี ง และการใชภ้ าษา 2.1 ความตรงตามเนอื้ หาของภาพทน่ี าเสนอ ……... …... ……..... …………… …………… 2.2 การเรา้ ความสนใจดว้ ยเสียงประกอบบทเรียน ......... …... ........... ………...... …………… 2.3 ความชัดเจนของเสยี งบรรยายประกอบบทเรียน ......... ...... ........... ………...... …….......... 2.4 ความถกู ต้องของไวยากรณใ์ นการให้คาอธิบาย ....... ...... ........... .............. ………….... 3. ดา้ นการออกแบบจอภาพ 3.1 แบบอกั ษรที่ใช้นาเสนอเน้ือหาอา่ นได้ชดั เจน ……... …... ……..... …………… …………… 3.2 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร ......... …... ........... ………...... …………… 3.3 ความเหมาะสมของการใช้สตี ัวอกั ษร ......... ...... ........... ………...... …….......... 3.4 ความชดั เจนของตัวอักษรบนพนื้ หลงั สีต่างๆ ....... ...... ........... .............. ………….... 3.5 ความเหมาะสมของการเลอื กใชส้ พี ืน้ จอภาพ 4. ด้านการจดั การในบทเรยี น 4.1 คาอธิบายการปฏิบตั ิในบทเรียนชดั เจน ……... …... ……..... …………… …………… 4.2 ความตอ่ เนอ่ื งในการนาเสนอเน้ือหา ......... …... ........... ………...... …………… 4.3 การเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นควบคุมบทเรยี น เช่น ......... ...... ........... ………...... …….......... การใช้แป้นพมิ พ์ เมาส์ ....... ...... ........... .............. ………….... 4.4 ความเหมาะสมของสือ่ กับการสรุปเนอื้ หาบทเรียน ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ ............................................................................................................................. ...................................... ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .........................................
45 ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................. ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................... .................. ลงชอ่ื ..................................................ผูป้ ระเมิน () ตาแหน่ง.......................................................................
46 แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียน หลังจากใช้บทเรยี นออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยสี อื่ สงั คม (Social Media) สาระการเรียนรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่อื งระบบนเิ วศ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ชอ่ื นกั เรียน ( ด.ช./ด.ญ/นาย/น.ส.)............................................................................................................... โรงเรยี น................................................................อาเภอ.................................จังหวดั .................... สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา........................................................................................................... คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นทาเครื่องหมาย / ลงในชอ่ งท่ีทา่ นเห็นว่าเหมาะสม ระดบั ความคิดเหน็ เห็นด้วยอยา่ งยง่ิ มคี ่าน้าหนกั 5 เห็นด้วย มีคา่ น้าหนัก 4 ไมแ่ นใ่ จ มคี ่านา้ หนัก 3 ไม่เหน็ ด้วย มคี า่ น้าหนัก 2 ไม่เหน็ ด้วยอย่างยิ่ง มคี า่ น้าหนัก 1 ระดบั ความคดิ เหน็ ขอ้ รายการ 5 4 3 2 1 1 นกั เรียนชอบเรยี นดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ 2 นักเรียนได้เสาะแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 3 นักเรยี นมีความสุขในการเรียน 4 นกั เรียนมโี อกาสไดต้ ัดสินใจด้วยตนเอง 5 นักเรียนมอี สิ ระในการเรยี นมากข้ึน 6 นกั เรยี นไดร้ ับความรเู้ หมือนเรียนกับครตู ัวจริง 7 เน้ือหาในบทเรยี นออนไลนเ์ ป็นลาดบั ขัน้ ตอนเขา้ ใจง่าย 8 ภาพ เสยี ง ภาษาในบทเรยี นออนไลนช์ ัดเจนเขา้ ใจงา่ ย 9 การออกแบบจอภาพชดั เจน ดูงา่ ย สบายตา 10 กิจกรรมในบทเรยี นออนไลน์เข้าใจงา่ ย สามารถปฏบิ ัติตามได้ ขอ้ คิดเหน็ เพิ่มเติม ...................................................................................................... ................................................................ ...................................................................................................................................................................... .................................................................................................. .................................................................... .................................................................................................... .................................................................. ................................................................................................... ................................................................... .................................................................................................... .................................................................. .
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: