แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 2 ความสัมพันธร์ ะหว่างส่งิ มีชีวิตในระบบนิเวศ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง ระบบนเิ วศ รหัสวิชา ว 23101 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวภกั ดนิ นั ท์ สมรกั ษ์ 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ม.3/2 อธิบายรูปแบบความสมั พันธ์ระหว่างสิง่ มีชีวติ กับสิ่งมีชีวติ รูปแบบต่าง ๆ ในแหลง่ ทีอ่ ยู่เดียวกนั ทีไ่ ด้จาก การสารวจ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (จากตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้) 1. อธิบายนิยามของกลุ่มส่ิงมชี ีวติ และประชากรได้ (K) 2. อธิบายรปู แบบความสัมพนั ธ์ส่งิ มชี ีวติ กบั สิง่ มีชีวติ รูปแบบต่าง ๆ ได้ (K) 3. จาแนกรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มีชีวติ กับสิ่งมีชีวติ ได้ (P) 4. ตระหนกั ถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ มีชีวติ กบั สิง่ มีชีวิตในระบบนิเวศ (A) 3. สาระสาคญั สิง่ มีชีวติ ในระบบนิเวศมอี ยู่หลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดต่างกม็ ีรูปแบบความสมั พันธ์ทีแ่ ตกต่างกัน ความสัมพันธ์ระหว่างส่งิ มีชีวิตในระบบนิเวศอาจทาให้ส่ิงมชี ีวติ บางชนิดได้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์หรอื ไม่ มีผลต่อการดารงชีวิตของส่ิงมชี ีวติ นั้นเลย 4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการสังเกต 2) ทกั ษะการสารวจค้นหา
3) ทักษะการตงั้ คาถาม 4) ทกั ษะการตงั้ สมมตฐิ าน 5) ทักษะการตรวจสอบสมมตฐิ าน 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 ความรู้ (Knowledge : K) - สิ่งมีชีวติ กับสิง่ มีชีวติ มคี วามสัมพนั ธ์กนั ในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ภาวะพึง่ พากนั ภาวะอิงอาศัย ภาวะเหยอ่ื กบั ผู้ล่า ภาวะปรสิต - สิง่ มีชีวติ ชนิดเดียวกันที่อาศยั อยู่ร่วมกันในแหล่งทีอ่ ยู่เดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกัน เรียกว่า ประชากร - กลุ่มสง่ิ มชี ีวติ ประกอบด้วยประชากรของส่งิ มีชีวติ หลาย ๆ ชนิด อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งทีอ่ ยู่เดียวกันได้ 5.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process : P) 1) ทกั ษะการสงั เกต 2) ทักษะการสารวจค้นหา 3) ทกั ษะการตง้ั คาถาม 4) ทักษะการตงั้ สมมตฐิ าน 5) ทักษะการตรวจสอบสมมตฐิ าน 5.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์(Attitude : A) 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทางาน 6. จดุ เนน้ สูก่ ารพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน(เลือกเฉพาะจดุ เน้นขอ้ ที่มใี นแผนการจดั การเรยี นรู้ สามารถ เพิ่มเติมจุดเน้น ตามนโยบายอืน่ ๆได้) 6.1 ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C Reading (อ่านออก) (W) Riting (เขียนได้) (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ทกั ษะด้านการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผนู้ า (Collaboration, Teamwork and Leadership)
ทกั ษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เท่าทนั สือ่ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ทักษะการเปลี่ยนแปลง (Change) 6.2 ทกั ษะด้านชีวติ และอาชีพ ของคนในศตวรรษท่ี 21 ความยดื หยุ่นและการปรบั ตัว การรเิ ริ่มสร้างสรรค์และเปน็ ตัวของตัวเอง ทกั ษะสงั คมและสังคมข้ามวฒั นธรรม การเปน็ ผู้สรา้ งหรอื ผผู้ ลิต (Productivity) และความรับผดิ ชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) 6.3 คุณลกั ษณะของคนในศตวรรษท่ี 21 คุณลักษณะด้านการทางาน ได้แก่ การปรับตวั ความเปน็ ผู้นา คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชนี้ าตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลกั ษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผอู้ ืน่ ความซื่อสัตย์ ความสานึกพลเมือง 7. การบูรณาการ(เลือกเฉพาะข้อทีส่ ามารถบรู ณาการในแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถเพิ่มเติมเร่อื งอื่นๆ ได้) โครงการสถานศกึ ษาพอเพียง โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม อาเซียนศกึ ษา คณุ ธรรม ค่านิยม 12 ประการ อนุรกั ษ์พลงั งานและสิ่งแวดล้อม อื่นๆ(ระบ)ุ ..................................................................................... 8. ชนิ้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน/ร่องรอยแสดงความรู)้ 1) ใบงานที่ 1.2 เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างสิง่ มีชีวติ 2) สมุดประจาตัวนักเรียน 9. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : 5Es Instructional Model ชว่ั โมงที่ 1 ขัน้ นำ
ขน้ั ท่ี 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเองก่อนเข้าสู่กิจกรรมการเรียนการสอน จากกรอบ Check for Understanding ในหนงั สือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.3 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ระบบนเิ วศ โดยบันทึกลงในสมดุ ประจาตวั นักเรียน 2. นักเรียนทากิจกรรม Engaging Activity โดยพิจารณาภาพรังต่อบนต้นไม้ และกาฝากบนต้นไม้ จาก หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบ นิเวศ จากนั้นครูตั้งประเด็นคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า “เพราะเหตุใดต้นไม้ท้ัง 2 ต้น จึงมี ลักษณะแตกต่างกนั ” (แนวตอบ : เพราะสิ่งที่มาอาศัยอยู่ในต้นไม้ภาพที่ 1 และภาพที่ 2 แตกต่างกันคือ ภาพที่ 1 ตัวต่อมาอาศัยและทารังอยู่บนต้นไม้ โดยตัวต่อไม่ได้ทาลายหรือสร้างความเสียหายให้กับต้นไม้ ต้นไม้ในภาพที่ 1 จึงมีความอุดมสมบูรณ์ปกติ แต่ในภาพที่ 2 กาฝากซึ่งเป็นปรสิตของพืชมาอาศัย อยู่กับต้นไม้ในภาพที่ 2 โดยกาฝากจะใช้รากแทงทะลุเข้าไปยังท่อลาเลียงน้าและธาตุอาหาร คอยแย่งน้าและอาหาร ทาให้ตน้ ไม้ในภาพที่ 2 ไม่เจริญเติบโตและตายในที่สดุ ) ขน้ั สอน ข้ันท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามคาถาม Key Question จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ เพื่อทบทวนความรู้เดิมของนกั เรียนว่า “เพราะเหตุใด เหาฉลามจงึ อยู่รว่ มกบั ปลาฉลามได้” (แนวตอบ : เหาฉลามไม่ได้สร้างความเดือดร้อนให้กบั ปลาฉลามและยงั ได้รบั เศษอาหารทีเ่ หลือจาก การกินของปลาฉลาม ในขณะที่ปลาฉลามก็ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์จึงสามารถอยู่รว่ มกนั ได้) 2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์ของกิจกรรม สารวจรูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน ให้นักเรียนทราบเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติ กิจกรรมทีถ่ ูกต้อง 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษากิจกรรม สารวจรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตภายใน โรงเรียน จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หน่วยการ เรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ โดยครูใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือมาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดย กาหนดให้สมาชิกแตล่ ะคนภายในกลุ่มมบี ทบาทหนา้ ทีข่ องตนเองและลงมอื ปฏิบัติกิจกรรม ดงั น้ี สมาชิกคนที่ 1-2 ทาหน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมสารวจรูปแบบ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ มีชีวติ ภายในโรงเรยี น
สมาชิกคนที่ 3 ทาหนา้ ที่อา่ นวิธีปฏิบตั ิกิจกรรม และนามาอธิบายให้สมาชิกในกลุ่มฟงั สมาชิกคนที่ 4 ทาหน้าที่ศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ภายในโรงเรียน สมาชิกคนที่ 5-6 ทาหน้าที่สารวจสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียนให้ได้มากที่สุด และบันทึกผลลงใน สมดุ ประจาตัวนักเรียน 4. เม่ือสมาชิกในกลุ่มทาหน้าที่ของตนเองแล้ว ให้สมาชิกคนที่ 4 อธิบายทฤษฎี หรือรูปแบบ ความสมั พนั ธ์ของสง่ิ มชี ีวติ ให้สมาชิกภายในกลุ่มเข้าใจ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันกาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐาน จากน้ันร่วมกันวิเคราะห์สิ่งมีชีวิตที่ได้ จากการสารวจ และระบรุ ปู แบบความสัมพันธ์ของสง่ิ มชี ีวติ 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าช้ันเรียน ในระหว่างที่นักเรียน นาเสนอ ครคู อยให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง (หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน) 7. ครูถามคาถามท้ายกิจกรรม โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อหา คาตอบ ดงั น้ี ในบริเวณทีส่ ารวจ สิ่งมีชีวติ คู่ใดบ้างทีม่ คี วามสมั พนั ธ์กนั (แนวตอบ : ข้ึนอยู่กบั ผลกิจกรรม ตัวอย่างคาตอบเช่น พืชกบั มนุษย์) สิ่งมีชีวติ ชนิดใดได้ประโยชน์หรอื เสียประโยชน์ หรอื ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์จากการอยู่รว่ มกนั (แนวตอบ : ขึ้นอยู่กับผลกิจกรรม ตัวอย่างคาตอบเช่น ดอกไม้กับผีเสื้อ นกทารังบนต้นไม้ แมว กับหน)ู 8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลการปฏิบัติกิจกรรม สารวจรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน เพื่อให้ได้ข้อสรุปร่วมกันว่า “สิ่งมีชีวิตไม่สามารถอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้ จาเป็นต้องมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่นเพื่อประโยชน์ในการดารงชีวิต ซึ่งความสัมพันธ์ของ ระหว่างสง่ิ มหี ลายรูปแบบ” ชว่ั โมงที่ 2-3 9. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน และส่งตัวแทนกลุ่มออกมาจับสลากหมายเลข 1-4 โดยแต่ละหมายเลขมีขอ้ ความลักษณะความสัมพนั ธ์ของส่งิ มีชีวติ ดงั น้ี หมายเลข 1 สิ่งมีชีวติ ต้องดารงชีวติ อยู่ด้วยกันตลอดเวลา ไม่สามารถแยกจากกนั ได้ หมายเลข 2 สิ่งมีชีวิตดารงชีวิตอยู่ได้อย่างอิสระ ถ้ามาอยู่ร่วมกันต่างฝ่ายจะให้ประโยชน์ซึ่งกัน และกนั หมายเลข 3 สิ่งมีชีวิตต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นเพื่อการดารงชีวิต โดยสิ่งมีชีวิตที่มาอาศัยจะ ก่อใหเ้ กิดโรค หมายเลข 4 สิ่งมีชีวติ ดารงชีวติ อยู่ได้ด้วยการล่าสิง่ มีชีวติ อ่นื เป็นอาหาร
10. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกีย่ วกบั รูปแบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่กลุ่มตนเองจบั สลากได้ จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ หรือแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุด พร้อมยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิต ทีม่ รี ปู แบบความสมั พนั ธ์นน้ั มาอย่างนอ้ ย 5 คู่ 11. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเร่ืองที่ได้ศึกษา จากน้ันส่งตัวแทนกลุ่มออกมาเสนอข้อมูล หนา้ ช้ันเรยี น จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรทู้ ี่ได้ลงในสมุดประจาตวั นักเรียน (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มและรายบุคคล) 12. นักเรียนแบ่งกลุ่มเดิมทากิจกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ โดยครูใช้รูปแบบ การเรียนรู้แบบร่วมมือมาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยกาหนดให้สมาชิกแต่ละคนภายในกลุ่ม มีบทบาทหนา้ ทีข่ องตนเอง ดงั น้ี สมาชิกคนที่ 1-2 ทาหน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชวี ิต สมาชิกคนที่ 3-4 ทาหนา้ ทีอ่ า่ นวิธีปฏิบัติกิจกรรม และนามาอธิบายให้สมาชิกในกลุ่มฟงั สมาชิกคนที่ 5-6 ทาหนา้ ที่บนั ทึกผลการปฏิบตั ิกิจกรรมลงในสมุดประจาตวั นักเรียน 13. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันกาหนดปัญหาและต้ังสมมติฐาน จากนั้นร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมตาม ขั้นตอน จากหนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain) 14. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และวิเคราะห์ผลการปฏิบัติกิจกรรม แล้วอภิปราย ผลรว่ มกัน 15. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรียน ในระหว่างที่นักเรียนนาเสนอ ครคู อยให้ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน) 16. ครูถามคาถามท้ายกิจกรรม โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อหา คาตอบ ดงั น้ี เมื่อเวลาผ่านไปค่า pH ทีว่ ัดได้จากชุดทดลองทั้ง 4 ชดุ เป็นอย่างไร (แนวตอบ : ค่า pH ของชุดการทดลองที่ 1 และ 3 มีค่าตา่ ลง ส่วนค่า pH ของชุดการทดลองที่ 2 และ 4 มีค่าเท่าเดิมหรอื ไม่ลดลงไปจากเดิม) ความสมั พนั ธ์ระหว่างปลากับสาหร่ายเป็นความสมั พันธ์รูปแบบใด (แนวตอบ : ภาวะพึง่ พากนั ) 17.นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลการปฏิบัติกิจกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต เพื่อให้ได้ ข้อสรปุ ร่วมกนั ว่า “ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่งิ มีชีวิต และความสมั พันธ์ระหว่างส่งิ มีชีวิตกบั สิ่งแวดล้อม
ล้วนมีความสัมพันธ์กัน จากการทดลองปลาต้องอาศัยน้าและสาหร่ายในการดารงชีวิต รูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่างปลากับสาหร่ายจงึ ต้องเปน็ แบบภาวะพึ่งพากนั แตใ่ นธรรมชาติปลาต้องอาศัย อยู่ร่วมกับสิ่งมีชีวิตอื่นมากมาย ไม่เพียงแค่สาหร่าย ดังนั้น รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างปลากับ สาหร่ายจึงเป็นแบบภาวะการได้ประโยชนร์ ่วมกัน” 18. ครูเตรียมสลากชื่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ได้แก่ รา นกเอี้ยง เหาฉลาม ฉลาม กาฝาก ควาย ต้นไม้ มนุษย์ สาหร่าย และนก จากน้ันให้นักเรียนแต่ละคนจับสลากชื่อสิ่งมีชีวิต ซึ่งนักเรียนที่จับสลากได้ ชือ่ ส่งิ มชี ีวติ เดียวกันให้มารวมกลุ่มกัน 19. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับประชากร และกลุ่มส่งิ มชี ีวติ ว่า “นักเรียนแต่ละคนทีถ่ ือ สลากชื่อสิ่งมีชีวิตล้วนเป็นสิ่งมีชีวิต ในความเป็นจริงสิ่งมีชีวิตไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ในระบบนิเวศได้ โดยลาพัง เม่ือนักเรียนที่จับสลากได้ชื่อสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมารวมกลุ่มกันในแหล่งที่อยู่เดียวกัน และเวลาเดียวกัน เรียกว่า ประชากร (population) ดังนั้น ในห้องเรียนนี้จึงประกอบด้วย ประชากร ของสง่ิ มชี ีวติ หลายชนดิ มาอยู่รวมกัน เรียกว่า กลุ่มส่งิ มชี ีวติ (community)” 20. ให้นักเรียนแต่ละคนทีถ่ ือสลากช่ือสิ่งมีชีวิตเลือกจับคู่กับเพื่อนที่ถือสลากชื่อสิ่งมีชีวิตอีกคนหนึ่ง แล้ว ระบุความสัมพันธ์ของส่ิงมชี ีวติ 21. ครสู ุ่มนักเรียน 5-10 คู่ ระบุและอธิบายความสมั พนั ธ์ของส่งิ มชี ีวติ 22. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า “ความสัมพันธ์ของสิ่งชีวิตที่นอกเหนือจากภาวะอิงอาศัย ภาวะพึ่งพากัน ภาวะปรสิต และการล่าเหยื่อ เช่น ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งสิ่งมีชีวิต ทั้งสองฝ่าย สามารถแยกกันอยู่ได้ รวมท้ังภาวะการแก่งแย่งแข่งขันกัน เป็นความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิต ทั้งสองฝ่ายต่างเสียประโยชน์ท้ังคู่ เนื่องจากมีการแก่งแย่งแข่งขันกันระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน และต่างชนิดกัน” 23. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเน้ือหาเกี่ยวกับ เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ และให้ความรู้เพิ่มเติม โดยครูอาจใช้ PowerPoint เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน ระบบนเิ วศ 24. ให้นักเรียนทา Topic Questions เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียน 25. ให้นักเรียนแต่ละคนทาแบบฝึกหัด เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ จาก แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ระบบนิเวศ เป็น การบ้านส่งในชว่ั โมงถัดไป ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 26. ครูกาหนดปัญหาเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันที่มักแพร่ระบาดในช่วงฤดูฝน โดยให้นักเรียน ออกแบบสิ่งมีชีวิตในบ่อน้าเพื่อแก้ปัญหา บ่อน้าขังกลางแจ้งที่ถูกปล่อยทิ้งร้างลงในใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง ความสัมพันธ์ระหวา่ งสิง่ มีชีวติ พร้อมอธิบายรปู แบบความสมั พนั ธ์ของสง่ิ มชี ีวติ
ขัน้ สรปุ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ซึ่งควรได้ข้อสรุป ร่วมกันว่า “ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศล้วนมีความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตทั้งทางตรงและ ทางออ้ ม ซึ่งสิง่ มีชีวติ ในระบบนิเวศมีอยู่หลายชนิดแต่ละชนิดต่างมีรูปแบบความสมั พนั ธ์ที่แตกต่างกัน เชน่ ภาวะ อิงอาศัย ภาวะพึ่งพากัน ภาวะปรสิต ภาวะการล่าเหยื่อ ภาวะการแก่งแย่งแข่งขัน และภาวะการได้ประโยชน์ ร่วมกนั ” ขน้ั ประเมนิ ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนก่อนเข้าสู่กิจกรรมการเรียนการสอน จากกรอบ Check for Understanding ในสมุดประจาตวั นักเรียน 2. ครูตรวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม สารวจรูปแบบความสมั พันธ์ระหว่างส่งิ มชี ีวติ ภายในโรงเรียน 3. ครตู รวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่งิ มชี ีวติ 4. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานที่ 1.2 เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ มชี ีวติ 5. ครูตรวจ Topic Questions เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ในสมุดประจาตัว นักเรียน 6. ครูตรวจแบบฝึกหัด เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ จากแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ 7. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชั้นเรยี น 10. สอ่ื การสอน 1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ 2) ใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมชี ีวิต 3) วัสดอุ ุปกรณ์ที่ใชใ้ นการปฏิบัติกิจกรรม สารวจรปู แบบความสมั พนั ธ์ระหว่างส่งิ มีชีวิตภายใน โรงเรียน 4) วัสดุอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการปฏิบตั ิกิจกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวติ 5) PowerPoint เรื่อง ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่งิ มีชีวติ ในระบบนิเวศ 6) สลากช่อื สิ่งมชี ีวิตชนิดต่าง ๆ 7)สมดุ ประจาตัวนกั เรียน
11. แหลง่ เรียนรใู้ นหรอื นอกสถานที่ 1) หอ้ งเรียน 2) บริเวณโรงเรยี น 12. การวัดและประเมนิ ผล (ใส่ตามความเหมาะสม) รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ การประเมิน 12.1 ประเมินระหว่างการจัด - ร้อยละ 60 กิจกรรมการเรยี นรู้ ผา่ นเกณฑ์ 1) ความสัมพันธ์ระหว่าง - ตรวจใบงานที่ - ใบงานที่ 1.2 - ร้อยละ 60 - สมดุ ประจาตัว ผา่ นเกณฑ์ สิ่งมีชีวติ ในระบบนิเวศ 1.2 - ตรวจสมดุ ประจาตัว 2 ) ผ ล บั น ทึ ก ก า ร ป ฏิ บั ติ - ตรวจสมุด - สมดุ ประจาตวั - ร้อยละ 60 กิจกรรมสารวจรูปแบบ ประจาตัว ผา่ นเกณฑ์ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง สิ่งมีชีวติ ภายในโรงเรียน 3 ) ผ ล บั น ทึ ก ก า ร ป ฏิ บั ติ - ตรวจสมุด - สมุดประจาตัว - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ กิ จ ก ร ร ม ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ประจาตัว - แบบประเมินการ นาเสนอผลงาน - ระดับคุณภาพ 2 ระหว่างส่งิ มชี ีวติ ผ่านเกณฑ์ - แบบสังเกต 4) การนาเสนอผลงาน/ผล - ประเมินการ พฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 การทางาน ผา่ นเกณฑ์ การปฏิบัติกิจกรรม นาเสนอ รายบคุ คล - แบบสังเกต - ระดับคณุ ภาพ 2 ผลงาน/ผลการ พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ การทางานกลุ่ม ปฏิบตั ิกิจกรรม 5 ) พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ทา งาน - สังเกต รายบคุ คล พฤติกรรม การทางาน รายบุคคล 6) พฤติกรรมการทางานกลุ่ม - สงั เกต พฤติกรรม การทางานกลุ่ม
รายการวดั วิธีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ การประเมิน 7) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกตความมี - แบบประเมิน - ระดบั คณุ ภาพ 2 วินัย คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ รบั ผิดชอบ ใฝ่ อนั พึงประสงค์ เรียนรู้ และ มุ่งมัน่ ในการ ทางาน 13. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................
14. บันทึกผลหลังการสอน 14. 1. ผลการจดั การเรียนการสอน 1. นักเรียนจานวน .....................................คน ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์ ................................คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................................................. ได้แก่ 1. ............................................................................................................................ 2. ............................................................................................................................ นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นกั เรียนพิการได้แก่ 1. ............................................................................................................................ 2. ............................................................................................................................ 2. นักเรียนมคี วามรู้ความเข้าใจ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 3. นักเรียนมคี วามรู้เกิดทกั ษะ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 4. นักเรียนเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คุณธรรมจริยธรรม ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 14.2 ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 14.3 เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ลงชื่อ....................................................... ( ..................................................) ตาแหนง่ คร.ู ..................
ความเหน็ ของหวั หน้าสถานศกึ ษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรียนรขู้ อง ......................................................แล้วมคี วามคิดเห็นดงั น้ี 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยงั ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถกู ต้อง ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 2. ความสอดคล้องของแผนการจดั การเรียนรู้กบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. รูปแบบของการจัดการเรียนรู้ เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ยงั เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 4. สอ่ื การเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 5. การประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลมุ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ยังไม่ครอบคลมุ ประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 6. ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ลงชือ่ ................................................................ (นายสเุ มธ หน่อแก้ว.) ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียนน้าปลีกศึกษา
ใบงำนท่ี 1.2 เร่ือง ควำมสมั พนั ธร์ ะหว่ำงสิ่งมชี ีวติ คำช้แี จง : ออกแบบและวาดภาพส่งิ มชี วี ิตในบ่อน้ากลางแจง้ ท่ีมลี ูกนา้ เป็นจ้านวนมาก และอธิบายรปู แบบ ความสัมพันธข์ องสง่ิ มชี ีวติ คสู่ ง่ิ มีชีวติ รูปแบบควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งส่ิงมชี ีวิต
ใบงำนที่ 1.2 เฉลย เรอ่ื ง ควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งสงิ่ มีชีวติ คำชี้แจง : ออกแบบและวาดภาพส่งิ มีชีวิตในบอ่ นา้ กลางแจ้งทีม่ ีลกู น้าเป็นจ้านวนมาก และอธิบายรปู แบบ ความสัมพนั ธ์ของสง่ิ มชี ีวิต (ขนึ อยู่กบั ดลุ ยพนิ จิ ของผู้สอน โดยพิจารณาจากความถกู ตอ้ งและเหมาะสมของข้อมลู ) ค่สู ่ิงมีชีวิต รูปแบบควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งสิ่งมชี วี ติ
สลำกช่ือสงิ่ มีชีวติ ชนดิ ตำ่ ง ๆ นกเอีย้ ง เหำฉลำม กำฝำก รำ ฉลำม ควำย ต้นไม้ มนุษย์ สำหรำ่ ย นก
แบบประเมินผลงำนแผนผังมโนทศั น์ คำช้ีแจง : ให้ผูส้ อนประเมินผลงาน/ชนิ งานของนักเรยี นตามรายการท่ีกา้ หนด แลว้ ขดี ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ระดับ คะแนน ลำดบั ท่ี รำยกำรประเมนิ ระดบั คณุ ภำพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ท่กี ้าหนด 2 ความถูกตอ้ งของเนือหา 3 ความคดิ สร้างสรรค์ 4 ความเปน็ ระเบียบ รวม ลงชือ่ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ............../................./................ เกณฑ์ประเมินแผนผงั มโนทศั น์ ประเดน็ ทปี่ ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. ผลงำนตรงกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง จดุ ประสงคท์ กี่ ำหนด จดุ ประสงค์ทุกประเดน็ จดุ ประสงคเ์ ป็นส่วนใหญ่ จดุ ประสงคบ์ างประเด็น กับจุดประสงค์ 2. ผลงำนมคี วำม เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน ถูกตอ้ งของเนอื้ หำ ถกู ตอ้ งครบถว้ น ถกู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งเปน็ บางประเดน็ ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ 3. ผลงำนมคี วำมคดิ ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด สรำ้ งสรรค์ ค วา ม คิ ด ส ร้ า งส ร ร ค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก ใหม่ แ ป ล ก ใ ห ม่ แ ล ะ เ ป็ น ใหม่ ระบบ 4. ผลงำนมคี วำมเป็น ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น ระเบยี บ ระเบียบแสดงออกถึง เ ป็ นร ะ เ บี ย บแ ต่ยังมี ระเบยี บแต่มีขอ้ บกพร่อง ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ มี ข้ อ ความประณีต ขอ้ บกพรอ่ งเล็กน้อย บางส่วน บกพร่องมาก เกณฑก์ ำรตัดสนิ คุณภำพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ 14-16 ดีมำก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ำกว่ำ 7 ปรับปรุง
แบบประเมินกำรปฏิบัติกจิ กรรม คำชี้แจง : ให้ผสู้ อนประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรยี นตามรายการที่ก้าหนด แลว้ ขีด ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ รำยกำรประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 1 การปฏิบัติการท้ากิจกรรม 2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏบิ ัติกจิ กรรม 3 การบนั ทกึ สรปุ และนา้ เสนอผลการท้ากิจกรรม รวม ลงชอื่ ................................................... ผู้ประเมิน ................./................../.................. เกณฑก์ ำรประเมนิ กำรปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ประเด็นท่ีประเมนิ ระดับคะแนน 1. กำรปฏบิ ตั ิ 432 1 กจิ กรรม ทา้ กิจกรรมตามขันตอน ทา้ กจิ กรรมตามขันตอน ต้องใหค้ วามช่วยเหลือ ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลือ อย่างมากในการท้า และใช้อุปกรณไ์ ด้อย่าง และใชอ้ ุปกรณไ์ ดอ้ ยา่ ง บา้ งในการท้ากิจกรรม กจิ กรรม และการใช้ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง แตอ่ าจต้องได้รับ และการใชอ้ ุปกรณ์ อุปกรณ์ คา้ แนะน้าบา้ ง 2. ควำม มคี วามคลอ่ งแคลว่ มคี วามคลอ่ งแคล่ว ขาดความคลอ่ งแคล่ว ทา้ กิจกรรมเสรจ็ ไม่ คล่องแคลว่ ในขณะทา้ กจิ กรรมแต่ ในขณะท้ากจิ กรรมจึงท้า ทนั เวลา และทา้ อปุ กรณ์ ในขณะปฏิบัติ ในขณะทา้ กจิ กรรมโดย ตอ้ งไดร้ บั คา้ แนะนา้ บ้าง กจิ กรรมเสรจ็ ไมท่ นั เวลา เสียหาย กิจกรรม และทา้ กจิ กรรมเสรจ็ ไม่ตอ้ งไดร้ บั คา้ ชีแนะ ทันเวลา ต้องใหค้ า้ แนะน้าในการ ต้องใหค้ วามช่วยเหลือ 3. กำรบันทกึ สรปุ บนั ทึก สรปุ และ อย่างมากในการบันทกึ และนำเสนอผล และท้ากิจกรรมเสรจ็ บันทึกและสรุปผลการทา้ น้าเสนอผลการทา้ สรปุ และนา้ เสนอผลการ กำรปฏิบตั ิ กิจกรรมได้ถกู ต้อง แต่ กจิ กรรม ท้ากจิ กรรม กิจกรรม ทนั เวลา การน้าเสนอผลการทา้ กิจกรรมยังไม่เปน็ บันทกึ และสรุปผลการทา้ ขนั ตอน กจิ กรรมได้ถูกต้อง รดั กุม นา้ เสนอผลการทา้ กจิ กรรมเปน็ ขนั ตอน ชัดเจน เกณฑ์กำรตดั สนิ คุณภำพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภำพ 10-12 ดมี ำก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 0-3 ปรับปรุง
แบบประเมนิ กำรนำเสนอผลงำน คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน ลำดบั ท่ี รำยกำรประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเนอื หา 2 ความคิดสร้างสรรค์ 3 วธิ กี ารนา้ เสนอผลงาน 4 การนา้ ไปใชป้ ระโยชน์ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./................... เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑก์ ำรตัดสนิ คณุ ภำพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภำพ 14–15 ดมี ำก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่า้ กว่า 8 ปรบั ปรุง
แบบสังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบุคคล คำชี้แจง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รำยกำรประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน 3 การทา้ งานตามหน้าท่ีทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 4 ความมีนา้ ใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผูป้ ระเมนิ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่า้ เสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครงั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์กำรตัดสินคณุ ภำพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภำพ 14–15 ดีมำก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต้า่ กวา่ 8 ปรับปรงุ
แบบสังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกลุ่ม คำชี้แจง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชื่อ–สกลุ กำรแสดง กำรยอมรบั กำรทำงำน ควำมมนี ำ้ ใจ กำรมี รวม ของนกั เรยี น ควำมคิดเห็น ฟังคนอนื่ ตำมทไ่ี ดร้ ับ ส่วนรว่ มใน 15 มอบหมำย กำรปรับปรงุ คะแนน ผลงำนกลุม่ 321321321321321 เกณฑก์ ำรให้คะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมิน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่้ เสมอ ............./.................../............... ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์กำรตดั สินคุณภำพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ 14–15 ดมี ำก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต้่ากวา่ 8 ปรับปรุง
แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน คุณลกั ษณะ รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงค์ด้ำน 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมทส่ี รา้ งความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ กยี่ วกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตามที่โรงเรียนจดั ขนึ 2. ซอื่ สัตย์ สุจริต 2.1 ให้ขอ้ มลู ทถี่ กู ต้องและเป็นจรงิ 2.2 ปฏบิ ัติในสิง่ ท่ีถกู ต้อง 3. มวี ินยั รับผิดชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับของครอบครัว มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจา้ วัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รู้จกั ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนา้ ไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รจู้ กั จัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เช่อื ฟังค้าสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แยง้ 4.4 ตงั ใจเรียน 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ยส์ ินและสิง่ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรู้คณุ คา่ 5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. มุ่งม่นั ในการท้างาน 6.1 มีความตังใจและพยายามในการท้างานที่ได้รบั มอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แทต้ อ่ อปุ สรรคเพอ่ื ให้งานส้าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจติ ส้านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จกั ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู ้างาน 8.2 รู้จกั การดูแลรักษาทรพั ย์สมบัติและสิ่งแวดลอ้ มของห้องเรยี นและโรงเรยี น ลงชอื่ .................................................. ผู้ประเมนิ ............/.................../................ เกณฑก์ ำรให้คะแนน เกณฑก์ ำรตดั สนิ คุณภำพ พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนและสมา้่ เสมอ พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตชิ ัดเจนและบ่อยครัง ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภำพ พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัตบิ างครัง ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน 51-60 ดีมำก 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ตำ่ กว่ำ 30 ปรับปรุง
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: