แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑
แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒ แผนเผชิญเหตุและการเฝ้าระวงั ตดิ ตาม แนวทางปฏบิ ตั เิ พอ่ื รับมือกับการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปากพะยูน สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพัทลงุ สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ก๓ คานา สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด ๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) มีการระบาดในวงกว้าง องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศให้โรคโควิด ๑๙ เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) โดย แนะนาให้ทุกประเทศเร่งรัดการเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยงจากโรคโควิด ๑๙ สาหรับประเทศไทย พบผู้ป่วย และผู้เสียชีวิตเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสขยายวงกว้างข้ึนเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวโน้มท่ีจะเกิดการ แพร่ระบาดในสถานศึกษา ดังนั้น การสร้างความตระหนัก รู้เท่าทัน และเตรียมความพร้อมในการ รับมือกับการ ระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งเพื่อลดความเส่ียงและป้องกันไม่ให้ส่งผลกระทบต่อ สุขภาพผู้เรียน ครู ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา อันเป็นทรัพยากรที่สาคัญในการ ขับเคล่ือนและพัฒนา ประเทศในอนาคต ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปากพะยูน หวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่า นักศกึ ษา บุคลากรของสถานศกึ ษา และผู้เก่ยี วข้อง จะได้นาแผนเผชญิ เหตุและการเฝ้าระวงั ติดตามแนวทางปฏบิ ัติเพ่อื รบั มือ กบั การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไปใชป้ ระกอบเปน็ แนวปฏิบตั ิในการเฝ้าระวงั และกากบั ตดิ ตามเตรียมความพร้อมรองรบั สถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไดอ้ ย่างทนั เหตุการณ์ อันจะส่งผลใหน้ กั ศกึ ษา บุคลากรของสถานศึกษา และผู้เก่ียวข้องปลอดภัย ไมเ่ สี่ยง ไมม่ ีอาการปว่ ยของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) และสามารถดาเนินชวี ิตไดอ้ ย่างปกตสิ ขุ กศน.อาเภอปากพะยูน
แผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔ข สารบญั หน้า ก คานา ข สารบญั ๑ บทท่ี ๑ ข้อมลู พืน้ ฐานของสถานศึกษา บทที่ ๒ สถานการณ์เก่ียวกับเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ๑๓ ๑๓ ๒.๑ ไวรสั โคโรนา หรอื โควดิ -๑๙ คืออะไร ๑๓ ๒.๒ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (Covid ๑๙) ๑๕ ๒.๓ อาการเม่ือตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ หรอื ไวรสั โควิด-๑๙ ๑๕ ๒.๔ กลุ่มเสย่ี งตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรอื โควดิ -๑๙ ๑๖ ๒.๕ วธิ ปี ้องกนั การตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๑๗ บทท่ี ๓ แผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๑๗ ๓. มาตรการเตรยี มความพรอ้ มเปิดภาคเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVD -๑๙) ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ๑๗ ๓.๑ สภาพการดาเนนิ การ ๑๗ ๑๘ ๓.๑.๑ มาตรการท่ัวไป ๑๘ ๓.๑.๒ มาตรการการปฏบิ ตั ิตนของข้าราชการและบคุ ลากร ๑๙ ๓.๑.๓ มาตรการการปฏิบัตติ นของนกั ศึกษา ๑๙ ๓.๑.๔ มาตรการการดาเนนิ การของสถานศึกษาระหว่างเปิดภาคเรยี น ๒๐ ๓.๒ กิจกรรมการเฝา้ ระวงั และป้องกันโรคเมือ่ เปดิ การเรยี นการสอน ๒๐ ๓.๓ กจิ กรรมเมือ่ พบผู้ป่วยยนื ยัน ๒๑ ๓.๔ การสร้างความร่วมมอื จากทกุ ภาคส่วน ๒๒ ๓.๕ แนวปฏบิ ตั ิสาหรับบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ๒๓ ๓.๖ ด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมภายในโรงเรียน บทที่ ๔ แนวทางปฏบิ ัติสาหรบั สถานศึกษาในสังกัด กศน. จังหวัดพัทลุง กรณีสงสัยว่ามีผู้เรียนหรือ ๒๗ บคุ ลากรมีภาวะเสยี่ งต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ๒๙ บทท่ี ๕ การสรา้ งความร่วมมอื จากทุกภาคสว่ น การสนับสนนุ และหน่วยงานรบั ผดิ ชอบ ๓๐ ภาคผนวก ๓๕ ภาคผนวก ก หนว่ ยงานท่ตี ิดต่อฉกุ เฉินในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อ COVID - ๑๙ ภาคผนวก ข คาสงั่ /ประกาศ/หนังสอื ราชการที่เก่ียวขอ้ ง
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๕๑ บทที่ ๑ ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา สภาพทั่วไปของสถานศกึ ษา ช่อื สถานศกึ ษา : ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปากพะยนู ทอี่ ยู่ : ต้งั อยู่เลขที่ ๑๑๑ หมู่ ๔ ตาบลปากพะยูน อาเภอ : ปากพะยูน จงั หวัด : พทั ลุง เบอร์โทรศัพท์ : 074 - 699236 เบอร์โทรสาร : 074 - 699236 E-mail ตดิ ตอ่ : [email protected] Website http://phattalung nfe.go.th/pakpayun/ สังกัด : สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพัทลุง สานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร ประวตั คิ วามเป็นมาของสถานศึกษา วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๖ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดต้ังศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน อาเภอปากพะยูน เป็นศูนย์ระดับ ๑ ซึ่งเป็นสถานศึกษาในราชการบริหารส่วนกลาง สังกัดศูนย์การศึกษานอก โรงเรียนจังหวดั พทั ลุง กรมการศึกษานอกโรงเรียน วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้แต่งต้ังให้นายวิโรจน์ แสงขา ตาแหน่งอาจารย์ ๒ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพัทลุง ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอก โรงเรียนอาเภอปากพะยูน ตามคาสั่งที่ ๙๔/๒๕๓๗ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๓๗ เรื่อง ให้ข้าราชการไปปฏิบัติ ราชการในหน้าท่ี หัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอปากพะยูน กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ วนั ท่ี 3 ธันวาคม พ.ศ. 2539 ได้เล่อื นฐานะเปน็ ศนู ย์ระดบั 2 วันท่ี 25 กันยายน พ.ศ. 2543 ไดเ้ ล่ือนฐานะเป็นศูนย์ระดับ 3 โดยต้ังสานักงานอยู่ที่ห้องสมุด ประชาชนอาเภอปากพะยนู วนั ท่ี 24 กันยายน พ.ศ. 2546 ทางอาเภอปากพะยนู ไดอ้ นุญาตให้ใช้อาคารที่ว่าการอาเภอปาก พะยูนหลงั เก่าเป็นทต่ี ้ังสานกั งาน วนั ท่ี 3 พฤษภาคม 2548 เปล่ยี นมาใชอ้ าคารชั้นบนสานักงานทด่ี นิ อาเภอ (หลังเก่า) วนั ที่ ๖ มิถนุ ายน ๒๕๔๘ สานกั บรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรียน ได้แต่งต้ังให้ นายวร วุฒิ จรยิ ภคั รตกิ ร ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการศนู ย์บรกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียนอาเภอปากพะยนู วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๑ ได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ เปล่ียนช่ือสถานศึกษาเป็น “ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากพะยูน” สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๖ ตามอัธยาศัยจังหวัดพัทลุง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมผี ลบังคับใช้ต้งั แตว่ ันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ วันที่ ๑ ตุลาคม 2555 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ แต่งต้ังให้นายเลี่ยม โอนิกะ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอปากพะยูน วันท่ี ๖ กุมภาพันธ์ 255๘ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แต่งต้ังให้นางสาวรพีพรรณ ลิมปิติ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อาเภอปากพะยูน วนั ที่ ๖ พฤศจิกายน 25๖๑ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดพัทลุง ได้แต่งตั้งให้๖๐ นายยะฝาด สันหมาน ตาแหน่ง ครูชานาญการ รักษาการตาแหน่งผู้ผู้อานวยการ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอปากพะยูน วันท่ี ๑๕ มกราคม 25๖๒ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดแ้ ต่งตั้งให้นายศิริพงค์ บัวแดง ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอปากพะยูน จนถึงปัจจบุ ัน ภมู ิสังคม อาณาเขตทตี่ ั้งสถานศึกษา : อาเภอปากพะยูนอยู่ห่างจากศาลากลางจงั หวัดพทั ลุง ไปทางทิศใตต้ าม เส้นทางถนนเพชรเกษมและแยกถนนเพชรเกษม หมายเลข 4 พทั ลุง - หาดใหญ่ ระยะทาง 43 กิโลเมตร และแยกถนนเพชรเกษมบริเวณ สามแยกหว้ ยทราย ไปทางทศิ ตะวนั ออก ระยะทาง 23 กิโลเมตร มีเน้อื ท่ี ประมาณ 433 ตารางกโิ ลเมตร อาณาเขต ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับอาเภอบางแก้ว จังหวัดพทั ลุง และอาเภอกระแสสนิ ธุ์ จงั หวัดสงขลา ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับอาเภอควนเนยี ง จังหวดั สงขลา ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับอาเภอสทิงพระ อาเภอสิงหนครและอาเภอควนเนียง จังหวดั สงขลา ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับอาเภอปา่ บอน จงั หวัดพทั ลุง การคมนาคม ทางบก การคมนาคมระหว่างอาเภอกับจังหวัดโดยใชร้ ถยนต์ เปน็ ถนนลาดยาง (ทางหลวงแผ่นดนิ ) ระยะทาง 66 กิโลเมตร การคมนาคมระหว่างตาบลหมู่บ้านและอาเภอใกล้เคียง ใชร้ ถยนต์ รถจักรยานยนต์ และรถไฟ ดังน้ี 1. ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 4181 ปากพะยนู - พรพุ ้อ ระยะทาง 29 กโิ ลเมตร 2. ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4049 ปากพะยนู - หว้ ยทราย ระยะทาง 23 กโิ ลเมตร 3. ทางรถไฟสายใต้ โดยผ่านป้ายควนพระ สถานีควนเคี่ยมและป้ายหารกง ในเขตตาบล ฝาละมี ผ่าน สถานหี ารเทา ในเขตตาบลหารเทา ผ่านป้ายควนเผยอ ตาบลดอนประดู่ และผ่านสถานีโคกทราย ตาบลดอนทราย
แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๗ สาหรับเส้นทางเชอ่ื มต่อระหวา่ งตาบล หมบู่ า้ น เป็นสภาพถนนลาดยาง และถนนลูกรัง จานวน 30 สาย ทาง น้า มีเรือ หางยาวแล่นในทะเลสาบติดต่อระหว่างตาบลและเขตอาเภอที่มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลสาบ ระหว่าง ตาบลปากพะยูนกับตาบลเกาะหมากมีสะพานเชื่อม คือสะพานเกาะหมาก – ปากพะยูน และระหว่างตาบลเกาะ หมากกับตาบลเกาะนางคา มีสะพานเชอ่ื มคอื สะพานปากเหล็ก สภาพของชมุ ชน จานวน 27 วัด ศาสนสถาน จานวน 16 มสั ยิด 1. มีวดั 2. มีมัสยิด จานวน 1 แห่ง จานวน 16 แหง่ สาธารณสขุ 1. โรงพยาบาลปากพะยูน จานวน 33 แห่ง 2. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล จานวน 6 แหง่ จานวน 1 แหง่ การศกึ ษา จานวน 7 แหง่ 1. มีสถานศึกษาระดบั ประถมศึกษา จานวน 1 แห่ง 2. มีสถานศึกษาระดับมธั ยมศึกษา จานวน 8 ศูนย์ 3. มสี ถานศกึ ษานอกระบบโรงเรียน จานวน 1 แหง่ 4. มี กศน. ตาบล 5. มีโรงเรยี นสอนศาสนา 6. มศี นู ย์พัฒนาเด็กเล็ก 7. มหี อ้ งสมดุ ประชาชน การปกครอง อาเภอปากพะยนู แบ่งการปกครองออกเป็น 2 สว่ น คอื 1. การปกครองสว่ นภมู ภิ าค แบง่ การปกครองออกเป็น 7 ตาบล 65 หมูบ่ ้าน 2. การปกครองส่วนท้องถิ่น แบง่ ออกเป็นเทศบาลตาบล 6 แหง่ และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล 2 แหง่ โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางกายภาพ ประกอบด้วย 1. ชมรมผ้สู งู อายุ จานวน 7 กลุ่ม 2. ชมรมกานัน/ผู้ใหญ่บา้ น จานวน 1 กลุ่ม 3. กลุ่มออมทรัพย์ จานวน 65 กลุม่ 4. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร จานวน 9 กล่มุ 5. อาสาปอ้ งกันยาเสพตดิ จานวน 7 กลมุ่ 6. แหลง่ บรกิ ารการเรียนรู้ จานวน 8 แห่ง ประเพณีวัฒนธรรม
แผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๘ 1. ลากพระแข่งเรือ 2. ลอยกระทง 3. วันสารท 4. ถอื ศลี อด ทาเนยี บผู้บรหิ าร ลาดบั ที่ ชื่อ-สกลุ ตาแหน่ง ระยะเวลา ทด่ี ารงตาแหน่ง 1. นายวโิ รจน์ แสงขา หวั หน้าศนู ย์ ฯ 27 ส.ค.36 – 31 ม.ค.37 2. นายวโิ รจน์ แสงขา ผู้อานวยการ 1 ก.พ. 37 – 5 มิ.ย. 48 3. นายวรวฒุ ิ จรยิ ภคั รติกร ผ้อู านวยการ 6 มิ.ย. 48 - 30 ก.ย.55 4. นายเล่ยี ม โอนกิ ะ ผอู้ านวยการ 1 ต.ค. 55 – 5 ก.พ. 58 5. นางสาวรพพี รรณ ลมิ ปิติ ผู้อานวยการ 6 ก.พ. 58 – 5 พ.ย. 61 6. นายยะฝาด สนั หมาน ครู รก.ผูอ้ านวยการ 5 พ.ย. 61 – ๑๕ ม.ค.๖๒ ๗. นายศิริพงค์ บัวแดง ผูอ้ านวยการ ๑๖ ม.ค.๖๒ – ปัจจบุ นั ทาเนียบคณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อาเภอปากพะยูน ชื่อ –สกลุ ตาแหน่ง คณะกรรมการ 1. นายนิตย์ ศรวี นุ่ ประธานกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา 2. พระสมุห์แสงนรนิ ทร์ คงนวล กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิดา้ นศาสนา ศิลปวัฒนธรรม 3. นายวเิ ชยี ร มณีรัตนโชติ กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิดา้ นพัฒนาสงั คมฯ 4. นายประชีพ ศรีนวลเอยี ด กรรมการ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ดิ ้านการเมืองการ ปกครอง 5. ร.ต.อ.สมพร สภุ เพยี ร กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านความมนั่ คง 6. นายผดงุ แดงทอง กรรมการ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิด้านด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีฯ 7. นายสวสั ดิ์ จิตพรหม กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ ้านภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน 8. นายอานวย ทองหนูนุย้ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒดิ า้ นสาธารณสุข 9. ผู้อานวยการ กศน.อาเภอปาก กรรมการ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอปากพะยูน พะยูน และเลขานุการ 10. นางจาเรยี ง เซ่งเข็ม ผชู้ ่วยเลขานกุ าร บรรณารกั ษช์ านาญการพเิ ศษ
แผนเผชญิ เหตุรองรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๙๕ บุคลากรใน กศน.อาเภอ ประเภท ชื่อ -สกลุ ตาแหนง่ วุฒิ สาขา การศึกษา 1) ผ้บู ริหาร นายศิริพงค์ บวั แดง ผอู้ านวยการ 2) ครู นายธงชยั หอนอก ครผู ชู้ ว่ ย ศศ.ม. การบรหิ ารการศึกษา อส.บ. การจัดการ 3) บุคลากร นางจาเรียง เซง่ เข็ม บรรณารกั ษ์ ทางการศกึ ษา ชานาญการพเิ ศษ อตุ สาหกรรม ครอู าสาสมัครฯ ๓) พนกั งาน 1) นางดวงจติ ร คงเนยี ม ครอู าสาสมัครฯ ค.บ. บรรณารักษศาสตร์ ราชการ 2) นางพชั รศรัณย์ ปรมัตถมันต์ ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล ศศ.บ. เศรษฐศาสตรส์ หกรณ์ ๔) นางสาวกติ ติยา อ่อนเกตุพล ครู กศน.ตาบล ค.บ. การประถมศึกษา ๕) นางบญุ ญา ณ สยุ ครู กศน.ตาบล คหกรรมศาสตร์ ๖) นางจรัสศรี เกอื้ เส้ง ครู กศน.ตาบล ค.บ. พลศกึ ษา ๗) นางสาวธีริศรา อ่อนเกตพุ ล ครู กศน.ตาบล ค.บ. การจดั การทว่ั ไป ๘) นายกนั ต์กมล ชปู ู ครผู ้สู อนคนพิการ บ.ธบ. ศลิ ปศาสตร์ ๙) นายเจษฎา เอยี ดเจรญิ ครศู ูนย์การเรียน ศศ.บ การประถมศึกษา ชมุ ชน ค.บ. การจดั การท่วั ไป 6) ครปู ระจา 1) นางจารุวรรณ เก้อื เกตุ บ.ธบ. กลุ่ม 2) นายปิยะวฒั น์ จันทร์แก้ว สังคมศึกษา ศศ.บ. สังคมศึกษา ค.บ. การปกครอง อาเภอปากพะยูน แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ส่วน คอื 1. การปกครองส่วนภูมภิ าค แบง่ การปกครองออกเปน็ 7 ตาบล 65 หม่บู า้ น 2. การปกครองสว่ นท้องถ่นิ แบ่งออกเป็นเทศบาลตาบล 6 แห่ง และองค์การบริหารส่วน ๒ แหง่ เทศบาลตาบลปากพะยูน ครอบคลุมพ้นื ทบ่ี างส่วนของตาบลปากพะยนู เทศบาลตาบลอ่าวพะยนู ครอบคลมุ พน้ื ทีต่ าบลปากพะยูน (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลปาก พะยนู ) เทศบาลตาบลหารเทา ครอบคลุมพื้นท่ีตาบลหารเทาทั้งตาบล เทศบาลตาบลดอนทราย ครอบคลุมพนื้ ท่ีตาบลดอนทรายท้ังตาบล เทศบาลตาบลเกาะนางคา ครอบคลุมพื้นที่ตาบลเกาะนางคาทงั้ ตาบล เทศบาลตาบลดอนประดู่ ครอบคลุมพ้ืนทต่ี าบลดอนประดู่ทั้งตาบล องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเกาะหมาก ครอบคลุมพ้ืนทต่ี าบลเกาะหมากทั้งตาบล องค์การบรหิ ารส่วนตาบลฝาละมี ครอบคลมุ พ้นื ที่ตาบลฝาละมที งั้ ตาบล อาณาเขตสภาพชุมชน
แผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๖๐ ทต่ี ั้งและขนาด อาเภอปากพะยูนอยูห่ า่ งจากศาลากลางจงั หวัดพัทลุง ไปทางทิศใต้ตามเส้นทางถนนเพชร เกษมและแยกถนนเพชรเกษม หมายเลข 4 พทั ลุง - หาดใหญ่ ระยะทาง 43 กโิ ลเมตร และแยกถนนเพชร เกษมบรเิ วณ สามแยกหว้ ยทราย ไปทางทิศตะวันออก ระยะทาง 23 กโิ ลเมตร มีเนื้อทป่ี ระมาณ 433 ตารางกิโลเมตร อาณาเขต ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับอาเภอบางแก้ว จงั หวดั พัทลุง และอาเภอกระแสสินธ์ุ จงั หวดั สงขลา ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับอาเภอควนเนียง จงั หวัดสงขลา ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับอาเภอสทิงพระ อาเภอสงิ หนครและอาเภอควนเนียง จงั หวัด สงขลา ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับอาเภอปา่ บอน จงั หวัดพทั ลงุ แผนทอ่ี าเภอปากพะยูน การคมนาคม ทางบก การคมนาคมระหวา่ งอาเภอกับจังหวดั โดยใช้รถยนต์ เปน็ ถนนลาดยาง (ทางหลวงแผ่นดนิ ) ระยะทาง 66 กิโลเมตร การคมนาคมระหวา่ งตาบลหมู่บา้ นและอาเภอใกล้เคยี ง ใช้รถยนต์ รถจักรยานยนต์ และรถไฟ ดังนี้ 1. ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4181 ปากพะยนู - พรุพ้อ ระยะทาง 29 กโิ ลเมตร 2. ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4049 ปากพะยูน - หว้ ยทราย ระยะทาง 23 กิโลเมตร 3. ทางรถไฟสายใต้ โดยผ่านปา้ ยควนพระ สถานีควนเค่ยี มและป้ายหารกง ในเขตตาบล ฝาละมี ผา่ น สถานหี ารเทา ในเขตตาบลหารเทา ผา่ นป้ายควนเผยอ ตาบลดอนประดู่ และผ่านสถานีโคกทราย ตาบลดอนทราย สาหรับเสน้ ทางเช่อื มต่อระหว่างตาบล หมู่บา้ น เป็นสภาพถนนลาดยาง และถนนลกู รัง จานวน 30 สาย ทาง น้า มีเรอื หางยาวแล่นในทะเลสาบติดตอ่ ระหวา่ งตาบลและเขตอาเภอท่มี ีอาณาเขตติดต่อกับทะเลสาบ ระหวา่ ง ตาบลปากพะยนู กบั ตาบลเกาะหมากมสี ะพานเชื่อม คือสะพานเกาะหมาก – ปากพะยูน และระหวา่ งตาบลเกาะ หมากกับตาบลเกาะนางคา มสี ะพานเช่อื มคือ สะพานปากเหลก็ ส่งิ อานวยความสะดวก
แผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๗๑ กศน.อาเภอปากพะยูน มีสง่ิ อานวยความสะดวกทเ่ี อื้อต่อการจดั การศึกษา ดงั น้ี 1. อาคารทต่ี ้ัง กศน.อาเภอ จานวน 1 ชนั้ 2. อาคารเรียน กศน.ตาบล จานวน 7 หลัง 3. อาคารห้องสมุดประชาชน(หลังใหม)่ จานวน 1 หลัง 4. อาคารหอ้ งสมุดประชาชน(หลงั เก่า) จานวน 1 หลงั เปน็ อาคารศูนยอ์ าเซียนศึกษา 4. คอมพิวเตอร์ กศน.อาเภอ จานวน 4 เครอื่ ง 5. คอมพวิ เตอร์ กศน.ตาบล จานวน 28 เครือ่ ง 6. ชุดรบั สญั ญานดาวเทยี ม จานวน 10 เครอ่ื ง 7. คอมพวิ เตอรห์ ้องสมุดประชาชน จานวน 4 เคร่ือง 8. จดุ บริการ ICT จานวน 4 จดุ ข้อมลู ประชากรอาเภอปากพะยนู ขอ้ มลู เมื่อวันที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓ จานวนประชากรทง้ั สน้ิ รวม ๕๐,๗๙๕ คน จานวนประชากรชาย รวม ๒๔,๙๗๕ คน จานวนประชากรหญงิ รวม ๒๕,๘๒๐ คน แยกเป็นรายตาบล ดงั น้ี ลาดับ พน้ื ทต่ี าบล ชาย หญงิ รวม ๗,๙๓๐ ๑. ตาบลปากพะยนู ๓,๘๕๒ ๔,๐๗๘ ๑๐,๐๕๓ ๑๐,๗๗๘ ๒. ตาบลหารเทา ๔,๙๕๖ ๕,๐๙๗ ๖,๓๕๓ ๒,๓๙๘ ๓. ตาบลฝาละมี ๕,๒๙๔ ๕,๔๘๔ ๗,๖๑๑ ๕,๖๗๒ ๔. ตาบลดอนประดู่ ๓,๑๒๗ ๓,๒๒๖ ๕๐,๗๙๕ ๕. ตาบลดอนทราย ๑,๑๖๖ ๑,๒๓๒ ๖. ตาบลเกาะหมาก ๓,๖๙๐ ๓,๙๒๑ ๗. ตาบลเกาะนางคา ๒,๘๙๐ ๒,๗๘๒ รวม ๒๔,๙๗๕ ๒๕,๘๒๐ หมายเหตุ ข้อมูลจากงานทะเบยี นอาเภอปากพะยนู ณ วันที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ข้อมูลด้านสงั คม ๗๕ % ๒๐ % ๑. ศาสนา ๕% ๑.๑ นบั ถอื ศาสนาพุทธ ๑.๒ นบั ถอื ศาสนาอิสลาม จานวน 27 วัด ๑.๓ นับถือศาสนาอนื่ ๆ ๒. สถานทป่ี ระกอบพิธีทางศาสนา 1. มวี ดั
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๘๒ 2. มมี สั ยิด จานวน 16 มัสยิด ข้อมูลด้านเศรษฐกจิ สภาพทางเศรษฐกิจ : การประกอบอาชีพของราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาสวนยางพารา และสวน ผลไม้ (สับปะรด) รายไดเ้ ฉล่ยี ๔๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี แบง่ ออกเปน็ ๔ กลุ่มอาชพี ดังนี้ ๑. อาชีพเกษตรกรรม ๘๙ % ๒. อาชีพรับจา้ งอื่นๆ ๐.๕ % ๓. อาชพี พาณชิ ยกรรม ๐.๕ % ๔. อื่นๆ ๑๐ % อาชพี การประกอบอาชพี ของราษฎรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพ ทาสวนยางพารา และสวนผลไม้ รายได้ เฉล่ีย ๔๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี แบ่งออกเปน็ ๕ กลมุ่ อาชพี ดังนี้ ๑. อาชีพหลัก อาชพี เกษตรกรรม ๘๙ % ได้แก่ ๑.๑ ทาสวนยางพารา ๑.๒ ทาไร่สบั ปะรด ๑.๓ ทาสวนสละ ๒. อาชพี รบั จา้ ง ๐.๕ % ๓. อาชีพพาณิชยกรรม ๐.๕ % ๔. อ่นื ๆ ๑๐ % ๕. อาชพี เสริม ได้แก่ ๕.๑ ทาไร่นาสวนผสม ๕.๒ การดาเนนิ การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จานวนธนาคาร มี ๓ แห่ง ไดแ้ ก่ ๑. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) สาขาปากพะยูน ๒. ธนาคารกรุงไทย สาขาปากพะยนู ๓. ธนาคารออมสิน สาขาปากพะยนู จานวนหา้ งสรรพสินค้า รา้ นสะดวกซ้ือ มี ๒ แห่ง ๑. โลตสั เอกซ์เพลส ๒. เซเ่ ว่น อีเลฟเว่น ตลาดปากพะยูน
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๙๓ ขอ้ มูลด้านการศกึ ษา จานวน 33 แหง่ 1. มสี ถานศึกษาระดับประถมศกึ ษา จานวน 6 แหง่ 2. มีสถานศึกษาระดบั มัธยมศึกษา จานวน 1 แหง่ 3. มีสถานศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น จานวน 7 แหง่ 4. มี กศน. ตาบล จานวน 1 แหง่ 5. มโี รงเรยี นสอนศาสนา จานวน 8 ศนู ย์ 6. มีศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก จานวน 1 แหง่ 7. มีหอ้ งสมุดประชาชน ขอ้ มลู ดา้ นสาธารณสุข จานวน 1 แหง่ 1. โรงพยาบาลปากพะยูน จานวน 16 แหง่ 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล จานวน 1 แหง่ ๓. ศนู ยส์ ุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน จานวน 1 แห่ง ๔. คลนิ ิกเวชปฏิบตั บิ า้ นโพธิ์ โครงสรา้ งพ้ืนฐานทางกายภาพ ประกอบดว้ ย จานวน 7 กลุม่ 1. ชมรมผูส้ งู อายุ จานวน 1 กลุ่ม 2. ชมรมกานัน/ผู้ใหญบ่ ้าน จานวน 65 กลุ่ม 3. กลุ่มออมทรัพย์ จานวน 9 กลมุ่ 4. สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร จานวน 7 กลุ่ม 5. อาสาป้องกันยาเสพตดิ จานวน 8 แห่ง 6. แหลง่ บรกิ ารการเรยี นรู้ ทศิ ทางการดาเนินงานของสถานศึกษา วิสัยทศั น์ กศน.อาเภอปากพะยูน ร่วมสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับคนไทยอย่างเสมอภาคเท่าเทียม ท่ัวถงึ และมีคณุ ภาพ พนั ธกิจ 1. พัฒนาการบริหารจัดการศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 2. ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญามาใช้ให้เกิด ประสทิ ธภิ าพ 3. ส่งเสริม สนับสนุนและกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 4. พัฒนาผ้เู รียน/ผู้รบั บริการใหม้ คี ณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย
แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๐๔ 5. พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/การให้บริการ 6. พัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในให้มคี ณุ ภาพ 7. พัฒนาผูเ้ รียน/ผรู้ บั บริการ และสถานศึกษาใหม้ อี ัตลักษณแ์ ละเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่น 8. พฒั นาสถานศึกษาเพื่อพัฒนาระดบั คุณภาพ . อตั ลักษณ์ จติ อาสา นาพาเศรษฐกิจพอเพยี ง จานวนผเู้ รยี น ผู้รบั บรกิ าร และจานวนผู้จดั การเรยี นรู้ (ปงี บประมาณที่จัดทารายงานการประเมินตนเอง) หลกั สูตร/ประเภท จานวนผู้เรยี น (คน) การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ๗ - ระดับประถมศึกษา ๒๐๔ - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ๒๓๘ - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๔๔๙ รวม จานวนบุคลากร (ปีงบประมาณที่จัดทารายงานการประเมินตนเอง) ประเภท/ตาแหนง่ ตา่ กวา่ ป.ตรี จานวน (คน) รวมจานวน ป.ตรี ป.โท ป. ข้าราชการครู - ๒ บุคลากรทางการศึกษา - เอก ๑ ลกู จา้ งประจา - ๑๑ - - พนกั งานราชการ ๑- - --- - ครอู าสาสมคั ร - ครู กศน. ตาบล - ๒- - ๒ - ครูศนู ย์การเรียนชุมชน อตั ราจา้ ง - ๖- - ๖ - ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชน - อืน่ ๆ (ระบ)ุ ครสู อนคนพิการ - --- - รวมจานวน - ๑- - ๑ - ๑- - ๑ - ๑๒ ๑ - ๑๓
แผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๑๑๕ กศน.ตาบล/แขวง/ศนู ย์การเรียนชุมชน กศน.ตาบล/แขวง ที่ตัง้ ผปู้ ระสานงาน/ผูร้ บั ผิดชอบ 1. กศน.ตาบลปากพะยูน บา้ นโพธิ์ ม. 4 ตาบลปากพะยูน นางสาวกิตติยา ออ่ นเกตุพล 2. กศน.ตาบลหารเทา บ้านคอกช้าง ม.1 ต.หารเทา นางจรสั ศรี เกอ้ื เสง้ 3. กศน.ตาบลฝาละมี บา้ นฝาละมี ม. 1 ต.ฝาละมี นางสาวธรี ศิ รา ดที องออ่ น 4. กศน.ตาบลดอนประดู่ บ้านชายพรุ ม.7 ต.ดอนประดู่ นายเจษฏา เอยี ดเจรญิ 5. กศน.ตาบลดอนทราย บา้ นดอน ม.3 ต.ดอนทราย นางบุญญา ณ สยุ 6. กศน.ตาบลเกาะหมาก บา้ นทา่ วา ม.๑ ต.เกาะหมาก นายกนั ตก์ มล ชูปู 7. กศน.ตาบลเกาะนางคา บ้านเกาะนางทอง ม.๘ ต.เกาะนางคา นางดวงจิตร คงเนียม ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน ทีต่ ง้ั ผู้ประสานงาน/ผ้รู บั ผิดชอบ ศนู ย์การเรยี นชุมชนปากพะยูน บ้านปากพะยนู หมู่ ๑ ตาบลปากพะยนู นายปยิ ะวฒั น์ จันทร์แกว้
แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๒๖ โครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา ผู้อานวยการ รองผ้อู านวยการ คณะกรรมการสถานศกึ ษา กลมุ่ งานอานวยการ กลุ่มงานสง่ เสริมปฏิบัตกิ าร กลุม่ งานการศึกษาตามอธั ยาศัย - งานธุรการ และสารบรรณ - งานสง่ เสรมิ การรู้หนังสือ - งานการศึกษาตอ่ เนื่อง - งานการเงนิ งานการศึกษาข้นั พื้นฐานนอกระบบ - งานการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ - งานบัญชี - งานพฒั นาหลกั สูตร - งานการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทักษะชวี ิต - งานงบประมาณ - งานทะเบยี น - งานพสั ดุ - งานวดั ผล และงานเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน - งานบุคลากร - งานศูนย์บริการให้คาปรกึ ษาแนะนา - งานจัดกระบวนการเรยี นรูเ้ ศรษฐกิจ - งานอาคารสถานที่ - งานกองทนุ กู้ยมื เพ่ือการศกึ ษา - งานแผนงานและโครงการ พอเพยี ง - งานประชาสมั พนั ธ์ - งานการศึกษาตามอัธยาศยั - งานขอ้ มูลสารสนเทศและการรายงาน (พฒั นาแหล่งเรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญา - งานควบคมุ ภายใน ทอ้ งถ่นิ ศูนยก์ ารเรียนชุมชน หอ้ งสมุด - งานนิเทศภายใน ตดิ ตามและ ฯลฯ) ประเมนิ ผล - งานพฒั นาสอ่ื นวัตกรรม และ - งานประกนั คุณภาพภายใน เทคโนโลยี - งานกจิ กการนักศึกษา สถานศึกษา - งานส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครือข่าย - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ - งานกิจการลกู เสือและยุวกาชาด สถานศกึ ษาและอาสาสมัคร กศน.
แผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๑๗๓ บทท่ี ๒ สถานการณ์เก่ียวกบั เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๒.๑ ไวรสั โคโรนา หรอื โควดิ -๑๙ คืออะไร ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เป็นไวรัสที่ถูกพบคร้ังแรกในปี ๑๙๖๐ แต่ยังไม่ทราบแหล่งท่ีมาอย่างชัดเจน ว่ามาจากทใี่ ด แต่เป็นไวรัสที่สามารถตดิ เชื้อไดท้ ัง้ ในมนษุ ย์และสัตว์ ปัจจุบันมกี ารคน้ พบไวรัสสายพันธุ์นี้แล้วท้ังหมด ๖ สายพันธุ์ ส่วนสายพันธุ์ท่ีกาลังแพร่ระบาดหนักทั่วโลกตอนน้ีเป็นสายพันธุ์ที่ยังไม่เคยพบมาก่อน คือ สายพันธ์ุ ที่ ๗ จึงถูกเรียกว่าเป็น “ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ” และในภายหลังถูกต้ังช่ืออย่างเป็นทางการว่า “โควิด-๑๙” (COVID-๑๙) ๒.๒ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) จากการรายงาน สถานการณ์ ของทมี ตระหนกั รสู้ ถานการณ์ในภาวะฉุกเฉินโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) กรมควบคมุ โรคกระทรวงสาธารณสขุ ประเด็นที่นา่ สนใจในตา่ งประเทศ - สาธารณรัฐอินโดนีเซีย รัฐบาลวางแผนสารองการผลิตออกซิเจน ร้อยละ ๙๐ เพื่อรองรับความต้องการ ทางการแพทย์ ท่ามกลางจานวนผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ที่เพ่ิมสูงขึ้นโดย ออกซิเจน ท้ังหมดจะถกู นาไปใช้ใน ๗ จังหวัด บนเกาะชวา และบาหลี ไดแ้ ก่ บนั เตนิ จาการต์ ้าชวาตะวนั ตก ชวากลาง ยอกยา การ์ตา ชวาตะวันออกและบาหลี - ราชอาณาจักรกัมพูชา รัฐบาลสั่งให้เจ้าหน้าท่ีท้องถ่ินเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจสอบทุกคนที่เดิน ทางเข้าประเทศและมีการปิดด่านทางบก ท่ีติดกับประเทศเวียดนามช่ัวคราวเพื่อสกัดไม่ให้โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) แพร่เข้ามาสกู่ มั พชู าและใชม้ าตรการหลากหลายเพอ่ื ชะลอการแพร่ระบาดในประเทศ - สาธารณรัฐเกาหลี รัฐบาลวางแผนขยายการจากัดจานวนคนในการรวมตัวทางสังคมจาก ๔ คนเป็น ๖ คน ขยายเวลารับประทานอาหารในร่มท่ีรา้ นอาหารจนถึงเที่ยงคืน และอนุญาตให้ผู้ท่ีได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) แลว้ ออกไปนอกบ้านโดยไม่สวมหน้ากากอนามัยต้ังแต่เดือนนี้ยกเว้นในกรุงโซล และพนื้ ท่ีใกลเ้ คยี ง เนอื่ งจากยังมีผตู้ ดิ เชอื้ เพ่ิมข้ึน - กรมอนามัย จัดทาแผนเผชิญเหตุ เม่ือพบการติดเชื้อในชุมชน โรงเรียน ครูและนักเรียน สถานศึกษา จะต้องปฏิบัติอย่างไร สาหรับมาตรการในการเปิดเรียนที่ต้องเน้นย้า คือ โรงเรียนต้องประเมิน Thai Stop COVID Plus ส่วนนักเรยี น ครบู ุคลากรทางการศกึ ษาและครอบครัว ประเมินความเส่ียง Thai Save Thai หากมีความเสี่ยง สูงต้องปฏิบัติตาม DMHTT อย่างเคร่งครัด สวมหน้ากากอนามัย ๑๐๐% โดยเฉพาะครูจะต้องมีการสวมหน้ากาก
แผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๘๔ อนามยั ใส่เฟสชิล ปฏิบัตติ ามแผนเผชญิ เหตเุ ม่ือมีการติดเชื้อในโรงเรียนหรือชุมชน และมีทีมกากับติดตามเฝ้าระวัง การระบาดในโรงเรยี นหรือชมุ ชน - มาตรการของจังหวัดพัทลุงในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID- ๑๙) - กรมควบคุมโรค เสนอปรบั มาตรการควบคมุ โรคใหเ้ หมาะสมใน ๔ มาตรการ คือ ๑. การค้นหาผตู้ ดิ เชอื้ ดแู ลรกั ษา แยกกกั ตัว และควบคุมโรค เน้นผสู้ งู อายุและผูท้ ีเ่ สย่ี งต่อการป่วยรนุ แรง ๒. การจดั การเตยี ง มกี ารกักตัวดแู ลรกั ษาที่บา้ น หากมีอาการมากข้นึ จะส่งตอ่ เข้ารักษาในสถานพยาบาล ๓. มาตรการวัคซีน โดยจัดวัคซีนบูสเตอร์โดสให้บุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า เพื่อให้ภูมิคุ้มกันสูงข้ึน ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ชนิดกลายพันธ์ุได้รวมถึงเน้นฉีดวัคซีนในผู้สูงอายุและโรค เร้อื รัง ๗ กลมุ่ โรค เพ่อื ลดอัตราการปว่ ยรุนแรงและเสียชีวิต ๔. มาตรการทางสงั คมและองค์กรกอ่ นเข้าสชู่ ีวิตวถิ ใี หม่
แผนเผชญิ เหตุรองรับสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๙๕ ๒.๓ อาการเมื่อตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ หรือไวรัสโควดิ -๑๙ อาการของไวรัสโควดิ -๑๙ ท่สี ังเกตได้งา่ ย ๆ ดว้ ยตวั เอง ดงั น้ี ๑. มีไข้ ๒. เจบ็ คอ ๓. ไอแห้ง ๆ ๔. น้ามกู ไหล ๕. หายใจเหนือ่ ยหอบ ๒.๔ กลุ่มเสีย่ งติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโควิด-๑๙ ๑. เด็กเล็ก (แต่อาจไม่พบอาการรุนแรงเทา่ ผู้สงู อายุ) ๒. ผสู้ งู อายุ ๓. คนทีม่ ีโรคประจาตัวอยูแ่ ล้ว เช่น โรคหวั ใจ เบาหวาน โรคปอดเร้อื รงั ๔. คนท่ภี มู คิ ้มุ กันผิดปกติ หรอื กินยากดภูมติ า้ นทานโรคอยู่ ๕. คนท่ีมนี ้าหนกั เกินมาตรฐานมาก (คนอว้ นมาก) ๖. ผู้ท่ีเดินทางไปในประเทศเสี่ยงติดเชื้อ เช่น จีน เกาหลีใต้ ญ่ีปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง มาเก๊า สิงคโปร์ มาเลเซีย เวียดนาม อิตาลี อหิ รา่ น ฯลฯ ๗. ผ้ทู ่ีตอ้ งทางาน หรอื รกั ษาผ้ปู ว่ ย ติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ หรือโควิด-๑๙ อย่างใกลช้ ดิ ๘. ผู้ท่ีทาอาชีพท่ีต้องพบปะชาวต่างชาติจานวนมาก เช่น คนขับแท็กซี่ เจ้าหน้าท่ีในโรงพยาบาล ลูกเรือสาย การบินตา่ ง ๆ เป็นตน้ หากมีอาการโควดิ ๑๙ ควรทาอยา่ งไร - หากมีอาการของโรคที่เกิดขึ้นตาม ๕ ข้อดังกล่าว ควรพบแพทย์เพ่ือทาการตรวจอย่างละเอียด และเมื่อแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบัง ไม่บิดเบือนข้อมูลใด ๆ เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อการ วนิ ิจฉัยโรคอย่างถูกต้องมากทีส่ ุด - หากเพ่งิ เดนิ ทางกลับจากพื้นทเี่ สย่ี ง ควรกักตวั เองอย่แู ต่ในบา้ น ไมอ่ อกไปข้างนอกเป็นเวลา ๑๔–๒๗ วัน เพ่อื ให้ผา่ นช่วงเชื้อฟักตัว และใหแ้ นใ่ จว่าไมต่ ิดเชอ้ื
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๒๖๐ ๒.๕ วธิ ปี อ้ งกนั การติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ๑. หลีกเลยี่ งการใกลช้ ิดกับผปู้ ่วยที่มีอาการไอ จาม นา้ มูกไหล เหน่ือยหอบ เจบ็ คอ ๒. หลกี เลย่ี งการเดนิ ทางไปในพ้นื ท่ีเส่ยี ง ๓. สวมหน้ากากอนามัยทกุ ครัง้ เม่อื อยใู่ นทส่ี าธารณะ ๔. ระมัดระวังการสัมผัสพื้นผิวท่ีไม่สะอาด และอาจมีเช้ือโรคเกาะอยู่ รวมถึงสิ่งที่มีคนจับบ่อยครั้ง เช่น ท่ีจับบน BTS, MRT, Airport Link ที่เปิด-ปิดประตูในรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้า ราวบันได ฯลฯ เม่ือจับแล้ว อยา่ เอามือสมั ผสั หน้า และขา้ วของเคร่อื งใชส้ ่วนตวั ต่าง ๆ เชน่ โทรศัพทม์ ือถอื กระเป๋า ฯลฯ ๕. ล้างมือให้สม่าเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย ๒๐ วินาที ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ ไม่ตา่ กว่า ๗๐% (ไม่ผสมน้า) ๖. งดจบั ตา จมูก ปากขณะทไี่ มไ่ ดล้ ้างมอื ๗. หลกี เลยี่ งการใกลช้ ดิ สัมผสั สัตวต์ า่ ง ๆ โดยทีไ่ ม่มกี ารป้องกัน ๘. รับประทานอาหารสุก สะอาด ไมท่ านอาหารท่ีทาจากสัตว์หายาก ๙. สาหรับบคุ ลากรทางการแพทยห์ รือผู้ทต่ี อ้ งดแู ลผปู้ ว่ ยท่ตี ิดโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่แว่นตานิรภัย เพื่อป้องกันเช้ือในละอองฝอยจากเสมหะหรือสารคัดหล่ังเข้า ตา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยปากพะยูน มีความตระหนักและมีความห่วงใยใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในระยะเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ สถานศึกษาได้ดาเนินการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอน การจัดเตรียมสถานท่ี เพื่อรองรับการเปิดเรียนแบบ On site ทั้งรูปแบบ การจัดการเรียนการสอน การเว้นระยะห่าง การ จัดสถานที่น่ังเรียน อีกทั้งเตรียมความพร้อมด้านความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนของผู้เรียนเม่ือสถานศึกษา สามารถเปิดเรยี นแบบ On site ได้ โดยผา่ นครปู ระจากลมุ่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยปากพะยูน ดาเนินการตามพระราชกาหนดการ บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินของกระทรวงสาธารณสุข โดยการประเมินตนเองสาหรับสถานศึกษา ในการ เตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิดเรียน ผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus จานวน ๔๔ ข้อ ๖ มติ ิ (ดงั ในภาคผนวก)
แผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๑๑๗ บทที่ ๓ แผนเผชญิ เหตุรองรับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในประเทศไทยยังแพร่กระจาย อย่างต่อเน่ือง และมีจานวนผู้ป่วยสะสมเพิ่มมากข้ึนในทุกวัน สถานการณ์ทั่วโลก และประเทศใกล้เคียง ยังมีความ รุนแรงอย่างต่อเน่ือง ในการเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ให้มีการเรียนการสอน ๑๐๐% ดังนั้นจึงควรกาหนด ให้มีแผนเผชิญเหตุรองรับ สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVD -๑๙) ในสถานศึกษา เพ่ือเป็นการเตรียมการและเตรียมพร้อมรองรับ สถานการณ์ที่อาจจะเกิดข้ึน เพื่อเป็นแนวปฏิบัติดามมาตรการ การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อย่างเคร่งครัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ปากพะยูน จงึ ไดก้ าหนดแนวทางปฏิบัตเิ พื่อเป็นแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVD -๑๙) ดงั กล่าวขึ้น ๓. มาตรการเตรยี มความพร้อมเปิดภาคเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVD -๑๙) ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยปากพะยูน ๑. การกาหนดมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVD -๑๙) ของ สถานศึกษา ๓.๑ สภาพการดาเนินการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยปากพะยูน ได้กาหนดมาตรการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVD -๑๙) ของสถานศกึ ษา ดงั น้ี ๓.๑.๑ มาตรการท่ัวไป ๑. ใหข้ า้ ราชการและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา นกั ศกึ ษา ตลอดจนบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาติดต่อราชการทุก คนใสหนา้ กากอนามยั หรอื หน้ากากผา้ ตลอดเวลา ๒. จัดให้มีจุดเข้า – ออก เพื่อวัดอุณหภูมิร่างกายและล้างมือด้วยแอลกอฮอร์หรือเจลล้างมือท่ีจัดเตรียม ไวใ้ หบ้ รกิ าร
แผนเผชญิ เหตุรองรับสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๑๒๘๒ ๓. ให้เว้นระยะห่างบุคคลอย่างน้อย ๑-๒ เมตร ในระหว่างปฏิบัติหน้าท่ี หรือทากิจกรรมใดๆในพ้ืนที่ ส่วนกลาง เชน่ ห้องประชุม หอ้ งทางาน เปน็ ต้น ๔. ให้ข้าราชการและบุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยปากพะยูน ทุกคนงด ไปสถานที่เส่ยี ง เช่น สถานบนั เทงิ สถานท่ีแออัด เปน็ ตน้ ๕. ให้ข้าราชการและบุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยปากพะยูน งดจัด กิจกรรมสงั สรรค์ หรือทากจิ กรรมรวมกลมุ่ คนจานวนมากทม่ี คี วามเสี่ยงต่อโรคระบาดของเชื้อโรค ๖. ให้ข้าราชการและบุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยปากพะยูน มีของใช้ สว่ นตัว เช่น แกว้ น้า ภาชนะใส่อาหาร เปน็ ตน้ หลีกเลยี่ งการรบั ประทานอาหารและใช้ส่ิงของรว่ มกับผู้อน่ื ๗. ใหข้ ้าราชการและบคุ ลากรศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยปากพะยูนทุกคนจัดทา ข้อมูลกิจกรรมและลาดับเวลาส่วนบุคคล (Time Line) เพื่อเฝ้าระวังตัวเองและผู้ใกล้ชิด เป็นข้อมูลสาหรับกรณี การสอบสวนโรค ๓.๑.๒ มาตรการการปฏิบัตติ นของขา้ ราชการและบุคลากรศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ปากพะยนู ๑. สวมหนา้ กากอนามัยทุกครั้งทท่ี าการเรียนการสอน ๒. ออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกบั สภาพสถานการณ์ ๓. จดั ทาสื่อ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรปู แบบออนไลน์และใชใ้ นห้องเรียน ๔. เน้นการทางานรายบุคคล หรอื การอภิปราย การมอบหมายงาน ๕. มกี ารวัดผลตามสภาพจรงิ เนน้ การประเมนิ ชิ้นงาน ๖. ครูให้ความรู้ ความเขา้ ใจ การดแู ลสขุ อนามัยของนักศึกษาอย่างสมา่ เสมอ ๗. ประสานกับนกั ศกึ ษาและผู้ปกครองนักศึกษาเพื่อตดิ ตามการเรยี นการสอน ๘. หลีกเล่ียงการทากิจกรรมกลุม่ ของนักศึกษา ๓.๑.๓ มาตรการการปฏิบัติตนของนักศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปากพะยนู ๑. สวมหนา้ กากอนามัยก่อนเข้าสถานศึกษาและสวมหน้ากากตลอดเวลาท่ีอยู่ในศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยปากพะยนู ๒. ให้เดนิ ผ่านจุดคดั กรองท่ีทางสถานศกึ ษากาหนด/เว้นระยะห่างทางสังคมดว้ ย ๓. ครูประจากล่มุ ติดตามนกั ศึกษาอยา่ งใกล้ชิด
แผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๑๓๙ ๔. นกั ศึกษาตอ้ งมีจิตสานกึ รับผดิ ชอบในการดูแลรักษาความสะอาดของตนเองอยู่ตลอดเวลา ทั้งท่ีขระทา การพบกลุ่มและการมาเรียนในครงั้ ต่อไป ๕. นกั ศกึ ษาต้องลา้ งมือดว้ ยน้าสบู่หรอื แอลกอฮอร์ หรอื เจลล้างมือบอ่ ยๆ ๖. นักศึกษาต้องหลีกเล่ียงการรวมกลมุ่ กัน ๗. ใหน้ ักศกึ ษาทุกคนปฏิบัติตามมาตรการของสถานศึกษาและมาตรการของภาครฐั อย่างเคร่งครัด ๓.๑.๔ มาตรการการดาเนินการของสถานศึกษาระหว่างเปิดภาคเรียนของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ปากพะยนู ๑. จัดให้มีการเรียนการสอนในรูปแบบ Onsite โดยมีมาตรการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล และ มาตรการเฝา้ ระวังการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ๒. จัดให้มีการเรียนการสอนในรูปแบบ Online หรือแบบผสมผสานสาหรับนักศึกษาท่ีไม่ประสงค์มา เรียนแบบ Onsite หรอื มเี หตุจาเปน็ ท่ีไมส่ ามารถมาเรยี นแบบ Onsite ได้ ๓. จดั ให้มกี ารส่มุ ตรวจ ATK สาหรบั นกั ศึกษา ข้าราชการ บคุ ลากร และบุคลากรทเี่ ก่ียวข้อง ๔. มีการคดั กรองนักศกึ ษา ผู้บรหิ าร ครู บุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้อง จะต้องสวมหน้ากากอนามัย การ ล้างมือ การเว้นระยะห่าง การทาความสะอาด และลดความแออัด ใหด้ าเนนิ การอย่างเครง่ ครดั ๕. ควบคุมทางเข้า-ออกของสถานศึกษา อย่างเคร่งครัดและเข้มข้น โดยหลีกเลี่ยงเข้าไปสัมผัสในพ้ืนที่ ตา่ งๆ ท่ีเปน็ พื้นทเ่ี ส่ยี ง ๖. การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวทางการปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการป้องกัน โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในสถานศกึ ษา ๗. รว่ มมอื กบั ภาคีเครอื ข่ายในการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ๘. ดาเนินการปิดสถานศึกษา กรณีพบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙ โดย ดาเนินการดังน้ี ๘.๑ ให้มีการปดิ สถานศกึ ษาท่ีพบผ้ปู ่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙ เป็น เวลา ๓ วัน เพ่อื ทาความสะอาดสถานทอี่ าคารเรยี น ๓.๒ กิจกรรมการเฝ้าระวังและป้องกันโรคเมื่อเปิดการเรียนการสอนของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ปากพะยูน ๑. ให้ตรวจสอบการขาดเรียน/ลาป่วยของนักศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา หากพบว่าผู้ป่วยมาก ผดิ ปกตใิ ห้รายงาน ผู้บริหารและรายงานเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุขในพื้นที่ให้ทราบ
แผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๒๐๔ ๒. ให้มีการคัดกรองไข้และอุณหภูมิและอาการทางเดินหายใจของนักศึกษา ครู และบุคลากรใน สถานศกึ ษาทกุ วนั ๓. หากพบวา่ มผี ุ้ไขจ้ านวนมากผดิ ปกติให้เจา้ หน้าท่หี รอื ครปู ระจากลุ่มที่ไดร้ ับมอบหมายในการดูแลป้องกัน ควบคมุ โรคของสถานศกึ ษา แจง้ ไปยังหน่วยงานสาธารณสขุ ในพ้ืนที่ ๔. ห้องพยาบาลในสถานศึกษาหากมีผู้เขา้ รับบรกิ ารให้บนั ทึกรายชอื่ และอาการของนกั ศึกษาทปี่ ว่ ย ๕. แจ้งผปู้ กครองในกรณีท่ีนักศกึ ษามีอาการเจบ็ ป่วย ๖. งดกจิ กรรมรวมคนทเ่ี สย่ี งต่อการติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙ ๗. พยายามเปิดประตูหน้าต่างของสถานศึกษา เพื่อให้มีอากาศถ่ายเท งดการเรียนการสนอนท่ีมี เครอ่ื งปรับอากาศ และกรณีที่เส่ียงต่อการแพรเ่ ช้อื ในรูปแบบตา่ งๆ ๓.๓ กิจกรรมเม่ือพบผ้ปู ่วยยืนยนั ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยปากพะยนู ๑. เปดิ สถานศึกษาทีพ่ บผปู้ ว่ ยยืนยนั เพื่อแยกนักศกึ ษา ๒. ทาความสะอาดสถานที่ทีผ่ ปู้ ่วยนง่ั เรยี นหรอื ใช้งาน เชน่ โต๊ะ เกา้ อ้ี ห้องสขุ า เป็นต้น ๓. สารวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคนบริเวณทางเข้า-ออกของสถานศึกษาอย่างเคร่งครัด หาก พบมีไข้ หรืออาการทางเดินหายใจให้นาส่งโรงพยาบาลทันที ๔. ผ้ทู ีส่ มั ผัสเสีย่ งสงู เจา้ หน้าที่สาธารณสุขจะดาเนินการเก็บตัวอย่างทางเดินหายใจส่งตรวจหาเช้ือ และ แยกตวั อยบู่ า้ นเป็นเวลา ๑๔ วัน ๕. ผูส้ มั ผสั เสย่ี งต่า ไม่ต้องเก็บตัวอย่าง แต่ให้แยกตัวอยู่ท่ีบ้าน และรายงานอาการทุกวัน หากพบว่ามร อาการเขา้ เกณฑใ์ ห้แจง้ เจ้าหน้าทีท่ ราบ ๖. ทมี สอบสวนโรคทาการติดตามผูส้ ัมผสั ทกุ วัน จนครบกาหนด ๗. วัดไข้ทกุ วนั หากพบวา่ อณุ หภมู ิกายสูงกวา่ หรือเท่ากับ ๓๗.๕ องศา หรือมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ มี น้ามูก ให้โทร รายงานครผู รุ้ ับผิดชอบของสถานศึกษา เพื่อแจง้ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข ๘. แยกของใช้ส่วนตวั เชน่ ผา้ เชด็ หนา้ ผ้าเช็ดตัว แก้วนา้ จาน ช้อน ออกจากผอู้ ยูร่ ว่ มทพ่ี กั อาศัย ๙. ทกุ คนในบา้ นใหล้ ้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลงั เขา้ ห้องน้า หรอื จับส่งิ ของรว่ มกัน ๙. หา้ มออกจากทพ่ี กั อาศัยโดยเด็ดขาด ๓.๔ การสรา้ งความรว่ มมือจากทุกภาคส่วน ๑) มีศนู ยป์ ระสานงานและติดตามขอ้ มูลระหว่างสถานศึกษาและหน่วยงานตา่ ง ๆ ๒) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลในความร่วมมือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๒๕๑ ๓) สถานศึกษาแตง่ ตัง้ คณะกรรมการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ประกอบดว้ ย เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข เจา้ หน้าท่อี งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ฝ่ายปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ๓.๕ แนวปฏิบตั สิ าหรับบุคลากรในสถานศึกษา ๓.๕.๑ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ๑. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติ พร้อมทั้งจัดต้ังคณะทางานดาเนินการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ๒. ทบทวน ปรับปรุง ซอ้ มปฏิบัติตามแผนฉกุ เฉินของสถานศกึ ษา ๓. ให้มีการส่ือสารประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เกี่ยวกับ นโยบาย มาตรการ การปฏิบัติตนการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เกี่ยวข้อง และลดการตีตราทางสังคม ( Social stigma) ๔. มีมาตรการคดั กรองสขุ ภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเขา้ ไปในสถานศึกษา (Point of entry) ๕. ควรพิจารณาการจัดให้นักศึกษาสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้ อย่างตอ่ เนอื่ ง รวมถึงการติดตามกรณีนกั ศกึ ษาขาดเรยี น ลาปว่ ย ๖. กรณีพบนักศกึ ษา ครู บคุ ลากร หรือผปู้ กครองอยใู่ นกลุ่มเสีย่ งหรือผ้ปู ว่ ยยนื ยนั เขา้ มาในสถานศึกษา ใหร้ ีบแจง้ เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ ในพ้นื ที่ ๗. ควบคุม กากับ ติดตาม และตรวจสอบการดาเนนิ งานตามมาตรการอย่างเครง่ ครัดและต่อเนื่อง ๓.๕.๒ ครูประจากลุม่ ๑. ตดิ ตามขอ้ มลู ข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมูลที่เช่ือถือได้ ๒. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้หยุดปฏิบัติงาน และรบี ไปพบแพทย์ทนั ที ๓. ปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด ได้แก่ ล้างมือบ่อย ๆ สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามยั และเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล หลีกเล่ียงการไปในสถานทท่ี ี่แออัดหรือแหลง่ ชมุ ชน ๔. สื่อสารความรู้ คาแนะนาหรือจัดหาส่ือประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเส่ียงจากการ แพรก่ ระจายโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ๕. ทาความสะอาดสื่อการเรยี นการสอนหรืออปุ กรณ์ของใช้รว่ มทเ่ี ป็นจดุ สัมผสั เสย่ี ง ทุกคร้งั หลังใชง้ าน ๖. ตรวจคดั กรองสขุ ภาพทกุ คนท่ีเข้ามาในสถานศกึ ษาตามข้ันตอน
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๖๒ ๓.๕.๓ นกั ศึกษา ๑. ติดตามขอ้ มูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคจากแหล่งข้อมลู ทเ่ี ชอื่ ถอื ได้ ๒. สงั เกตอาการป่วยของตนเอง หากมอี าการทางเดินหายใจอย่างใดอยา่ งหน่ึง รบี แจ้งครหู รือผู้ปกครอง ๓. มีและใช้ของใชส้ ่วนตัว ไมใ่ ชร้ ่วมกบั ผูอ้ ืน่ ๔. ปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด ได้แก่ ล้างมือบ่อย ๆ สวมหน้ากากผ้าหรือ หน้ากากอนามัย และเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล หลกี เล่ยี งการไปในสถานทที่ ่ีแออัดหรอื แหล่งชมุ ชน ๕. ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรุงสุก ร้อน สะอาด อาหารครบ ๕ หมู่ และผัก ผลไม้ ออกกาลงั กาย และนอนหลับให้เพียงพอ ๖. กรณีนักศึกษาขาดเรียนหรอื ถูกกกั ตัว ควรตดิ ตามความคบื หน้าของการเรยี นอยา่ งสม่าเสมอ ๓.๖ ดา้ นอนามยั สงิ่ แวดล้อมภายในโรงเรยี น ๓.๖.๑ หอ้ งเรียน สถานท่ีสาหรับการจัดการเรียนสอน ให้ดาเนินการตามหลักปฏิบัติการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคติด เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) อย่างเครง่ ครัด ไดแ้ ก่ ๑. จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรอื ทนี่ ง่ั ให้มีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งนอ้ ย ๑ - ๒ เมตร ๒. จัดใหม้ ีการระบายอากาศท่ีดี ให้อากาศถ่ายเท และทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์การเรียนทุกครั้ง และจุดสมั ผัสเสย่ี ง ก่อน-หลงั ใช้งาน ๓. จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอลใ์ ช้ทาความสะอาดมือ ๓.๖.๒ การทาความสะอาด ๑. ทาความสะอาดพื้น และพน้ื ผิวสัมผัสตา่ ง ๆ ทกุ วนั อยา่ งน้อยวนั ละสองครง้ั ๒. กาจัดขยะอย่างถูกวิธีทุกวัน โดยการผูกปากถุงให้มิดชิด เน้นย้าให้นักการภารโรงท่ีเก็บขยะใส่หน้ากาก อนามยั และถงุ มอื
แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๒๓๗ บทที่ ๔ แนวทางปฏิบัติสาหรับสถานศกึ ษาในสังกัดสานักงาน กศน. จังหวดั พัทลงุ กรณีสงสยั ว่าผ้เู รยี นหรอื บุคลากรมภี าวะเสย่ี งต่อการติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) แนวปฏิบตั แิ ผนเผชิญเหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ๑. การปอ้ งกนั เช้ือไวรสั โคโรนา ๒. การป้องกบั การแพรร่ ะบาด ๓. การเฝา้ ระวงั และ ๔. การสรา้ งความร่วมมือ ๒๐๑๙ (โควดิ ๑๙) จากตา่ งประเทศ ของโรคโควดิ ๑๙ ภายในประเทศ การสอบสวนโรค จากทกุ ภาคส่วน *มีครูต่างประเทศ ต้องรับการกักกันใน *มีศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษา * ตัดกรองนักเวียน ผู้บริหาร ครู สถานที่ที่รัฐจัดให้ (State quarantine) ทางไกล บุคลากรและผู้เที่ยวข้อง มีการสวม *มีศูนย์ประสานงานและติดตาม เป็นเวลา ๑๔ วนั *พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ หน้ากาก ล้างมือการเว้นระยะห่าง ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ *มนี ักเรียน นกั ศกึ ษาตา่ งประเทศ บริหารในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด การทาความสะอาด และลดความ หนว่ ยงานต่าง ๆ ตา่ งด้าวท่พี ักอาศัยอยใู่ บประเทศไทย *เปิดศูนย์รับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับ แออดั *สถานศึกษาจับทูโรงพยาบาลหรือ ใหจ้ ัดการเรยี นการสอนตามปกติ การจัดการศกึ ษาทางไกล *มีแนวปฏิบัติสาหรับผู้บริหาร ครู โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล สาหรบั นกั เรยี นนักศกึ ษาทไ่ี ม่ไห้พัก *จัดทาแนวทางการจัดการเรียนการ แกะบุคลากรในสถานศกึ ษาในการ ในความร่วมมือป้องกันการแพร่วะ อาศยั อย่ใู นประเทศไทยเมื่อเข้าประเทศ สอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ ดาเนนิ การเกี่ยวกบั โรคโควิด ๑๙ บาดของโรคโควิด ๑๙ ไทย ตอ้ งรับการกกั กันในสถานทท่ี ี่รัฐจดั ระบาดของโรค *การปิดสถานศึกษาท่ีคิดการระบาด *สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการ ให้ State quarantine/Local *จัดทาแพลดฟอร์มการเรียนรู้ ชุด และควบคมุ การระบาดในสถานศึกษา ป้องกันการแพร์ระบาตของโรค quarantine) เป็นเวลา ๑๔ วัน โปรแกรมและแพลดฟอร์มการเรียนรู้ *รายงานการประเมินสถานการณ์ผล โควิด ๑๙ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ ครบวงจร การดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และ สาธารณสุข เจ้าหน้าที่องค์กรปก *จัดทาแนวทางการบริหารจัดการ ให้ข้อเสนลแนะแก่หน่วยงานต้นสังกัด ต ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถ่ิ น ฝ่ า ย ป ก ค ร อ ง ส า ห รั บ โ ร ง เ รี ย บ เ พ่ื อ ป้ อ ง กั น แ ล ะ และคณะกรรมการโรคติดต่อระดับ คณะกรรม การสถานศึกษา ควบคมุ การแพรร่ ะบาด จงั หวดั เพื่อการตัดสินใจ ของโรคโควิด ๑๙ * แผนการเตรียมการรองรับนักเรียน จากต่างประเทศ ทก่ี ลบั เข้ามาเรียนใน ประเทศไทยของสถานศกึ ษา * แนวทางรับมอื ตอบโดภ้ าวะฉกุ เงิน กรณีการระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ในสถานศึกษา
แผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๒๔๘ แนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาในการเปิดภาคเรียนให้นักเรียนมาเรียนในห้องเรียนหรือ On site ๑๐๐ % มดี งั นี้ ๑. ใหม้ กี ารจัดการเรยี นการสอนได้ปกติ On site ๒. การจัดห้องเรียนสามารถจดั ได้ตามจานวนนกั เรยี นปกติ โดยจดั ระยะหา่ งใหม้ ากท่สี ดุ เทา่ ทีจ่ ะทาได้ ๓. กรณีห้องเรียนเป็นห้องแอร์ ให้เปิดประตู หน้าต่างช่วงพักเท่ียง หรือช่วงท่ีไม่มีการเรียนการสอนในห้อง นนั้ ๔. มาตรการเสริมต้องเขม้ ข้น ดงั น้ี การคดั กรอง แยกผ้ปู ว่ ย ส่งรักษา - การสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ลดการจับกลุ่มพูดคุยกันโดยไม่จาเป็น ลดกิจกรรมร่วมกัน หลายห้อง - กรณี มีการเดินเรียนให้ทาความสะอาดฟื้นผิวโต๊ะ เก้าอ้ี หรืออุปกรณ์ท่ีใช้ร่วมกันหลังจบการเรียนการ สอนทกุ คาบ ทุกหอ้ งเรยี น ใหท้ าความสะอาดพ้นื ผิวโตะ๊ เก้าอ้ี หรอื อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกนั ทุกสองชั่วโมง ๕. ให้มีการบันทึกการป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจ การส่งต่อตรวจหาโควิด ๑๙ และสรุปผลการตรวจทุก สัปดาหส์ ง่ ต้นสังกัด กรณีมเี ด็กปว่ ยหรือขาดเรียนมากกว่าปกตีให้ประสานสานักงานสาธารณสุขอาเภอ หรือจังหวัด ในพืน้ ท่ี ๖. ให้มีการดาเนินการผ่อนคลายมาตรการ กากับโดยคณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานสาธารณสุข ในพื้นที่ ๗. การปรับมาตรการใหพ้ จิ ารณาตามสถานการณ์การระบาดและขอ้ มูลที่มีอยูใ่ นขณะนนั้ เป็นระยะ ๆ
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๒๙๕
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๓๖๐
แผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๒๑๗ บทท่ี ๕ การสรา้ งความร่วมมือจากทุกภาคสว่ น การสนับสนุนและหน่วยงานรบั ผิดชอบ การสร้างความร่วมมอื จากทุกภาคส่วน การสนับสนุน หน่วยรับผิดชอบ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอปากพะยนู ไดแ้ ก่ การประสานงานและติดตามข้อมูลข่าวสาร ประกาศนโยบาย แนว ปฏิบัติ การติดตามข้อมูลระหว่างสถานศึกษาจากทุกภาคส่วน เช่น จังหวัดพัทลุง สานักงานศึกษาธิการจังหวัด พัทลุง สานักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง โรงพยาบาลพัทลุง โรงพยาบาลปากพะยูน สานักงานสาธารณสุข จังหวัดพัทลุง ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองพัทลุง สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดพัทลุง ศูนย์บริหาร สถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) มีการกาหนดขั้นตอนหากนักศึกษา หรือบุคลากรไม่สบาย วางแผนล่วงหน้ากับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในพื้นท่ีเจ้าหน้าท่ีสุขภาพในโรงเรียน โดยมีรายช่ือและหมายเลขติดต่อกรณีฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบัน สร้างความม่ันใจ ในข้ันตอนการแยกนักศึกษาที่ป่วยและเจ้าหน้าที่ ออกจากผู้ท่ีมีสุขภาพดีและกระบวนการแจ้งผู้ปกครอง เร่ืองการ ให้คาแนะนาในการดูแลสขุ ภาพนักศกึ ษาหรือเจา้ หน้าที่ อาจต้องสง่ ตอ่ โดยตรงไปทีส่ ถานบรกิ ารสุขภาพ หรือส่งกลับ บ้านข้ึนอยู่กับสถานการณ์ โดยมีการแจ้งข้ันตอนกับผู้ปกครองและนักศึกษาล่วงหน้า สนับสนุนการคัดกรอง ผู้ท่ีมีความเสี่ยง และผู้ท่ีต้องการดูแลพิเศษ ทางานร่วมกับระบบบริการสังคมและสาธารณสุข เพ่ือให้มั่นใจ ถึงความต่อเน่ืองของบริการ เช่น โปรแกรมคัดกรองสุขภาพ พิจารณาความต้องการเฉพาะของเด็กที่มีความพิการ และครอบครัวนักศึกษาชายขอบที่อาจมีความ รุนแรงมากข้ึนจากการได้รับผลกระทบจากการเจ็บป่วย ตรวจสอบ นักศึกษาที่อาจเพ่ิมความเส่ียง เช่น ความรับผิดชอบในการดูแลคนป่วยที่บ้าน หรือหาประโยชน์ เมื่อออก จากสถานศึกษา
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๒๓๒๘ (ภาพการสร้างความรว่ มมือจากทุกภาคส่วน การสนบั สนุน หนว่ ยรบั ผิดชอบ) การส่งเสริมการแบง่ ปนั ข้อมลู ประสานงานและปฏิบัติตามแนวทางจากหน่วยงาน ด้านสาธารณสุขและการศึกษา แบ่งปันข้อมูลกับ ครูผู้สอนและนักศึกษา ให้ข้อมูลล่าสุดเก่ียวกับสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID-๑๙) รวมท้ัง ความพยายามในการป้องกัน และควบคุมท่ีโรงเรียน แจ้งให้ครูผู้สอนแต่ละระดับ ควรแจ้งเตือนผู้อานวยการ สถานศึกษาและหน่วยงานด้านสาธารณสุขทราบ เม่ือมีนักศึกษาหรือคนในบ้านของนักศึกษา และครูผู้สอนได้รับ การวินิจฉัยว่า เป็นโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐ ๑๙ (COVID-๑๙) โดยให้คณะกรรมการผู้ปกครองหรือครูช่วยกัน สง่ เสรมิ ข้อมูล เพอื่ ใหค้ วามร้แู กเ่ ดก็ และคนในครอบครวั ถงึ ข้อปฏิบตั ิของคนในครอบครัวกรณีท่ีมีผู้ป่วยโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ซง่ึ อาจใช้ส่ือต่าง ๆ ท่ีผู้เรียนคนุ้ เคยและเขา้ ใจไดง้ า่ ย การส่งเสรมิ การสรา้ งกลมุ่ หรือชมรม สง่ เสริมการสร้างกลุ่มหรอื โครงการทีจ่ ัดโดยครู กศน. ตาบล เพ่อื นความร้ทู ี่เก่ียวข้องกบั ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID-๑๙) โดยมีกลุ่มผู้สนใจจากทุกตาบลในอาเภอปากพะยูน เพื่อเผยแพร่ข้อมูลด้านสาธารณสุข เช่น สนับสนุนให้ผู้เรียนจัดทาเจลแอลกอฮอร์ล้างมือ ทาหน้ากากอนามัย ผลิตแคปซูลฟ้าทะลายโจรอัดเม็ด เพ่ือให้ ความรสู้ กู่ ารปฏบิ ตั ินาไปประยุกตใ์ ช้ชีวิตประจาวนั ได้
แผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๒๓๙ ภาคผนวก
แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๔๐ ภาคผนวก ก หนว่ ยงานท่ตี ดิ ต่อฉกุ เฉนิ ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือ COVID – ๑๙
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๓๕๑
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๖๒
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๓๗๓
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๓๘๔
แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๓๕๙ ภาคผนวก ข คาสั่ง/ประกาศ/ หนังสอื ราชการท่ีเกย่ี วข้อง
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๔๖๐
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๓๑๗ ๒๕
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๓๒๘
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๓๔๓๙
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๔๔๐
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๔๕๑
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๔๖๒
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๔๓๗
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๔๔๘
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๙๕
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ กศน.อาเภอปากพะยนู ๔๕๖๐
Search