Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ

สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ

Published by Library Horwang Pahtumthani, 2020-05-26 04:39:43

Description: วิชา : พระพุทธศาสนา
เรื่อง : สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ
ระดับ : ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
จัดทำโดย : ครูเศรษฐสิทธิ์ ต้นสีนนท์
อัพโหลด : ห้องสมุด รร.หอวัง ปทุมธานี
*ห้ามนำไปใช้เชิงพานิชย์ อนุญาตสำหรับการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เร่ือง “สรปุ และวเิ คราะห์พทุ ธประวัติ (การผจญมาร, การตรสั ร,ู้ การส่ังสอน )” พุทธประวัติ ตอน ผจญมาร พระพุทธเจา้ ตอน ผจญมาร

ผจญมาร ณ วันเพญ็ เดือน 6 วันเดยี วกบั ท่ีได้ทรงเสวยข้าวมธปุ ายาสแล้วน้ัน พระสิทธัตถมหาบุรุษทรงบำเพ็ญ เพียรล่มุ ลึกเป็นครั้งสุดท้าย พระอาทิตย์ลับขอบฟา้ ไปแล้ว พระองค์กำลังจะรู้แจ้งที่จะตรสั รู้นั้น กม็ ีวสวัดดี มารยกพลมารมาขัดขวางการบรรลธุ รรมขัน้ สูงสดุ นี้ โดยมารมาทั้งทางบก ทางอากาศ พยายามจะฟาดฟัน ให้ย่อยยับ ณ ท่ีนั้นไม่มีใครเหลืออยู่เลย แม้เทวดาท้ังหลายก็กลัวพญามาร จึงเหลือแต่พระองค์ผู้เดียว พระองค์ทรงตรัสสดู้ ้วยพระทัยไม่หวั่นไหว พระแมธ่ รณีจึงผุดขึ้นมาเปน็ พยานในความดีที่พระองค์ได้หล่ัง ทักษิโณทก ลงบนแผ่นดนิ ในกาลกอ่ นทกุ ๆ ชาติ ที่รวมไว้ในมวยผมของพระแมธ่ รณี โดยการบิดนำ้ ออกมา จากเกศา ทำใหน้ ้ำทว่ มพสธุ าขึน้ หมมู่ ารทั้งหลายหนไี ปสน้ิ และทรงชนะมารในทีส่ ดุ คตธิ รรมจากภาพ 1. สติ คือ ความรูต้ ัวท่ัวพร้อม ควบคุมให้จิตมั่นคงไม่หวน่ั ไหว จะหยุดยั้งส่งิ เลวร้ายที่เกดิ ข้ึนได้ดังที่ พระพุทธองค์ทรงใช้สตสิ กู้ ับมารทีม่ าผจญได้สำเร็จ 2. การทำความดีท่ีมากย่ิงขึ้น และยาวนาน (เป็นกัมมสักก-กัมมโยนิ) ความดีท่ีส่ังสมไว้น้ีจะเป็น เกราะกน้ั กำบังเหตุร้าย 3. พยาน เป็นหลักฐานแสดงร่องรอยในการกระทำเป็นส่ิงจำเป็นทุกยุคสมัย ดังเช่น พระแม่ธรณี เป็นพยานสำคัญว่า มหาบุรุษผู้นี้ได้ทำความดีมาหลายกัลป์ โดยหลั่งน้ำไว้บนแผ่นดินที่พระแม่ ธรณเี ก็บไว้ทม่ี วยผม ซึง่ เม่อื บดิ ออกมาทำใหน้ ้ำทว่ มพสธุ ายงั พญามารให้หนไี ปสิ้น 4. มาร คือ อุปสรรคหรือกิเลส บางทีเรียกว่า กิเลสมาร ได้แก่ ตัณหา ความอยาก ความต้องการ ราคะ ความรัก ความหลงในกาม โมหะ ความอิจฉาริษยา เกลียดชัง จะขจัดออกจากตนได้โดย การละ การวาง อย่างมุง่ มั่นเด็ดเดย่ี ว เข้มแข็งตอ่ สงิ่ ยวั่ ยุ ดงั พทุ ธองค์ที่ชนะมารได้ 5. ผทู้ ่ีคดิ ดี ทำดี ย่อมชนะผคู้ ิดร้ายทำร้าย ดังคำกลา่ วทวี่ ่า ธรรมย่อมชนะอธรรม ที่มา : จติ รลดา ศริ ิรัตน์ และแมน้ เดอื น สุขบำรุง. 2542. พระพทุ ธเจ้าตรสั รไู้ ด้อยา่ งไร. กรงุ เทพมหานคร : เลีย่ งเชียง.

พทุ ธประวตั ิ ตอน ตรัสรู้ พระพุทธเจา้ ตอน ตรสั รู้

ตรสั รู้ ในวนั เพ็ญเดือนวิสาขะ หลังจากทีพ่ ระสิทธัตถมหาบรุ ุษฉันข้าวมธปุ ายาสของนางสชุ าดา แล้วทรงรับ หญ้าคา จากโสตถิยพราหมณ์ 8 กำ ปูลาดเป็นอาสนะท่ีใต้ต้นโพธิ์ริมฝ่ังแม่น้ำเนรัญชรา ประทับน่ัง บนอาสนะแล้วอธิษฐานว่า “หากไม่ได้ตรัสรู้ก็จะไม่ลุกจากที่นี้ แม้เลือดและเนื้อจะเหือดแห้งไปเหลือ แต่เอ็นและกระดูกก็ตาม” จากน้ันทรงบำเพ็ญสมาธิ มั่นคงลุ่มลึกไปโดยลำดับในยามต้นของราตรีนั้น พระองค์ได้หย่ังรู้อดีตชาติอันยาวไกล ในยามท่ีสอง ได้หยั่งรู้ การเกิดและอุบัติของสรรพสัตว์ด้วยอำนาจ ของกรรม และในยามสุดท้ายแหง่ ราตรีพระองค์ได้หยั่งรู้หนทางอันเป็น ขอ้ ปฏิบตั ิท่จี ะทำใหด้ บั ทุกข์ทั้งปวง ได้ กล่าวคือ พระองค์รู้แจ้งอริยสัจ 4 ได้แก่ รู้แจ้ง ทุกข์ สาเหตุของทุกข์ ความดับทุกข์ และข้อปฏิบัติให้ ถึงความดับทุกข์ พระองค์จึงได้นามว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้โดยชอบด้วยความสามารถ ของพระองคเ์ อง ขณะมพี ระชนมายุได้ 35 พรรษา คตธิ รรมจากภาพ 1. การได้เรียนร้เู รื่องใดหรือทำงานใดๆ ก็ตาม ต้องต้ังใจ มสี มาธมิ ั่นคง จึงจะเขา้ ใจทำงานนน้ั ๆ ไดด้ ี ดังท่พี ระสิทธตั ถะมหาบรุ ุษได้บำเพญ็ สมาธิอันเปน็ รากฐานสำคญั ท่ที ำใหต้ รสั รูเ้ ป็นพระพุทธเจา้ 2. อรสิ ัจ 4 มีหลักสำคัญอยวู่ ่า การจะเรียนรูเ้ รือ่ งใดก็ตามตอ้ งเรยี นรูใ้ ห้สัมพันธ์เชอ่ื มโยงกันเปน็ เหตุ เป็นผลของกันและกัน เพราะทุกสิ่งสัมพันธ์กันเป็นปัจจัยของกันและกัน หากเรียนรู้แบบแยก สว่ น โดดเดยี่ วไม่สัมพนั ธ์กับเรอ่ื งอนื่ กไ็ ม่สามารถใช้ความรนู้ ั้นให้เกิดประโยชน์ได้ และหากเรียน จรยิ ธรรมเป็นส่วนๆ ก็ไมส่ ามารถกอ่ ใหเ้ กดิ สำนึกทางจรยิ ธรรมแกผ่ เู้ รียนได้ ท่มี า : จติ รลดา ศิริรตั น์ และแม้นเดือน สุขบำรงุ . 2542. พระพุทธเจา้ ตรัสรไู้ ด้อย่างไร. กรงุ เทพมหานคร : เลี่ยงเชียง.

พทุ ธประวัติ ตอน ปฐมเทศนา พระพุทธเจา้ ตอน ปฐมเทศนา

ปฐมเทศนา เมื่อตัดสินพระทัยท่ีจะนำความจริงทรงสั่งสอนผู้อื่นให้พ้นทุกข์ พระพุทธเจ้าจึงทรงเดินทางออก จากสถานทต่ี รัสรู้ แล้วเสด็จไปยังป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ด้วยทรงรำลึกถึงนักบวช (ปัญจวัคคีย์) ทั้ง 5 รูป และได้ทรงแสดงธรรมปฐม-เทศนาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 มีข้อความสำคัญ คือ ทรงปฏิเสธวิธีการ ทรมานกายให้ลำบาก และการปล่อยตนไปตามความใคร่ ท้ังสองนี้ไม่เป็นไปเพ่ือการตรัสรู้ ให้ปฏิบัติตาม ทางสายกลาง คือ ปฏิบัติตามอรยิ สจั 4 และมรรค 8 ท่ีกลา่ วโดยยอ่ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เม่ือแสดงธรรม จบลง โกณฑัญญะ บรรลุโสดาบัน ทรงปีติยินดีมาก เปล่งคำอุทนว่า “อัญญาสิ วต โภ โกณฑัญโญ” แปลว่า “โกญฑัญญะ ได้รู้แล้วหนอ” ปฐมเทศนาครัง้ น้นั เรยี กวา่ “ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร” เปน็ เสมือนวง ล้อ ไปสู่ความเจริญ คติธรรมจากภาพ 1. โลกเริ่มสว่างไสวแล้ว คือ การสอนให้คนรู้ความจริงทำส่ิงถูกต้องได้จากคนหน่ึงไปสู่คนหน่ึง เปน็ เหมือนจดุ เทยี น ปัญญาใหเ้ กดิ ข้นึ ในโลก ดงั ท่ีพระองค์ตัดสนิ ใจสอนธรรมท่ียากเหลอื เกินแล้ว 2. ความกตัญญูเป็นเคร่ืองหมายของคนดี สังคมท่ีกตัญญูรู้คุณต่อคนที่มีคุณ เป็นสังคมที่เจริญ ดั ง ท่ี พ ร ะ อ งค์ ทร ง เลื อ ก ท่ี จะ สอ น ปั ญ จ วัค คี ย์ ก่ อ น ผู้ อ่ื น ด้ ว ย ก ตั ญ ญู ที่ ปัญ จวั คคี ย์เคย ม าดู แ ล ขณะบำเพญ็ ทกุ กรกริ ิยา 3. การเลือกสอนหรือสร้างผู้นำต้องเลือกผู้ที่มีศีล สมาธิ ปัญญาอยู่แล้วจะง่ายต่อการเข้าใจ บรรลุธรรมได้ง่าย จะทำให้เกิดกำลังใจขยายงานต่อไป ดังที่พระองค์ทรงเลือกปัญจวัคคีย์ ท่มี ีศลี สมาธิ ปัญญาแกก่ ล้าอยู่แล้ว 4. การสอนหรือช้ีแนะให้ผู้ประพฤติตาม ต้องพยายามยึดหลักการให้ชัดเจน เช่น ทรงสอน ปญั จวัคคยี ์ให้เดินสายกลาง (มรรค 8) เป็นทางสู่ความสำเร็จ ให้เลกิ ปฏิบัตทิ างสุดโตง่ ไปทางกาม คุณ และทรมานตนเอง 5. ผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ต้องอ่อนน้อมถ่อมตน จะมีผู้เมตตาถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ ดังที่ปัญจวัคคีย์ ต้องลดละทฐิ ิมานะ จึงได้โอกาสฟงั ธรรมและบรรลธุ รรมตามได้ ทมี่ า : จิตรลดา ศิริรตั น์ และแมน้ เดือน สขุ บำรุง. 2542. พระพุทธเจ้าตรสั ร้ไู ดอ้ ยา่ งไร. กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียง.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook