วงดนตรี ประเภทและรูปแบบของวงดนตรีไทย ไทย วงดนตรีไทยมอี ยู่ดว้ ยกัน 3 ประเภท วงปี่พาทย์ วงเครอ่ื งสาย วงมโหรี
วงป่ีพาทย์ • วงดนตรีไทยประเภทหน่ึงซึ่งประกอบด้วยเคร่ืองเป่า คือ ป่ี ผสมกับเคร่ืองตี ได้แก่ระนาดและฆ้องวงชนิด ต่างๆ เป็นหลัก และยังมีเครื่องกากับจังหวะ เช่น ฉ่ิง ฉาบ กรับ โหม่ง ตะโพน กลองทัด กลองแขก และ กลองสองหน้า ป่ีพาทย์นี้บางสมัยเรียกว่า “พิณพาทย์\" วงปี่พาทย์อาจจาแนกประเภทแตกต่างกันไป มี ทัง้ สิน้ 8 วง ได้แก่ • วงปพ่ี าทย์เคร่อื งห้า วงปพ่ี าทย์เครือ่ งคู่ วงปพ่ี าทยเ์ ครือ่ งใหญ่ วงปีพ่ าทย์นางหงส์ วงปี่พาทยม์ อญ วงป่ีพาทย์ ชาตรี วงปี่พาทย์ดกึ ดาบรรพ์ วงป่ีพาทยเ์ สภา
วงป่ีพาทย์เครื่องห้า • วงปพ่ี าทย์เครือ่ งหา้ เป็นวงปี่พาทย์ที่เป็นวงหลกั มจี านวนเครื่องดนตรนี อ้ ยชน้ิ ท่สี ุด ดังนี้ ปี่ใน 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ฆอ้ งวงใหญ่ 1 วง กลองทดั 2 ลกู ตะโพน 1 ลกู ฉ่ิง 1 คู่ (ในบาง กรณอี าจใช้ฉาบ กรับ โหมง่ ด้วย)
วงปี่พาทย์เครื่องคู่ • วงปี่พาทยเ์ ครือ่ งคู่ เป็นวงปี่พาทย์ที่ประกอบด้วยเครื่องทาทานองเป็นคู่เน่ืองด้วยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระนงั่ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว ไดม้ ีผู้คิดเครือ่ งดนตรเี พิ่มข้ึนอีก 2 อย่าง คอื ระนาดทมุ้ กบั ฆ้องวงเลก็ และนาเอาปนี่ อกซึ่ง ใชใ้ นการบรรเลงปีพ่ าทย์สาหรบั การแสดงหนังใหญ่สมัยโบราณมารวมเข้ากับวงปี่พาทย์เคร่ืองห้าท่ีมีอยู่เดิมวงป่ี พาทย์เครอ่ื งคู่มเี ครอื่ งดนตรีดังน้ี ปี่ 1 คู่ คือ ปใี่ นและ ป่ีนอก ระนาด 1 คู่ คอื ระนาดเอกและระนาดทุ้ม ฆ้องวง 1คู่ คอื ฆอ้ งวงใหญ่และฆ้องวงเล็ก กลองทัด 1 คู่ ตะโพน 1 ลูก ฉิ่ง 1 คู่ ฉาบเล็ก 1 คู่ ฉาบใหญ่ 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ กลองสองหน้า 1 ลกู (บางทใี ชก้ ลองแขก 1 คู่ แทน) และในบางกรณี อาจใช้กรับดว้ ย
วงป่ีพาทย์เครื่องใหญ่ • วงป่ีพาทย์เคร่ืองใหญ่ เป็นวงปี่พาทย์เคร่ืองคู่ที่เพ่ิมระนาดเอกเหล็กกับระนาดทุ้มเหล็ก บางวงก็เพ่ิม กลองทัดรวมเป็น 3 ใบบ้าง 4 ใบบ้าง ส่วนฉาบใหญ่นามาใช้ในวงปี่พาทย์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วงป่ีพาทย์ท้ังเครื่องห้า เคร่ืองคู่ และเครื่องใหญ่ ถ้ามีการบรรเลงเพลงภาษาจะใช้ เครื่องดนตรกี ากบั จังหวะของภาษานนั้ ๆ ด้วย เชน่ ภาษาเขมร ใช้ โทน ภาษาจีน ใช้ กลองจีน กลองต๊อก แต๋ว ภาษาฝรั่ง ใช้ กลองมริกัน (อเมริกัน) หรือกลองแตร็ก ภาษาพม่าใช้ กลองยาว ภาษามอญ ใช้ ตะโพน เปิงมาง
วงปี่พาทย์นางหงส์ • วงป่ีพาทย์นางหงส์ เป็นวงปี่พาทย์ธรรมดาซึ่งใช้บรรเลงทั่วไป แต่เม่ือนามาใช้ประโคมในงานศพ จะนาวง บวั ลอยซึง่ ประกอบดว้ ยปชี่ วา 1 เลา กลองมลายู 1 คู่ และเหม่ง 1 ใบ ที่ใช้ประโคมในงานศพเข้ามาผสม (ดู ภาพวงบัวลอย ประกอบ) โดยตัดป่ีใน ตะโพน และกลองทัด ออก ใช้ปี่ชวาแทนป่ีใน ใช้กลองมลายูแทน ตะโพนและกลองทัด ส่วนเหม่งน้ันมีเสียง ไม่เหมาะกับวงป่ีพาทย์จึงไม่นามาใช้ ใช้แต่โหม่งซึ่งมีอยู่เดิม เรียกว่า \"วงปี่พาทย์นางหงส์\" วงปี่พาทย์นางหงส์ใช้บรรเลงเฉพาะในงานศพมาแต่โบราณก่อนวงปี่พาทย์ มอญ สาเหตุท่เี รียกวา่ ป่ีพาทยน์ างหงส์ กเ็ พราะใชเ้ พลงเรอ่ื งนางหงส์ สองชน้ั เป็นหลักสาคัญในการบรรเลง นอกจากนีย้ งั มวี ิวฒั นาการไปใชบ้ รรเลงเพลงภาษาต่างๆ เรยี กวา่ \"ออกภาษา\" ดว้ ย
วงป่ีพาทย์มอญ • วงป่ีพาทย์มอญ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่ได้อิทธิพลมาจากมอญ เช่น ฆ้องมอญ ปี่มอญ ตะโพนมอญ และเปิงมางคอก ปจั จบุ นั วงปพี่ าทย์มอญมี 3 ขนาด ไดแ้ ก่ วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า ประกอบด้วยป่ีมอญ ระนาดเอก ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ เปิงมางคอก และเคร่อื งกากบั จงั หวะ ไดแ้ ก่ ฉ่งิ ฉาบ โหมง่ วงป่ีพาทยม์ อญเครือ่ งคู่มลี กั ษณะเดยี วกับวงป่ีพาทย์มอญเคร่ืองห้าแต่ เพิม่ ระนาดทมุ้ และฆอ้ งมอญวงเล็ก วงปี่พาทย์มอญเครื่องใหญ่ มีลักษณะเดียวกับวงป่ีพาทย์ มอญเครอ่ื งคแู่ ตเ่ พ่ิมระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้มเหลก็
วงป่ีพาทย์ชาตรี • วงปีพ่ าทยช์ าตรี เป็นวงดนตรเี กา่ แกท่ ม่ี มี าแตโ่ บราณ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงโนราห์ชาตรีและหนัง ตะลงุ ทางภาคใตข้ องไทย เรยี กวา่ “วงป่ีพาทยช์ าตรี”และทเ่ี รยี กวา่ “วงปพี่ าทย์เครื่องเบา” เพราะ เรยี กชื่อให้ตรงกันข้ามกับ “ป่ีพาทย์เคร่ืองหนัก” (ป่ีพาทย์ไม้แข็ง) ทั้งน้ีเพราะเคร่ืองดนตรีในวงปี่พาทย์ ชาตรมี ีนา้ หนักเบากว่าเครือ่ งดนตรีในวงป่ีพาทย์ไม้แข็ง ป่ีพาทย์ชาตรีประกอบด้วยเครื่องดนตรีดังนี้ ป่ีนอก โทนชาตรี กลองชาตรี(กลองตุ๊ก) ฆอ้ งคู่ ฉ่ิง กรับ
วงป่ีพาทย์ดึกดาบรรพ์ • วงป่พี าทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นวงปี่พาทย์ประสมชนิดหนึ่ง มีต้นเค้าสืบเน่ืองมาจากละครดึกดาบรรพ์ ซึ่งเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ร่วมกันปรับปรุงขึ้นโดยอาศัยแนวอุปรากร (Opera)ของตะวันตกเขา้ มาประกอบละครนี้ไดช้ ื่อตามโรงละคร ซึง่ เจา้ พระยาเทเวศร์วงศ์ววิ ัฒน์ตัง้ ชอื่ ว่า “โรงละครดึกดาบรรพ์” ละคร ก็เรียกวา่ “ละครดกึ ดาบรรพ์” วงปีพ่ าทย์ท่ีบรรเลงในการเล่นละครครั้งน้ีจึงมีชื่อว่า “ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์”สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรานุวตั ติวงศ์ ไดท้ รงคัดเลอื กเครือ่ งดนตรที ่มี ีเสียงทมุ้ น่มุ นวลประสมเข้าดว้ ยกนั ให้เหมาะสมกับการแสดงละครดึก ดาบรรพ์ คอื ระนาดเอก(ใชไ้ ม้นวม) ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องหุ่ย 7 ใบ มีเสียงเรียงลาดับกัน 7 เสียง ขลุ่ยเพียงออ ตะโพน กลองตะโพน ฉง่ิ ซออู้ (เพมิ่ ขน้ึ ภายหลังเมือ่ แสดงเร่ืองสงั ข์ศิลป์ชัย ได้ทรงบรรจเุ พลงสังขาราซงึ่ ต้องใช้ซออู้สปี ระกอบ) ขลยุ่ อู้ (มี ผู้คิดเพิ่มในภายหลัง) วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์น้ีนอกจากจะเปล่ียนแปลงการประสมเครื่องดนตรีต่างไปจากวงปี่พาทย์เดิมแล้วยังได้ เปลี่ยนแปลงวิธีการตั้งเคร่ืองดนตรีอีกด้วยโดยตั้งระนาดเอกไว้กลาง ระนาดทุ้มอยู่ขวา ระนาดทุ้มเหล็กอยู่ซ้าย ฆ้องวงใหญ่อยู่หลัง ระนาดเอก ส่วนระเบียบวิธกี ารบรรเลงนน้ั กม็ ีแบบแผนเฉพาะตัว ไมเ่ หมอื นกบั การบรรเลงในการแสดงโขนละครโดยทว่ั ไป
วงป่ีพาทย์เสภา • วงป่พี าทยเ์ สภา มีรปู แบบเหมือนวงปพ่ี าทย์ไมแ้ ข็ง แตใ่ ชก้ ลองสองหน้ากากับจงั หวะหน้าทับ แทนตะโพนและกลองทัด เรม่ิ นามาบรรเลงร่วมกับการเลน่ เสภาในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระ พทุ ธเลศิ หล้านภาลัย
วงเครื่องสาย • วงดนตรีไทยประเภทหนงึ่ ซ่งึ เคร่ืองดนตรีส่วนใหญ่ในวงจะประกอบด้วยเคร่ืองดนตรีที่ใช้สายเป็นต้นกาเนิน ของเสียงดนตรี เชน่ ซอดว้ ง ซออู้ จะเข้ แม้วา่ เครอ่ื งดนตรที ีน่ ามาบรรเลงนั้นจะมวี ิธบี รรเลงแตกต่างกัน เช่น สี ดีด หรือตีก็จึงเรียกวงดนตรีประเภทน้ีว่า \"วงเคร่ืองสาย\" วงเครื่องสายอาจมีเครื่องดนตรีประเภทเคร่ือง เป่า เช่น ขลุ่ย หรือเคร่ืองกากบั จังหวะ เช่น ฉิ่ง กลองบรรเลงด้วยก็ถือว่าอยู่ในวงเครื่องสายเช่นกันเพราะมี เป็นจานวนนอ้ ยทน่ี าเข้ามารว่ มบรรเลงดว้ ยเพอื่ ชว่ ยเพิ่มรสในการบรรเลงด้วยเพ่ือช่วยเพ่ิมรสในการบรรเลง ให้นา่ ฟังมากย่ิงขึ้นวงเครือ่ งสายเกดิ ขึน้ ในสมัยอยธุ ยา ซ่ึงมเี ครอื่ งสี คือ ซอ เครอ่ื งดีด คอื จะเข้ และกระจบั ปี่ ผสมในวง ปัจจบุ ันวงเคร่อื งสายมที ง้ั ส้นิ 4 แบบ ไดแ้ ก่ วงเครื่องสายไทยเครอ่ื งเด่ียว วงเครอ่ื งสายไทยเคร่อื งคู่ วงเคร่ืองสายผสม วงเครอื่ งสายปี่ชวา
วงเครื่องสายไทยเครื่องเดี่ยว • วงเครอื่ งสายไทยเครอื่ งเด่ยี ว เปน็ วงเครื่องสายท่ีมีเครื่องดนตรีผสมเพียงอย่างละ 1 ชิ้น เรียกอีกอย่าง วา่ วงเคร่ืองสายไทยวงเลก็ เครือ่ งดนตรีทผี่ สมอยู่ในวงเคร่ืองสายไทยเคร่ืองเด่ียวนี้นับว่าเป็นส่ิง สาคัญและถือเป็นหลักของ วงเครื่องสายไทยท่ีจะขาดส่ิงหน่ึงส่ิงใดเสียมิได้ เพราะแต่ละสิ่งล้วนดาเนิน ทานองและมีหน้าท่ีต่างกัน เม่ือผสมเป็นวงข้ึน แล้วเสียงและหน้าที่ของเครื่องดนตรีแต่ละอย่างก็จะ ประสมประสานกันเปน็ อนั ดี เครื่องดนตรีทีผ่ สมอยใู่ นวงเครือ่ งสายไทยเครอ่ื งเด่ียวซง่ึ ถอื เป็นหลักคือ ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลยุ่ เพยี งออ โทนและรามะนา ฉิ่ง
วงเคร่ืองสายไทยเคร่ืองคู่ • วงเครือ่ งสายไทยเคร่ืองคู่ คาว่า เครือ่ งคู่ ย่อมมีความหมายชดั เจนแลว้ ว่าเป็นอย่างละ 2 ช้ิน แต่สาหรับ การผสม วงดนตรจี ะต้องพิจารณาใครค่ รวญถงึ เสยี งของเคร่ืองดนตรีท่ีจะผสมกันน้ันว่าจะบังเกิดความ ไพเราะ หรือไม่อกี ดว้ ย เพราะฉะนัน้ วงเครื่องสายไทยเครื่องคู่จึงเพิ่มเคร่ืองดนตรีในวงเคร่ืองสายไทยเครื่อง เดย่ี วขึน้ เป็น 2 ชิน้ แตเ่ พียงบางชนดิ คือ ซอดว้ ง 2 คนั ซออู้ 2 คนั จะเข้ 2 ตวั ขลุ่ยเพียงออ ขลยุ่ หลิบ โทน รามะนา ฉงิ่ และเคร่ืองประกอบจังหวะ
วงเครื่องสายผสม • วงเคร่อื งสายผสม เป็นวงเครื่องสายท่นี าเอาเครื่องดนตรีต่างชาติเข้ามาร่วมบรรเลงกับเคร่ืองสายไทย การ เรียกช่ือวงเคร่ืองสายผสมนั้นนิยมเรียกตามช่ือของเครื่องดนตรีต่างชาติที่นาเข้ามาร่วมบรรเลงในวง เช่น นาเอาขิมมาร่วมบรรเลงกับ ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ยและเคร่ืองกากับจังหวะต่างๆ แทนจะเข้ ก็เรียกว่า “วง เครื่องสายผสมขิม” หรือนาเอาออร์แกนหรือไวโอลินมาร่วมบรรเลงด้วยก็เรียกว่า “วงเคร่ืองสายผสม ออร์แกน” หรอื “วงเครอ่ื งสายผสมไวโอลนิ ” เครอื่ งดนตรตี า่ งชาตทิ ่ีนิยม นามาบรรเลงเป็นวงเครอื่ งสายผสม น้ันมมี ากมายหลายชนิด เชน่ ขิม ไวโอลนิ ออร์แกน เปยี โน แอกคอรเ์ ดยี น กเู่ จิง เป็นต้น
วงเครื่องสายป่ีชวา • วงเครอื่ งสายปี่ชวา เป็นวงเครื่องสายไทยท้ังวงบรรเลงประสมกับวงกลองแขก โดยไม่ใช้โทนและรามะนา และใช้ขลุ่ยหลีบแทนขลุ่ยเพียงออกเพื่อให้เสียงเข้ากับป่ีชวาได้ดี เดิมเรียกว่า วงกลองแขกเครื่องใหญ่ วง เคร่อื งสายป่ชี วาเกดิ ขึ้นในปลายรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวการบรรเลงเครื่องสายปี่ชวาน้ัน นักดนตรีจะตอ้ งมีไหวพริบและความเช่ียวชาญในการบรรเลงเป็นพิเศษ โดยเฉพาะฉิ่งกากับจังหวะจะต้องเป็น คนที่มีสมาธิดีที่สุดจึงจะบรรเลงได้อย่างไพเราะ เพลงที่วงเคร่ืองสาย ปี่ชวานิยมใช้บรรเลงเป็นเพลงโหมโรง ได้แก่ เพลงเร่ืองชมสมุทร เพลงโฉลก เพลงเกาะ เพลงระกา เพลงสะระหม่าแล้วออกเพลงแปลง เพลงออก ภาษา แลว้ กลับมาออกเพลงแปลงอีกคร้งั หนงึ่
วงมโหรี • วงมโหรี เปน็ วงดนตรีท่ีใชส้ าหรบั ขับกลอ่ มนิยมใชบ้ รรเลงในงานมงคล โดยเฉพาะงานมงคลสมรสแต่โบราณ ใช้บรรเลงกล่อมพระบรรทมสาหรับพระมหากษัตริย์ เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในวงน้ีประกอบด้วยเครื่อง ดนตรใี นวงป่ีพาทย์และวงเครอ่ื งสาย หากแตเ่ คร่ืองดนตรีในวงป่ีพาทย์ที่นาเข้ามาผสมในมโหรีนี้ได้ ลดขนาด ให้เลก็ ลง เพือ่ ใหม้ เี สียงพอเหมาะกบั เครือ่ งดนตรี ในวงเคร่ืองสาย และใชซ้ อสามสายเขา้ มาร่วมบรรเลง วงมโหรนี ี้มมี าแต่โบราณและไดม้ กี ารพัฒนาในเร่ืองการผสมวง แต่เดิมมีวงมโหรีเคร่ืองส่ี วงมโหรีเครื่อง หก ปัจจุบันวงมโหรีไดม้ ีพัฒนาและเพิม่ เครื่องดนตรเี ป็นวงมาตรฐานแบ่งได้ 3 ขนาด ได้แก่ วงมโหรีเคร่อื งเดย่ี ว วงมโหรีเคร่ืองคู่ วงมโหรเี ครอ่ื งใหญ่
วงมโหรีเครื่องเด่ียว • วงมโหรีเคร่ืองเดี่ยว หรอื มโหรเี คร่ืองเล็ก คือ วงมโหรีทีไ่ ด้เพม่ิ เคร่อื งดนตรีและเปล่ียนแปลงมาโดยลาดับ ต้ังแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น คร้ังแรกเพ่ิมระนาดเอกและฆ้องวง ต่อมาจึงได้เพ่ิมซอด้วงและซออู้ ส่วน กระจับป่ีนน้ั เปลีย่ นเป็นใช้จะเข้แทน เนอื่ งจากเวลาบรรเลงจะเข้วางราบไปกับพื้น ซ่ึงต่างกับกระจับป่ีท่ีต้องตั้ง ดีด ทง้ั นมทใ่ี ชร้ องรบั สายและบังคบั เสียงก็เรยี งลาดับมรี ะยะเหมาะสมกวา่ กระจับป่ี เวลาบรรเลงจึงทาให้ใช้น้ิว ดีดได้สะดวกและแคล่วคล่องกว่า นอกจากนี้จะเข้ยังสามารถทาเสียงได้ดังและทาเสียงได้มากกว่ากระจับป่ี ปัจจุบันเคร่ืองดนตรีในวงบรรเลงประกอบด้วย ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ ระนาดเอก มโหรี ฆ้องกลาง โทน-รามะนา 9ฉงิ่
วงมโหรีเครื่องคู่ • วงมโหรเี ครื่องคู่ คอื วงมโหรีเครื่องเดี่ยวที่ได้เพิ่มระนาดทุ้มและฆ้องวงเล็กเข้าในวง ทั้งนี้เนื่องด้วยใน รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อยหู่ วั วงปพ่ี าทยไ์ ด้เพม่ิ ระนาดทมุ้ และฆ้องวงเลก็ รวมเรียกวา่ วง ป่ีพาทย์เครื่องคู่ วงมโหรีจึงเพ่ิมเคร่ืองดนตรีดังกล่าวบ้าง นอกจากน้ันยังเพ่ิมซอ ด้วงและซออู้ขึ้น เป็นอย่างละ 2 คัน เพ่ิมจะเข้เป็น 2 ตัว ขลุ่ยน้ันเดิมมีแต่ขลุ่ยเพียงออ จึงเพิ่มขลุ่ยหลีบอีก 1 เลา ส่วนซอสามสายกเ็ พิม่ ซอสามสายหลบี อกี 1 คนั และเพิม่ ฉาบเลก็ อีก 1 คู่ด้วย ปัจจบุ ันเครื่องดนตรีในวง บรรเลงประกอบดว้ ย ซอสามสาย ซอสามสายหลิบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลบิ ระนาดเอกมโหรี ระนาดท้มุ ไม้มโหรี ฆ้องกลาง ฆอ้ งวงเล็กมโหรี โทน-รามะนา ฉิ่ง ฉาบเลก็
วงมโหรีเครื่องใหญ่ • วงมโหรเี คร่อื งใหญ่ คือ วงป่ีพาทย์เครื่องใหญ่ผสมกับวงมโหรีเครื่องคู่ นิยมบรรเลงเป็นวงมหาดุริยางค์ ซึ่งมี จานวนคนและเครอื่ งดนตรเี ยอะ มเี ครอ่ื งดนตรใี นวงบรรเลง ประกอบด้วย ซอสามสายซอสามสายหลิบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตวั ขลยุ่ เพียงออ ขลุย่ หลบิ ระนาดเอกมโหรี ระนาดทุ้มไม้มโหรี ระนาดเอกเหล็กมโหรี ระนาดทมุ้ เหลก็ มโหรี ฆอ้ งกลาง ฆอ้ งวงเล็กมโหรี โทน- รามะนา ฉงิ่ ฉาบเล็ก โหมง่
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: