Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกหัดบทที่ 5 อภิรดา ศิริปัญญา143 ออกแบบภายในปี3ภาคปกติ

แบบฝึกหัดบทที่ 5 อภิรดา ศิริปัญญา143 ออกแบบภายในปี3ภาคปกติ

Published by apirada.ks, 2022-08-02 11:38:22

Description: แบบฝึกหัดบทที่ 5 อภิรดา ศิริปัญญา143 ออกแบบภายในปี3ภาคปกติ

Search

Read the Text Version

รายชื่อสมาชกิ 1. นางสาวอภริ ดา ศริ ิปญั ญา รหสั นกั ศกึ ษา 4631071141143 ออกแบบภายในช้นั ปที ่ี 3 ภาคปกติ

แบบฝึกหดั บทที่ 5 เรอื่ งองคป์ ระกอบพ้ืนฐานของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ อภปิ ราย และตอบคำถามในหัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. องค์ประกอบพ้นื ฐานของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์มอี ะไรบา้ ง จงอธิบาย ตอบ 1. คอมพวิ เตอร์อย่างน้อย 2 เครื่อง เชอ่ื มตอ่ กัน 2. เน็ตเวิร์คการ์ด หรอื NIC (Network Interface Card) เป็นการ์ดทเ่ี สียบเขา้ กับชอ่ งบน เมนบอร์ดของคอมพวิ เตอร์ ซึ่งเปน็ ชุดเชื่อมต่อระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ และเครือขา่ ย 3. สื่อกลาง และอปุ กรณส์ ำหรับการรบั สง่ ขอ้ มูล เชน่ สายสญั ญาณ สายสญั ญาณที่นยิ มใชใ้ น ระบบเครือข่าย เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่บิดเกลียว และสายใยแก้วนำแสง เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์เครือข่าย เชน่ ฮับ, สวิตช์, เราทเ์ ตอร์, เกตเวย์ เป็นต้น 4 . โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้สื่อสารกันผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ที่สามารถสื่อสารกันได้นั้นจำเป็นต้องใช้ภาษา หรือโปรโตคอลเดียวกัน เช่น OSI TCP/IP IPX/SPX เปน็ ตน้ 5. ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ข่าย หรอื NOS (Network Operating System) ระบบปฏิบัติการ เครอื ขา่ ยจะเป็นตัวที่คอยจัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แตล่ ะคน หรอื เป็นตัวจัดการ และควบคุม การใช้ทรัพยากรต่างๆ ของเครือข่าย ระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่เป็นที่นิยม เช่น Windows Server 2007 Novell NetWare Sun Solaris และ Red Hat Linux เป็นตน้ 2. ลักษณะการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อในการทำงานระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์จะแบ่งเครื่อง คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ 2 ประเภท คอื ประเภทใดบา้ ง ตอบ 1. ประเภทที่ใชเ้ ปน็ เซริ ์ฟเวอร์ของเครือขา่ ย (Server Computer) 2. ประเภทท่ีใชเ้ ปน็ เครือ่ งลูกข่าย (Client) 3. ใหน้ ักศึกษาอธบิ ายหน้าทีข่ องอปุ กรณเ์ หลา่ นี้ ตอบ 3.1 แลนการด์ ทำหนา้ ทีอ่ ะไร - อุปกรณ์นี้จะทำหน้าที่แปลงขอ้ มูลเป็นสัญญาณที่สามารถส่งไปตามสายสัญญาณ หรือสื่อแบบอื่นได้ ปัจจบุ นั นี้มีการด์ หลายประเภท ซึง่ ถูกออกแบบใหใ้ ชก้ ับเครือขา่ ยประเภทตา่ งๆ เช่น อีเธอรเ์ นต็ การด์ , โทเคนริงการ์ด เป็นต้น การ์ดแต่ละประเภทอาจใช้ได้กับสายสัญญาณบางชนิดเท่านั้น หรืออาจจะใช้ได้กับ สญั ญาณหลายชนดิ

3.2 ฮับ (Hup) ทำหน้าที่อะไร - เปน็ อุปกรณพ์ นื้ ฐานทีใ่ ชใ้ นการเชื่อมต่อเคร่ืองจำนวนมากเข้าดว้ ยกันในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ โดยที่ ฮบั จะมีพอรต์ (Port) หรือช่องสำหรับต่อสาย RJ-45 เข้ามาจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และทำหนา้ ท่เี ปน็ ศูนยก์ ลาง ในการกระจายข้อมลู ไปยงั เครอื่ งอ่ืนๆ ในระบบเครือข่าย ความเรว็ ของฮับ มีหน่วยเป็น Megabit per second (Mbps) โดยเริม่ ต้นที่ 10 Mbps จนถึงความเร็ว100 Mbps การทำงานของฮับจะใช้วิธีแบ่งช่องทางการส่งผ่าน ขอ้ มลู หรอื กล่าวได้วา่ ฮับความเรว็ 10 Mbps ที่มีพอร์ตสำหรับเช่ือมต่ออยู่ 24 พอร์ต มเี ครื่องคอมพิวเตอร์ต่อ อยู่ที่แต่ละพอร์ต และทำการส่งข้อมูลอยู่ในขณะนั้น ความเร็วต่อพอร์ตที่จะสามารถส่งข้อมูลได้จะมีความเร็ว เพยี ง 10/24 หรอื 0.416 Mbps เทา่ นน้ั นอกจากนนั้ เครื่องคอมพิวเตอรท์ ุกเครื่องที่ต่อมายังฮับตัวเดยี วกนั ทำใหข้ อ้ มลู ที่ส่งออกมามโี อกาสท่ีจะชนกนั สูงเน่ืองจากอยู่ในระดับของกลุ่มคอมพวิ เตอร์ท่ีจะส่งข้อมูลชนกันได้ (Collision Domain) การท่ีฮบั สง่ ขอ้ มูลจากเคร่ืองตน้ ทางไปยังเคร่ืองปลายทาง จะทำโดยการแพรก่ ระจาย สัญญาณ หรือบอร์ดคาสต์ (Broadcast) ซึ่งเป็นการส่งไปโดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะ ได้รับ แต่จะมีเฉพาะเครื่องที่ระบุปลายทางเท่านั้นท่ีจะนำข้อมูลนั้นไปใช้ได้ การที่เครื่องใดจะทราบว่าข้อมูลที่ ส่งมานัน้ เปน็ ของตน คือในการสง่ เครื่องที่ทำการส่งจะเลือกแล้วว่าเครื่องปลายทางคือเครื่องใด ดังน้ัน เคร่ืองที่ ไม่ได้ถูกระบุจะไม่รับข้อมูลนั้นมา จากข้างต้นสามารถสรุปรูปแบบการส่งข้อมูลของฮับได้คือ การส่งข้อมูลของ ฮับจะทำในลักษณะที่เรียกว่า “บอร์ดคาสต์” คือข้อมูลจะถูกแพร่กระจายไปยังทุกพอร์ตของฮับ แต่ข้อมูลน้ัน จะถูกรบั ไปทำงานเฉพาะในพอร์ตซึ่งมเี ครื่องที่เป็นเครื่องปลายทางติดต่ออยเู่ ท่าน้ัน การทำงานในลักษณะนี้จะ เปน็ การส้ินเปลืองแบนด์วดิ ธ์จำนวนหนงึ่ เน่ืองจากขอ้ มูลจะถกู สง่ ไปยงั เครือ่ งท้งั หมดทำการตดิ ต่ออยู่ ฮับมีอยู่ 2 ชนิดคือ Active HUB และ Passive HUB โดย Active HUB จะต้องการไฟเลี้ยงวงจรปรับปรุง สัญญาณข้อมูล เม่อื ไดร้ บั สัญญาณข้อมลู เขา้ มาวงจรน้จี ะทำการสร้างสัญญาณข้อมูลเหมือนเดิมท่ีมีคุณภาพเพื่อ ส่งต่อออกไป ฮับชนิดนี้จึงทำหน้าที่เหมือนรีพีตเตอร์ (Repeater) ที่ช่วยในการขยายระยะการเชื่อมต่อระบบ เครอื ข่ายออกไปได้ ดังนนั้ ในบางคร้ังจงึ เรยี ก Active HUB วา่ Multi-Port Repeater ส่วน Passive HUB จะเป็นเพียงศูนย์กลางการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายโดยไม่มีวงจรจัดการปรับปรุงสัญญาณ ข้อมลู จึงไม่ต้องการไฟเล้ยี ง 3.3 รีพตี เตอร์ (Repeater) ทำหนา้ ท่ีอะไร - เปน็ อุปกรณ์ระบบเครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมต่อสายเคเบลิ 2 เส้น เข้าด้วยกนั เพือ่ เพ่มิ ระยะทางการ เชือ่ มตอ่ ระบบเครอื ข่าย สายสญั ญาณแต่ละชนิดที่เลอื กใช้ จะมคี วามสามารถในการขนส่งข้อมูลไปในระยะทาง ที่จำกัดระยะหนึ่งตามมาตรฐานของสายสัญญาณ แต่ละชนิด จากนั้นสัญญาณข้อมูลจะถูกดูดกลืนไปตามสาย ทำให้สัญญาณข้อมูลอ่อนลง หากต้องการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายออกไปไกลเกินกว่าสายสัญญาณที่ใช้จะ รองรับไดจ้ ะตอ้ งใชร้ พี ีตเตอร์ชว่ ยในการขยายสัญญาณข้อมูล

3.4 บริดจ์ (Bridge) ทำหนา้ ที่อะไร - เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิม บริดจ์ไดร้ ับการออกแบบมาให้ใช้ กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายอีเธอร์เน็ตกับอีเธอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มี ใช้มานานแล้วตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายใน เครอื ขา่ ยเดยี วกนั มลี ักษณะการสง่ ข้อมูลแบบแพร่กระจาย ดงั นั้น จงึ กระจายไดเ้ ฉพาะเครือขา่ ยเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็คเกจที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่อยู่ (Address) ต่างเครือข่ายบริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะ แพ็คเกจนั้น ส่งให้บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหวา่ งเครอื ขา่ ยให้มีการส่อื สารภายในเครือข่ายของตน ไม่ปะปนไปยังอกี เครอื ขา่ ยหนึง่ เพ่อื ลดปญั หาปริมาณ ข้อมลู กระจายในสายส่อื สารมากเกนิ ไป ในระยะหลังมีผูพ้ ัฒนาบรดิ จ์ใหเ้ ชื่อมโยงเครือขา่ ยต่างชนิดกนั ได้ เช่น เครือข่ายอีเธอร์เน็ตกับโทเก้นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมต่อมีลักษณะ ที่หลากหลายจะเลือกเราต์เตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมโยง มากกว่าการใช้บริดจ์เป็นตัวเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน และความเหมาะสมใน บรบิ ทการใช้งานท่แี ตกต่างกนั 3.5 เราตเ์ ตอร์ (Router) ทำหน้าที่อะไร - เป็นอุปกรณ์ระบบเครือข่ายซึ่งทำหน้าที่เสมือนสะพานสำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิ่น หรือระบบ เครือข่ายแลน (Local Area Network) เข้ากับระบบเครือข่ายแวน (Wide Area Network) ขนาดใหญ่ และ เม่ือเครอื ขา่ ยแลนถูกเช่ือมต่อเขา้ ดว้ ยกันโดยใช้เราต์เตอร์ เครอื ขา่ ยแลน แต่ละฝง่ั จะยังคงมีเครือข่ายที่เป็นของ ตนเอง ไม่เกี่ยวข้องกับเครือข่ายของอีกฝั่งหนึ่ง ซึ่งเป็นประโยชน์ ในการบริหารจัดการเครือข่ายภายใน ซึ่งการ ทำงานของเราตเ์ ตอรจ์ ะมตี ารางข้อมูลท่ีเรียกวา่ Route Table ชว่ ยอธิบายวธิ ีการในการส่งข้อมูลท่ีต้องการให้ ไปถึงปลายทางได้อย่างรวดเร็ว โดยตารางข้อมูลนี้ จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำภายในเราต์เตอร์ และจะถูก ปรับปรุงข้อมูล (Update) เส้นทางการขนส่งข้อมูลอยู่ตลอดเวลาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง และจะถูกเพิ่มเติม เส้นทาง เมือ่ มกี ารส่งขอ้ มูลไปยงั ปลายทางทใี่ หม่ๆ 3.6 เกตเวย์ (Gateway) ทำหนา้ ทอ่ี ะไร - เป็นอุปกรณ์ระบบเครือข่ายท่ีมีความซับซ้อนมากกว่าเราต์เตอร์ หรือบริดจ์ เพราะอุปกรณ์ชนิดนี้ สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอล (Protocal) ในระดับ Data link และ Network Layer ท่ี แตกต่างกันได้มากกว่า 2 ระบบ ซึ่งจะทำการอธิบายในบทที่เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซ่ึง การทำงานของเกตเวย์ทุกระดับชั้นจะเป็นไปตามมาตรฐาน ISO/OSI Model เกตเวย์สามารถเปลี่ยนแปลง โปรโตคอลจากเครอื ขา่ ยหนึง่ ไปยงั อกี เครือข่ายหนง่ึ หรือเปล่ียนรูปแบบของขอ้ มูลในโปรแกรมประยกุ ตไ์ ด้

4. สายสัญญาณที่ใช้เปน็ มาตรฐานในระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์มีกป่ี ระเภท อะไรบ้าง ตอบ 3 ประเภท 1. สายโคแอก็ เชียล (Coaxial Cable) มีลักษณะคล้ายกับสายเคเบิลทีวี คอื มีแกนเปน็ ทองแดงห่อหุ้ม ด้วยฉนวน แล้วหุ้มด้วยตาข่ายโลหะ ชั้นนอกสุดเป็นวัสดุป้องกันสายสัญญาณ สายประเภทนี้นิยมใช้มากใน เครือขา่ ยสมัยแรกๆ แตป่ ัจจบุ นั ไม่นิยมใช้แล้วเปลี่ยนเป็นการใช้สายคเู่ กลยี วบิดแทน 2. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pairs) เป็นสายสัญญาณมาตรฐานที่นิยมใช้มากที่สุดในระบบเครือข่าย ปัจจุบัน สายสัญญาณจะประกอบด้วยสายทองแดงที่ห่อหุ้มด้วยฉนวน 2 เส้นแล้วบิดเป็นเกลียว เหตุที่บิดเปน็ เกลียวก็เพื่อลดสัญญาณรบกวน สายสัญญาณนี้ยังแบ่งย่อยออกเป็นหลายประเภท ซึ่งแบ่งตามคุณภาพของ สายสัญญาณ ไดแ้ ก่ สายสญั ญาณโทรศัพทท์ ่ีใช้กนั ท่ัวไป ซง่ึ จะมีสายทองแดงทั้งหมด 2 คู่ ส่วนหัวท่ีใช้ต่อสายนี้ จะเรียกว่า หัว RJ-11 ส่วนสายคู่บดเกลียวที่นิยมใช้ในระบบเครือข่ายแบบอีเธอร์เน็ต คือ สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายกับสายโทรศัพท์ แต่มีคุณภาพดีกว่า โดยมีสายทองแดง ทง้ั หมด 4 คู่ สว่ นหัวเชือ่ มต่อจะเรียกว่า หัว RJ-45 3. สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) เป็นสายที่ใช้แสงเป็นสัญญาณ และแก้วหรือพลาสติกใส เป็นส่ือ นำสัญญาณ ในขณะที่สายคู่เกลียวบิด และสายโคแอ็กเชียลใช้สัญญาณไฟฟ้า และโลหะ เป็นสื่อ ข้อเสียของ สายสัญญาณประเภทโลหะ คอื จะถูกรบกวนจากแหลง่ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ ตา่ งๆ ไดง้ ่าย เช่น ฟา้ ผา่ , มอเตอร์ไฟฟ้า เปน็ ตน้ แตส่ ายใยแก้วนำแสงใชส้ ญั ญาณแสง ดังน้นั จงึ ไมถ่ กู รบกวนโดยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ จึงทำให้สายใยแก้วนำแสงสามารถส่งข้อมูลได้ในอัตราสูง และระยะไกลกว่า แต่การผลิต การติดตั้ง และดูแล รักษาจะยุ่งยาก และราคาแพงกว่าสายที่เป็นโลหะ ดังนั้น สายใยแก้วนำแสงจึงเหมาะสำหรับลิงค์ที่ต้องการ แบนดว์ ธิ สงู และมคี วามเชื่อถือได้สงู เหมาะสำหรบั การสง่ ข้อมูลระยะไกล เช่น ลิงค์หลัก (Backbone) ของระบบเครือขา่ ย 5. โปรโตคอล (Protocol) หมายถงึ อะไร ปัจจบุ ันโปรโตคอลใดท่นี ิยมใชท้ สี่ ดุ ตอบ โปรโตคอล (Protocol) เป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ หรืออาจกล่าวไดว้ า่ โปรโตคอลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้สือ่ สารกัน ดังนั้นคอมพิวเตอร์ที่ต้องการสื่อสารกันจำเป็นที่ต้องใช้ภาษา หรือโปรโตคอลเดียวกนั เพราะไม่เชน่ น้ันคอมพิวเตอรก์ ็จะสอ่ื สารกนั ไม่ได้ ปัจจุบนั โปรโตคอลทนี่ ิยมใชม้ ากท่ีสุด คอื โปรโตคอล TCP/IP (Transmission Control/ Internet Protocol) ซ่งึ เป็นโปรโตคอลท่ีใช้ในระบบ อินเทอร์เนต็ ซ่งึ เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ใี หญ่ท่สี ดุ ในโลก