Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างโลก

โครงสร้างโลก

Published by Library Horwang Pahtumthani, 2020-05-30 07:17:31

Description: วิชา : วิทยาศาสตร์
เรื่อง : โครงสร้างโลก
ระดับ : มัธยมศึกษาปีที่ 2
จัดทำโดย : ครูกมลชนก ขะมาตย์
อัพโหลด : ห้องสมุด รร.หอวัง ปทุมธานี
*ห้ามนำไปใช้เชิงพานิชย์ อนุญาตสำหรับการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งโลก

ส่วนต่างๆ ของโลก โลกของเราสามารถแบ่งออกเป็ น 4 ส่วน ตามองค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม คือ

ส่วนต่างๆ ของโลก 1. ชีวภาค (Biosphere) ส่วนของผวิ โลกและบริเวณใกล้เคียงผวิ โลกที่เป็ นที่อยู่ของ ส่ิงมีชีวิตท้งั หลายในโลก

ส่วนต่างๆ ของโลก 2. อุทกภาค (Hydrosphere) ส่วนทเี่ ป็ นนา้ ท้งั หมดบนพืน้ ผวิ โลกที่

ส่วนต่างๆ ของโลก 3. บรรยากาศ (Atmosphere) อากาศที่อยู่รอบๆ โลกต้ังแต่ผิวพื้นดินไปจนถึงระดับสูง กว่า 800 กโิ ลเมตร

ส่วนต่างๆ ของโลก 4. ธรณภี าค (Lithosphere) ส่วนของโลกทีเ่ ป็ นของแขง็ ห่อหุ้มอย่รู อบนอกสุดของโลก

โครงสร้างของโลก นักธรณีวิทยาแบ่งโครงสร้างภายในของโลก โดยใช้เกณฑ์ในการ แบ่งตามองค์ประกอบของหินและทางเคมี ดงั นี้



โครงสร้างของโลก 1. เปลือกโลก (Crust) เป็นช้นั ที่อยนู่ อกสุด มีความหนา ประมาณ 5 - 35 กิโลเมตร มี อุณหภูมิและความดนั นอ้ ยที่สุด แบ่งเป็น 2 ช้นั 3.1 เปลือกโลกทวปี เป็นส่วนนอกสุด ประกอบดว้ ยช้นั ดินและหิน ไซอลั ซ่ึงเป็นหินแกรนิต มีองคป์ ระกอบส่วนใหญ่เป็นซิลิกอนและ อลมู ิเนียม ออกซิเจน โซเดียม และโพแทสเซียม ดงั น้นั จึงถูกเรียกวา่ ไซอลั (SIAL) โดยมาจากอกั ษรสองตวั แรกของธาตุซิลิกอน (Silicon) กบั อะลูมิเนียม (Aluminium)

ต่อ 1. เปลือกโลก (Crust) 3.2 เปลือกโลกมหาสมุทร ส่วนใหญ่เป็นหินบะซอลต์ ซ่ึง ประกอบดว้ ยเหลก็ แมกนีเซียม ซิลิกอน และออกซิเจน ดงั น้นั เปลือก โลกส่วนน้ีจึงถูกเรียกวา่ ไซมา (SIMA) โดยมาจากอกั ษรสองตวั แรก ของธาตุซิลิกอน (Silicon) กบั แมกนีเซียม (Magnesium)

2. ช้ันเนื้อโลก (Mantle) มีความหนาประมาณ 2,885 กิโลเมตร แบ่งเน้ือโลกไดเ้ ป็นเน้ือโลกช้นั ลา่ ง และเน้ือโลกช้นั บน 2.1 เน้ือโลกช้นั บนหนาประมาณ 100 – 350 กิโลเมตร มีสถานะเป็นของแขง็ ประกอบดว้ ยหินและแร่ธาตุหลายชนิด เช่น อลั ตราเบสิก เพริโดไทด์ ซ่ึงเป็น หินอคั นีท่ีจะหลอมเหลวไปเป็นหินหนืดหรือแมกมา ที่มีอณุ หภมู ิประมาณ 2,000 – 3,700 องศาเซลเซียส

ต่อ 2. ช้ันเนื้อโลก (Mantle) - เน้ือโลกช้นั บนตอนลา่ ง เรียกวา่ ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) มีลกั ษณะเป็น ของแขง็ เน้ืออ่อน จึงหยนุ่ คลา้ ยดินน้ามนั ในช้นั น้ีมีความร้อนสูง ทาใหแ้ ร่บางส่วน หลอมละลายเป็นหินหนืด (Magma) ซ่ึงจะมีการเคลื่อนที่ในลกั ษณะของกระแส หมุนวนดว้ ยการพาความร้อน - เน้ือโลกช้นั บนตอนบน มีลกั ษณะเป็นหินเน้ือแขง็ และเป็นฐานรองรับเปลือก โลกส่วนทวีป เรียกรวมกนั วา่ ธรณีภาค (Lithosphere) 2.2 เน้ือโลกส่วนล่าง มีสถานะเป็นของแขง็

3. แก่นโลก (Core) เป็นส่วนที่อยชู่ ้นั ในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3,486 กิโลเมตร แบ่ง ไดเ้ ป็น 2 ช้นั 3.1 แก่นโลกช้นั นอก (Outer Core) มีความหนาประมาณ 2,270 กิโลเมตร มี สถานะเป็นของเหลวส่วนใหญ่มีแร่เหลก็ และนิกเกิล มีความหนาแน่น ความดนั และอณุ หภมู ิสูงสุดประมาณ 4,300 - 6,400 องศาเซลเซียส

ต่อ 3. แก่นโลก (Core) 3.2 แก่นโลกช้นั ใน (Inner Core) มีความหนาประมาณ 1,216 กิโลเมตร มีความ หนาแน่นมากและมีสถานะของแขง็ คาดวา่ แก่นโลกส่วนน้ีจะประกอบดว้ ยโลหะ ผสมระหวา่ งเหลก็ และนิกเกิล

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า







สรุป โครงสร้างของโลกที่เราอาศยั อยนู่ ้ี ประกอบดว้ ยเปลือกโลก (crust) แมนเทิล (mantle) และแก่นโลก (core) โดยโครงสร้างของแตล่ ะช้นั จะมีความ แตกตา่ งกนั คือ เปลือกโลกเป็นช้นั หินบาง แมนเทิลเป็นช้นั ท่ีมีความร้อนสูง บางส่วนเป็นหินหนืด สาหรับแก่นโลกจะมีความร้อนสูงมาก ประกอบดว้ ยแร่ ธาตแุ ละหินหลอมละลาย แตบ่ ริเวณใจกลางโลกท่ีมีความกดดนั มหาศาลจะเป็น แร่ธาตุท่ีอยใู่ นสภาพท่ีเป็นของแขง็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook