1 ใบความร้ทู ี่ 4.1 เรอื่ ง การสร้างและแสดงสทิ ธคิ์ วามเป็นเจ้าของ จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาท่ีกาหนดข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทาง ปฏิบตั ิ หรือควบคมุ การใช้ ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ ในทางปฏิบัติแลว้ การระบุว่าการกระทาสิ่งใดผิด จรยิ ธรรมน้ัน อาจกลา่ วไดไ้ ม่ชัดเจนมากนกั ท้ังน้ี ยอ่ มขน้ึ อยูก่ ับวฒั นธรรมของสังคมในแต่ละประเทศดว้ ย หาก ผู้ใช้ไม่ระมัดระวังหรือนาไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง ดังน้ัน ในการการใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกันในสังคม ในแต่ ละประเทศจึงได้มีการกาหนดระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึงกฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ เพ่ือให้เกิด จริยธรรม ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การกระทาที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทาที่ผิด จริยธรรม เช่น - การใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย หรือก่อให้เกิดความรา คาญ - การใชค้ อมพวิ เตอร์ในการขโมยข้อมลู - การเขา้ ถงึ ข้อมูลหรอื คอมพิวเตอรข์ องผู้อื่นโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต - การละเมิดลิขสิทธ์ิ โดยท่ัวไป เม่ือพิจารณาถึงจริยธรรมเก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะ กล่าวถึงใน 4 ประเด็น ทีร่ ู้จักกนั ในลกั ษณะตวั ย่อว่า PAPA ประกอบดว้ ย 1. ความเปน็ สว่ นตวั (Information Privacy) 2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) 3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property) 4. การเขา้ ถึงขอ้ มูล (Data Accessibility) ความเปน็ ส่วนตัว (Information Privacy) ความเปน็ ส่วนตัว (Information Privacy) ความเป็นส่วนตวั ของข้อมลู และ สารสนเทศ โดยทัว่ ไป หมายถึง สทิ ธทิ ่ีจะอยู่ตามลาพังและเป็นสิทธทิ เ่ี จ้าของสามารถท่จี ะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปดิ เผยใหก้ บั ผู้อ่นื สทิ ธินใี้ ช้ได้ครอบคลุมท้ังส่วนบคุ คล กลมุ่ บุคคล และองค์กรต่างๆ ปัจจุบนั มปี ระเด็นเกีย่ วกบั ความเป็นส่วนตวั ทีเ่ ป็นขอ้ หน้าสงั เกตดังนี้ 1. การเข้าไปดขู ้อความในจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์และการบนั ทกึ ขอ้ มลู ในเครอื่ งคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการบันทึก แลกเปล่ียนขอ้ มูลที่บุคคลเข้าไปใชบ้ รกิ ารเว็บไซต์และกลุม่ ข่าวสาร 2. การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้ คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตาม การทางานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงาน สูญเสยี ความเปน็ สว่ นตัว ซง่ึ การกระทาเชน่ น้ถี ือเปน็ การผิดจรยิ ธรรม 3. การใชข้ ้อมลู ของลูกค้าจากแหล่งตา่ งๆ เพ่ือผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด 4. การรวบรวมหมายเลขโทรศพั ท์ ท่ีอยู่อเี มล์ หมายเลขบัตรเครดิต และขอ้ มลู สว่ นตัวอ่ืนๆ เพ่ือ นาไปสรา้ งฐานข้อมลู ประวัติลูกค้าข้ึนมาใหม่ แล้วนาไปขายให้กับบรษิ ทั อน่ื
2 ดังน้ัน เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของ ข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้ อินเตอร์เน็ตที่มีการให้โปรโมช่ัน หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้ บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และ ท่ีอยู่อีเมล์ ก่อนจะเผยแพร่ข้อมูลทุก ครั้ง ต้องคานึงถึงข้อมูลท่ีมีความเป็นส่วนตัว ผลเสียจากการเผยแพร่ข้อมูล เหล่าน้ี อาจย้อนกลับมาสร้างความเดือนร้อนให้กับตนเองหรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง ได้ในอนาคต เช่น นักเรียนโพสต์รูปของตนเองและเพ่ือนไว้ในเว็บไซต์ เครือข่ายทางสังคม แต่เพ่ือนของนักเรียนอาจได้ผลกระทบจากรูปน้ันก็ เป็นได้ ตัวอย่างการกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม ในบางกรณีการไม่เปิดเผยข้อมูลอาจ เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้ เช่น ในการปรึกษาเกี่ยวกับแพทย์ เรื่องความผิดปกติทางเพศ หรือการเป็นโรคติดต่อ รา้ ยแรง หากตอ้ งเปิดเผยขอ้ มูลจริงเหลา่ น้ี การใชน้ ามแฝงแทนจะเปน็ วธิ กี ารทเี่ หมาะสมทส่ี ุดในการแลกเปล่ยี น ขอ้ มลู แต่กรณีเหลา่ นี้จะไม่สามารถทาได้ ในเว็บไซต์ท่ีกาหนดใหก้ รอกขอ้ มลู จริง เพอื่ สมัครใช้บรกิ าร ความถกู ต้อง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรยี กใช้ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่สาคัญประการ หน่ึง คือ ความน่าเช่ือถือของข้อมูล ทั้งน้ี ข้อมูลจะมีความนา่ เช่ือถือมากน้อยเพียงใดยอ่ มข้ึนอยูก่ บั ความถูกต้อง ในการบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมท่ีเก่ียวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่า ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีท่ีองค์กรให้ลูกค้ า ลงทะเบียนด้วยตนเอง หรือกรณีของข้อมูลท่ีเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ อีกประเด็น คือ จะทราบได้อย่างไรว่า ข้อผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนน้ันไม่ได้เกิดจากความจงใจ และผู้ใดจะเป็นผู้รับผิดชอบหากเกิดข้อผิดพลาดในการจัดทา ข้อมูลและสารสนเทศให้มีความถูกต้องและน่าเช่ือถือนั้น ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะ นาเข้าฐานข้อมูล รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากน้ีควรให้สิทธิแก่บุคคลในการ เข้าไป ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลของตนเองได้ เช่น ผู้สอนสามารถดูคะแนนของนักศึกษาในความ รับผดิ ชอบหรือทส่ี อน เพ่ือตรวจสอบว่าคะแนนทีป่ ้อนไมถ่ กู แก้ไขเปลย่ี นแปลง
3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property) สทิ ธคิ วามเปน็ เจา้ ของ หมายถงึ กรรมสทิ ธ์ใิ นการถือครองทรพั ย์สนิ ซ่ึง อาจเป็นทรัพยส์ ินทวั่ ไปท่ีจบั ต้องได้ เช่น รถยนต์ คอมพวิ เตอร์ หรืออาจเป็นทรัพยส์ ิน ทางปญั ญา (ความคิด) ทจ่ี บั ต้องไมไ่ ด้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่ สามารถถา่ ยทอดและบันทึกลงในสื่อตา่ งๆ ได้ เช่น สง่ิ พมิ พ์ เทป ซีดีรอม เปน็ ตน้ ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ ซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมีการจดลิขสิทธิ์ น่ันหมายความว่าท่านได้จ่ายค่าลิขสิทธ์ิในการ ใช้ซอฟต์แวร์นั้นสาหรับท่านเอง หลังจากท่ีท่านเปิดกล่อง หรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายความว่า ท่านได้ยอมรับ ขอ้ ตกลงเกีย่ วกบั ลิขสิทธใิ์ นการใช้สินค้านั้น ซึง่ ลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสนิ คา้ และบรษิ ัท บาง โปรแกรมจะอนุญาตให้ติดต้ังได้เพียงคร้ังเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืนๆ ถึงแม้ว่า คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ท่านเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะท่ีบางบริษัทอนุญาตให้ใช้โปรแกรม นั้นๆได้ หลายๆ เครอ่ื ง ตราบใดทีย่ งั เป็นบุคคลทมี่ ีสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ีซ่ ้ือมา การคัดลอกโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ใหก้ ับเพ่อื น เปน็ การกระทาท่จี ะต้องพจิ ารณาใหร้ อบคอบก่อน วา่ โปรแกรมทจ่ี ะทาการคัดลอกนนั้ เปน็ โปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ีท่ า่ นมีสทิ ธใิ์ นระดับใด เชน่ Copyright หรือ Software License ทา่ นซ้อื ซอฟต์แวรล์ ขิ สทิ ธิม์ า และมีสทิ ธใิ์ ช้ Shareware ซอฟตแ์ วร์ใหท้ ดลองใชไ้ ดก้ ่อนท่จี ะตดั สินใจซื้อ Freeware ซอฟต์แวร์ใชง้ านไดฟ้ รี คัดลอก และเผยแพร่ให้ผู้อ่นื ได้ การเขา้ ถงึ ข้อมูล (Data Accessibility) สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล เพื่อเป็นการ รักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูล ในการเก็บ ข้อมลู ในฐานะข้อมลู จะมีการกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใชแ้ ต่ละกลุ่ม โดยระบบจะอนุญาตให้ผู้ใช้คนหน่ึงเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่า จะให้ เข้าถึงข้อมูลใดได้บ้าง หรือไม่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลใดบ้าง ตัวอย่างเช่น พนักงานแหนกการเงินซ่ึงสามารถเข้าถึงข้อมูลเงินเดือน ไม่ควรได้สิทธิ์นาการ เข้าถึงข้อมูลประวิติส่วนตัวของพนักงานทั่วไปได้เป็นต้น ตัวอย่างการกาหนด สิทธ์ใิ นการเข้าถึงขอ้ มูลของผ้ใู ช้แต่ละกลุม่ ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือขา่ ยร่วมกันให้เป็นระเบียบ หาก ผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติ ตามระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่าง เคร่งครัดแล้ว การผิดจริยธรรมตามประเด็นท่ีกล่าวมาข้างต้นก็คงจะไม่ เกิดข้ึน หากการเข้าใช้ระบบเพ่ือเข้าถึงข้อมูลเป็นส่วนหน่ึงของเร่ืองสิทธิ์ใน การเข้าถงึ ข้อมูล ดังนั้นสทิ ธิ์ในการเข้าใชร้ ะบบก็จะอยู่ในเกณฑ์ข้อนี้ด้วย โดย ปกติแลว้ การเข้าถึงระบบใดๆ นั้น ผูใ้ ชจ้ ะต้องได้รบั อนุญาตจากผู้ดูแลระบบ ( system administrator ) ซึ่งมีหน้าท่ีคอยดูแล บารงุ รกั ษาระบบ ให้สามารถ ทางานได้เปน็ ปกติ
4 จะเหน็ ว่า ขอ้ มลู สารสนเทศ และความรู้เป็นส่ิงท่มี ปี ระโยชน์มี มูลค่าถึงแม้ว่าส่ิงต่างๆ เหล่านี้ จะไม่ได้รับการตีราคาออกมาเป็น จานวนเงิน แต่ผู้ที่มีข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ รวมถึงมีวิธี บรหิ ารงานภายในองคก์ ร และสามารถแขง่ ขนั กับโลกภายนอกไดเ้ ป็น อย่างดี ความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 พระราชบญั ญัติว่าด้วยการกระทา ความผดิ เกีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการเลือกใช้เครื่องมือท่ี เหมาะสม เป็นสิ่งที่ควรรู้ และเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝน ซ่ึงในปัจจุบันเครื่องมือทางด้านสารสนเทศเพื่อการเก็บ รวบรวม ประมวลผล รวมถึงแสดงข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ มีให้ใช้ได้อย่างหลากหลาย ควรเลือกใช้ให้ ถูกต้อง และมีจริยธรรม ควรพิจารณาได้ดีว่า การใช้เครอ่ื งมือข้อความ รูปภาพ ใดๆ ที่ได้มาควรปฏิบัติอย่างไร จงึ จะถกู กฎหมาย และจริยธรรม รวมทง้ั ไมส่ รา้ งความเดอื ดรอ้ น ราคาญให้แก่ผ้อู ่ืน จากการใชส้ ่งิ เหลา่ น้ัน
5 เกร็ดความรู้ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา แบง่ เปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ลิขสิทธ์ิ (copyright) หมายถึง สิทธิ์แต่เพียงเดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทาการ ใดๆเก่ียวกับงานที่ตนได้ทาขึ้น อันได้แก่ สิทธ์ิที่จะทาซ้า ดัดแปลง หรือนา ออกโฆษณา ไม่ว่าในรูปแบบลักษณะอย่างใดหรือวิธีใด รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อ่ืนนางานนั้นไปใช้ด้วย สาหรับ โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรอื ซอฟแวรถ์ ือเป็นงานทีเ่ ขา้ ข่ายที่มีลขิ สิทธิ์ เครือ่ งหมายการค้า (Trademark ) ใช้สัญลักษณ์สากล TM หรือ ® หมายถึงเคร่ืองหมายที่ให้หรือจะ ใ ช้ เ ป็ น เค ร่ื อ ง ห ม า ย เกี่ ย ว กั บ สิ น ค้ า เพ่ื อ แ ส ด ว่ า สิ น ค้ า ที่ ใ ช้ เคร่ืองหมายของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสินค้าท่ีใช้เคร่ืองหมายการค้าของบุคคลอ่ืน โดย สัญลกั ษณอ์ าจจะประกอบไปด้วย ชอื่ ขอ้ ความ วลี สัญลกั ษณ์ ภาพ งานออกแบบ สทิ ธบิ ัตร ( patent ) หมายถึง สิทธ์ิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธ์ิแต่เพียง ผู้เดียว ในการแสวงหาประโยชน์จากการประดิษฐ์หรือการออกแบบ ผลติ ภณั ฑท์ ่ีไดร้ ับสิทธบิ ตั รน้ัน เช่นการผลติ และจาหนา่ ย เปน็ ต้น สาหรับการละเมิดสิทธิ์ไม่ว่าจะเป็นการคัดลอก หรือผลิตซ้าเก่ียวกับทรัพย์สินทางปัญญาท้ัง 3 ประเภทน้ถี ือว่าเป็นการกระทาความผดิ กฎหมายตามพระราชบญั ญัติ ตัวอย่างการใชส้ ัญลกั ษณ์เพ่ือบอกข้อกาหนดของการใช้ส่ือ อนญุ าตให้ใช้ ดดั แปลง ทาสาเนา และเผยแพร่ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของผลงาน อนญุ าตให้ใช้ ดดั แปลง ทาสาเนา และเผยแพร่ โดยต้องอ้างถึงเจา้ ของผลงาน และถ้ามกี ารแกไ้ ข ต้นฉบบั ต้องอ้างถงึ สัญญาเดมิ อนุญาตใหใ้ ช้ ดัดแปลง ทาสาเนา และเผยแพร่ได้ โดยตอ้ งมีการอา้ งถึงเจา้ ของผลงานและห้ามใช้ ทางการค้า อนญุ าตใหใ้ ช้ ดัดแปลง ทาสาเนา และเผยแพร่ได้ โดยมีการอา้ งถึงเจา้ ของผลงานและหา้ มมกี าร แกไ้ ขตน้ ฉบบั
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: