วชิ าสังคมศกึ ษา 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 คุณครูสุพรรษา คาสงิ ห์นอก ครูประจาวิชา โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี
๑หน่วยการเรียนรู้ที่ เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. สามารถเลือกใช้เคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ (ลกู โลก แผนที่ กราฟ แผนภมู ิ) ในการสืบค้นขอ้ มลู เพอื่ วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศ ไทยและทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ได้ ๒. สามารถอธบิ ายเส้นแบง่ เวลา และเปรียบเทียบวัน เวลาของประเทศไทยกับทวปี ตา่ งๆ ได้
เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ ลูกโลก (globe) ลกั ษณะและประโยชนข์ องลกู โลก ลกู โลก เปน็ ห่นุ จาลองของโลก แสดงตาแหนง่ และการกระจายตัวของ พ้นื ท่ีประเทศ ทวปี ทะเล และมหาสมทุ รต่างๆ ได้ตรงตามท่ปี รากฏที่ผิวโลก การใชล้ กู โลก ใชเ้ พอ่ื ศึกษาทศิ ทางการหมนุ และการโคจรของโลก ที่ตงั้ ของทวปี และประเทศตา่ งๆ รวมท้งั การศกึ ษาเสน้ เมริเดยี น เส้นละติจูด เปน็ ต้น เส้นเมรเิ ดยี น ภาพตัวอยา่ งเส้นเมรเิ ดียน ภาพตวั อย่างเส้นละติจูด
แผนท่ี (map) แผนที่ เป็นส่ิงที่สร้างขึ้นเพ่ือเสนอข้อมูลเกี่ยวกับรูปลักษณะและท่ีตั้งของส่ิงต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนผิวโลก ด้วยการ เขียนย่อสว่ นลงในวัสดพุ ้นื ทแี่ บนราบหรือแผ่นกระดาษ และใช้สญั ลักษณ์แทนสิ่งต่างๆ ซ่ึงแผนที่ท่ีนิยมใช้กันโดยท่ัวไปแบบ เปน็ ๒ ประเภท คือ แผนทีอ่ ้างอิง และแผนท่เี ฉพาะเร่ือง แผนท่อี า้ งอิง แผนที่ธรณีวิทยาจังหวดั นครราชสีมา แผนทีเ่ ฉพาะเรอ่ื ง
เขม็ ทศิ (compass) เข็มทิศ เป็นเคร่ืองมือที่ให้ข้อมูลด้านทิศทาง มีหลักการทางานโดยอาศัย แรงดึงดูดระหว่างแม่เหล็กขั้วโลกกับเข็มแม่เหล็กของเข็มทิศ เข็มทิศถือเป็น เคร่ืองมือทม่ี คี วามสาคญั ตอ่ การเดินทางเพื่อไปยงั สถานที่ตา่ งๆ การบอกทิศทางโดยทวั่ ไป คอื การบอกเปน็ ทิศทส่ี าคัญ 4 ทศิ คอื ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวนั ออก และทศิ ตะวนั ตก โดยมกี ารแทนสญั ลักษณ์ คอื N = ทิศเหนอื E = ทิศตะวันออก W = ทิศตะวนั ตก S = ทิศใต้
รปู ถ่ายทางอากาศ (aerial photograph) เปน็ รปู ถา่ ยท่ีได้จากการนากล้องไปตดิ ตง้ั กับอากาศยาน แลว้ ถา่ ยรปู ในแนวดิ่งหรอื เฉยี ง กับผวิ โลก ทาให้ไดร้ ูปของพ้ืนผิวโลกตามจริง ที่ปรากฏในเวลาน้นั ซ่งึ มักนารปู ถ่ายทางอากาศ มาใชท้ าแผนที่ โฉนดทดี่ นิ การกอ่ สร้างถนน การวางผังเมือง เปน็ ตน้ รูปถ่ายทางอากาศ บรเิ วณอนุสาวรีย์พิทกั ษ์รัฐธรรมนูญ
ภาพจากดาวเทียม (satellite image) ตัวอย่างภาพจากดาวเทยี ม ภาพจากดาวเทียม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยระบบกล้องหลายช่วงคล่ืน โดยบันทึกข้อมูลเชิงตัวเลขของค่าการสะท้อนช่วงคลื่นแสง โดยข้อมูลท่ีบันทึก สามารถส่งกลบั มายงั สถานีรับบนโลกได้ทันที จึงทาให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัยที่สุด ซ่ึงการใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียมจาเป็นต้องมีการแปลความของส่ิงท่ีปรากฏ บนภาพกอ่ น
เครื่องมอื สาคญั ทางภูมิศาสตร์อ่ืนๆ แผนภูมิ เวบ็ ไซต์ แผนภาพ
เทคโนโลยีและรูปแบบของขอ้ มูลภูมศิ าสตร์ ระบบกาหนดตาแหนง่ บนพนื้ โลก (GPS : global positioning system) จีพีเอส (GPS) เป็นเครื่องมือรับสัญญาณ จากดาวเทียม เพื่อหาหรือกาหนดจุดตาแหน่งบนพื้น โลก โดยข้อมูลที่แสดงบนหน้าจอ GPS ได้แก่ ค่าละติจูด ค่าลองจิจูด และค่าระดับความสูง ปั จ จุ บั น นิ ย ม ใ ช้ ใ น ก า ร ห า เ ส้ น ท า ง เ พื่ อ เ ดิ น ท า ง การสารวจรงั วดั ใช้บอกตาแหนง่ ผปู้ ว่ ย เป็นต้น ปจั จบุ นั มกี ารใช้ GPS มากข้นึ ในการหาเส้นทาง เพอื่ เดินทางไปยงั จุดหมาย
รปู แบบการนาเสนอขอ้ มูลภูมิศาสตร์ แบบบรรยาย แผนภมู ิ แผนผงั กราฟ
การแบ่งเขตเวลาของโลก ความสาคญั ของการแบ่งเวลา เนื่องจากโลกมีสัณฐานเป็นทรงกลม ทาให้แต่ละพ้ืนท่ีเกิดกลางวันและกลางคืน ไม่ตรงกัน จึงจาเป็นต้องมีการ กาหนด “เวลาปานกลางกรีนิช” หรอื “เวลาสากล” เพ่อื ใชก้ าหนดเวลามาตรฐานของแตล่ ะประเทศ ส่งผลให้สะดวกต่อ การตดิ ต่อสมั พันธ์กนั ระหวา่ งประเทศในทุกๆ ด้าน การเปรียบเทียบเวลาการรับประทานอาหารของคนแตล่ ะภูมิภาค
เสน้ เมริเดยี นกับการกาหนดเขตเวลา เส้นเมรเิ ดียน เป็นเสน้ สมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนอื ไปข้วั โลกใต้ ซง่ึ มีท้งั หมด ๓๖๐ เสน้ ห่างกนั เสน้ ละ ๑ องศา ภาพแสดงเสน้ เมรเิ ดยี น
ในเวลา ๑ ชวั่ โมง โลกจะหมนุ ทาใหแ้ นวความสว่างกับความมืดเคลื่อนผ่านไป ๑๕ องศาตามเส้นเมริเดียน ทาให้เกดิ เป็นความสวา่ งและความมืดบนโลก ภาพแสดงแนวความสว่างและความมดื
การกาหนดเขตภาคเวลา แผนท่ีแสดงเขตภาคเวลาของโลก การกาหนดเขตภาคเวลา จะกาหนดตามระยะห่างของเสน้ ชว่ งละ ๑๕ องศา โดยกาหนด ตามเส้นเมริเดียน ทั้งด้าน ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ซ่ึงท่ัวโลกมีเขตภาคเวลาทั้งหมด ๒๔ เขตภาคเวลา และกาหนดให้เส้นเมริเดียนแรก (๐ องศา) เป็นเวลาปานกลางกรีนิช
เวลามาตรฐาน เวลามาตรฐานท้องถน่ิ เวลามาตรฐานสากล ตารางเวลา GMT ทว่ั โลก ประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ใชเ้ วลาท่ีเส้นเมริเดียน 105° ตะวันออก เปน็ เสน้ เมรเิ ดียนกลางเขตภาคเวลา ทาให้ใชเ้ วลามาตรฐานเดยี วกัน เวลาท่ีกาหนดขึ้นใช้ในเขตภาคเวลา ต่างๆ ท่ัวโลก ซ่ึงประเทศที่มีขนาดใหญ่จะ เวลาของแต่ละพ้ืนท่ีที่แตกต่างกันออกไป ครอบคลมุ พื้นที่หลายเขตภาคเวลา เช่น รัสเซีย ตามเขตภาคเวลาของแต่ละดินแดนหรือประเทศ ๑๑ เขต สหรฐั อเมรกิ า ๕ เขต เป็นต้น ต่างๆ ซง่ึ มเี วลามาตรฐานของแต่ละเขตหรือแต่ละ ทอ้ งถิ่น
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: