Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore vijai

vijai

Published by kruyim0806785025, 2018-09-16 05:05:43

Description: vijai

Search

Read the Text Version

วจิ ัยช้นั เรียนวิชา พิมพ์ดดี องั กฤษ 1 จัดทาโดย นางสาวธนัญภรณ์ ธรรมใจ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อ.แมแ่ จ่ม จ.เชียงใหม่สังกดั สานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ

1. ชอื่ เร่ือง การศกึ ษาผลการจัดการเรยี นรู้ด้วย ใช้แบบฝึกการพมิ พ์ องั กฤษท่มี ีผลต่อ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดองั กฤษ 1 ของนักเรียน ระดบั ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชียงใหม่ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 25612. ความเปน็ มาและสาเหตุของปัญหา สังคมปัจจบุ ันนีม้ คี วามจา เป็นตอ้ งพัฒนาตนเอง เพ่อื ใหส้ ามารถดา รงชวี ิตอยูอ่ ย่างเป็นสขุ การท่ี จะพฒั นาตนเองได้ดเี พยี งใดน้นั ข้ึนอย่กู บั รากฐานของการศกึ ษา ที่จะชว่ ยใหเ้ ป็นบคุ คลทคี่ ุณภาพ นั้นคือ เก่ง ดี มีสขุ ซงึ่ ในพระราชบญั ญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 การจดั การศึกษาระดบั อาชีวศึกษา ตอ้ งมงุ่ เนน้ ให้ผู้เรยี นเปน็ ผูม้ ีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการปฏิบัติวชิ าชีพของตน ตลอดจนยังเปน็ ผู้มี ระเบียบวินยั มีความรับผดิ ชอบและตรงต่อเวลา หัวใจของการสอนทกั ษะอยู่ท่กี ารฝกึ การฝึ กอย่างถกู วิธี เทา่ นน้ั ทที่ าใหเ้ กดิ ความชานชิ า นาญ คล่องแคล่ว ว่องไว ทักษะในการพมิ พ์เป็นสิง่ ทตี่ อ้ งฝกึ ให้แกเ่ ด็ก เพ่ือใหเ้ ดก็ มคี วามสามารถในการพมิ พ์ดีด ( กมล ดษิ ฐามล .2539 :41 ) ในการฝึกทกั ษะจา เปน็ ต้องอาศัย แบบฝึกหดั เพอื่ ทบทวนความ เขา้ ใจและฝึกในเร่ืองทีไ่ ด้เรีย นไปแลว้ ครูสว่ นมา กจะใช้แบบฝึกท่มี ีอยใู่ น แบบเรียน ใหน้ ักเรยี นฝึกหดั หลังจากเรียนแล้ว แต่หนังสือแบบฝึกบางเลม่ มีแบบฝึ กหัดเพยี งเลก็ น้อย หรือไมม่ เี ลย จงึ เป็นหน้าท่ีของครูโดยตรงท่จี ะตอ้ งสร้างแบบฝกึ ใหเ้ หมาะสมกบั เร่ืองทีส่ อน เพื่อใหน้ กั เรยี น เกดิ ทักษะและความเข้าใจมาก ขน้ึ จากการสงั เกตของผู้วิ จยั พบวา่ นกั เรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ขาดทกั ษะความแมน่ ยา และจาแปน้ อกั ษรไม่ได้ สง่ ผลใหน้ กั เรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาพิมพ์ดดี องั กฤษ 1 ไม่ผา่ นเกณฑ์ที่กาหนด ดังนัน้ ผวู้ ิจยั จึงสนใจที่จะทาการวจิ ัยเรือ่ ง การศึกษาผลการจัดการเรี ยนรู้ ดว้ ยใชแ้ บบฝกึ การพมิ พ์ องั กฤษท่มี ผี ลต่อ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นวชิ าพิมพด์ ีดองั กฤษ 1 ของนักเรียน ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ ภาคเรียน ที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 25613. แนวทางการแก้ปญั หา การจดั การเรยี นรู้ด้วยการจัดการเรยี นรดู้ ว้ ย ใช้แบบฝึกการพมิ พ์ อังกฤษเปน็ การจัดการเรียนร้ใู ห้ นักเรยี นไดพ้ ฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามความสามารถ โดยให้นักเรยี นได้มสี ว่ นร่วมใน การปฏบิ ัตกิ ารแสดงออก ตามศกั ยภาพของนกั เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ดงั นี้ ความหมายของแบบฝึก ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน (2525:483) ได้ให้ ความหมายของแบบฝกึ ไว้ว่า แบบฝกึ หมายถึง แบบตัวอยา่ ง ปญั หา หรอื คาสัง่ ทตี่ ้ังขึ้นเพ่อื ให้นกั เรยี น ฝกึ ตอบ

ประโยชนข์ องแบบฝึ ก วัญญา วิศาลาภรณ์ ( 2533 : 23 ) สรุปคุณประโยชนข์ องแบบฝกึ ไวว้ ่าเปน็ เครอ่ื งมือทีช่ ว่ ยใหค้ รูทราบผลการเรียนของนกั เรยี นอยา่ งใกล้ชิดแบบฝกึ เปน็ เคร่อื งมือท่จี า เปน็ ต่อการฝกึ ทักษะทาง ภาษาของนักเรียน เปน็ ประโยชน์สาหรบั ครใู นการสอน ทา ให้ทราบพฒั นาการทางทักษะทัง้ ส่ีคอื ฟงั พดู อา่ น และเขียน โดยเฉพาะทกั ษะการเขยี น ครสู ามารถเห็นขอ้ บกพรอ่ งในการใช้ภาษาของนักเรยี น ซ่ึงจะได้หาทางแก้ไขปรับปรุงไดท้ ันทว่ งทีทาให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรยี น ลักษณะแบบฝึ กที่ดี นิตยา ฤทธิโยธี ยงั ได้กล่าวว่า “แบบฝกึ ทดี่ คี วรมขี อ้ แนะนา การใชท้ ช่ี ัดเจนควรใหม้ ีการ เลือกตอบทงั้ แบบตอบจากัดและแบบตอบอยา่ งเสรี คา สง่ั หรือตวั อยา่ งทีย่ กมานั้นไม่ควรยาวเกนิ ไป และ ยากแก่การเข้าใจ ถา้ ตอ้ งการใหศ้ กึ ษาดว้ ย ตนเอง แบบฝึกนน้ั ควรมีหลายรูปแบบ และมีความหมายแก่ ผู้ทา” และยงั กล่าวว่าลกั ษณะของแบบฝึกทีด่ ี คือ 1. เก่ยี วข้องกับบทเรียนท่เี รียนมาแล้ว2. เหมาะสมกบั ระดับวัย หรือความสามารถของเด็ก 3. มคี าช้แี จงสนั้ ๆ ทีท่ าใหเ้ ด็กเขา้ ใจวิธที า ไดง้ ่าย4. ใช้เวลาเหมาะสม คอื ไมใ่ ชเ้ วลานานหรอื เร็วเกินไป การฝึกโดยใชแ้ บบฝกึ การพิมพ์ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพมิ พด์ ดี องั กฤษ 1 5. เปน็ สง่ิ ทนี่ ่าสนใจและทา้ ทายให้แสดงความสามารถ ทักษะในการพิมพ์ดีด สาหรับวิชาพิมพด์ ีดองั กฤษ 1 การวางมือ ต้ังแตว่ งแขนจนถึงเคร่อื งพมิ พ์ดีดขอ้ ศอกจะชิดตัวไม่กางออก หรอื ติด ลาตวั เกนิ ไป จะทา ให้พมิ พ์ไมถ่ นัด วางมอื ให้พอดีไม่เกร็ง ข้อมืออ ย่าวางทาบขอบเครอ่ื งพิมพด์ ีดจะทา ให้จังหวะในการพิมพ์ไมด่ เี ทา่ ทค่ี วร งอน้วิ ใหโ้ ค้งเลก็ น้อยแล้ววางปลายนวิ้ แตะลงบนแป้นเหย้า ขอ้ มือ ปล่อยตามสบาย การสบื นิว้ และการวางนวิ้ ในการพมิ พ์สัมผสั น้ัน ก่อนล งมอื พิมพน์ ้ิวต่าง ๆ ให้ประจา อยทู่ ่ี แป้นเหยา้ เมื่อตอ้ งการสบื นว้ิ ไปพิมพแ์ ปน้ อืน่ ๆ ท้ังบนและล่าง ต้องยดึหลกั ให้ขอ้ มือกลบั มาอย่แู ป้น เหย้าเสมอ ดังน้ัน การสืบน้ิวไปเคาะแปน้ อนื่ ใหส้ ืบไปเฉพาะน้ิวเท่านั้น ไม่เคล่ือนมือหรือนวิ้ อ่นื ตาม ไปดว้ ย สาหรับนว้ิ อน่ื ๆ ยงั คงแตะเบา ๆ อยู่ท่ีแปน้ เหย้านัน่ เอง การดีดแป้ นอกั ษร การดดี ทถ่ี ูกตอ้ งน้ันใหใ้ ช้ปลายนิ้วดีดลงไปตรงกลางแป้นท่ตี อ้ งการจะต้องดีดอย่างรวดเร็วหนง่ึ คร้ัง แลว้ รบี กลับนว้ิ มาท่แี ป้ นเหยา้ ก่อนทีจ่ ะดดี แปน้ ต่อไป น้า หนกั การดดี ให้พอดี ๆกบั การเดนิ ของแคร่ จงั หวะเป็นส่วนสาคญั ในการชว่ ยฝึกการดดี ท่ถี ูกตอ้ ง ดงั นั้น การฝึกเปน็ จังหวะ อย่างมีระบบ จึงทาใหม้ ที กั ษะในการดีดแป้นมากข้ึน. การใส่ กระดาษและการถอดกระดาษ การให้ใส่กระดาษใหล้ ักคานทับกระดาษขึน้ แลว้ หยิบกระดาษท่ตี อ้ งการพิมพไ์ วล้ ่างกระดาษรองพมิ พ์ซอ้ นกันให้พอดี มือซ้ายจับสว่ นบนของกระดาษให้ แนน่เสียบลงไปในชอ่ งหลงั ลกู ยางใ หญ่ ใหข้ อบกระดาษซา้ ยตดิ กับแผงนา กระดาษใช้มอื ขวาบิดลูกบิด รบักระดาษขึน้ มา ดึงกา้ นคลายกระดาษถา้ ตอ้ งการจะปรบั ระดบั เสร็จแล้วผลกั ก้านคลาย กระดาษคนื ท่ี และใชค้ านทับกระดาษทับใหเ้ รียบรอ้ ย

การปัดแคร่ ในการปัดแคร่น้นั ไม่วา่ จะถนดั ซา้ ยหรอื ขวา จะต้องใชม้ ือซา้ ยปัดแครเ่ สมอโดยยก มอื ซ้ายข้ึนให้น้วิ ทงั้ 4 ชิดกัน หวั แมม่ ือพบงอลงล่าง ปดั ท่มี ือปดั แครใ่ หน้ ิ้วชี้ซ้ายสัมผัสกบั มอื ปัดแคร่ ตรง ระหวา่ งขอ้ นวิ้ ท่ีหน่ึงกับขอ้ นิ้วทีส่ อง การปดั ใช้ขอ้ มอื เหวยี่ งให้แรงพอสมควร และมอื ไม่ตอ้ งตาม แคร่ไปจน สุด เมอ่ื ปัดแครแ่ ล้วให้มือกลับไปอยู่ท่าท่พี ร้อมจะพมิ พ์ทนั ที ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ชนาธิป พรกุล (2544:18) ได้ใหค้ วามหมายว่า ความสาเร็จในการเรียนรู้ ได้แก่ ผลสมั ฤทธ์ิในการเรียนของผเู้ รยี น 4. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพอ่ื หาประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกการพิมพ์ 2. เพ่ือศึกษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชาพมิ พ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียนระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 5. วิธีดาเนินการวิจัย 5.1 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง ประชากร นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชยี งใหม่ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 กลุม่ ตัวอย่าง นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชียงใหม่จานวน 16 คน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 5.2 เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นงานวิจัย เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั มี 2 ชุด ไดแ้ ก่ 1. แบบฝกึ การพิมพ์ จานวน 3 ชดุ 2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าพิมพด์ ีดองั กฤษ 1 5.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการวิจยั ครง้ั นี้ ผวู้ ิจัยดาเนินการทดลองดังนี้ 1. ผู้สอนชแี้ จงรายละเอียดให้นักเรียน เก่ียวกับการฝึกทักษะด้วยแบบฝึกจานวน 3 ชดุ 2. ผู้สอนทาการทดสอบก่อนเรยี น (Pretest) โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนโดยการพิมพจ์ บั เวลา 20 นาที แลว้ บันทึกคะแนน

3. ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนฝกึ ทกั ษะจากแบบฝกึ การพิมพ์ จานวน 3 ชดุ เปน็ เวลา 3 สปั ดาห์รวมจานวน 15 คน ครั้ง 4. เมอื่ ทาการฝึกจนครบแล้ว ทาการทดสอบหลงั เรยี น (Posttest) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นชุดเดียวกับทีใ่ ช้ทาการทดสอบก่อนเรยี น ใช้เวลา 20 นาที 5. หลงั จากทดสอบ ผสู้ อนตรวจผลงานพมิ พ์ของกลุ่มตวั อยา่ งแตล่ ะคน 6. รวบรวมขอ้ มลู จากการตรวจขอ้ สอบทั้งหมดมาวิเคราะหต์ ามสถติ ิ5.4 การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถติ ิท่ีใช้สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวจิ ยัหาความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนก่อนเรียนและหลังเรยี น โดยใช้t–test แบบ t - dependentการวิเคราะหข์ ้อมูล ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของแบบฝึกการพมิ พ์ คะแนนระหวา่ งเรยี น คะแนนหลงั เรียน ประสิทธิภาพของแบบฝึกการพิมพ์คะแนนเตม็ 30 10คา่ เฉลี่ย 25.70 8.30 85.67 / 83.00รอ้ ยละของคา่ เฉลยี่ 85.67 83.00จากตารางที่ 1 พบวา่ แบบฝกึ การพิมพ์ มปี ระสิทธิภาพเท่ากับ 85.67/ 83.00 ซ่งึ สูงกวา่ เกณฑ์ท่ีกาหนด(80 / 80) แสดงว่าแบบฝกึ การพิมพส์ ามารถช่วยใหน้ ักเรยี นมที ักษะในการพมิ พ์สูงกวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนด ตารางที่ 2 คา่ เฉลี่ยและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานทางการเรียนวิชาพมิ พ์ดดี องั กฤษ 1ด้วยแบบฝึกการพิมพ์ค่าสถติ ิ N คะแนนเต็ม ������ ������. ������. t-testผลการเรยี นกอ่ นเรยี น 15 10 3.40 .73 20.74**หลงั เรยี น 15 10 7.87 .74 ** ระดับนัยสาคญั p < .05จากตารางที่ 2 พบวา่ ผ้เู รียนท่เี รยี นวชิ าพมิ พ์ดีดอังกฤษ 1 มผี ลสัมฤทธท์ิ าง การเรียนหลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน คะแนนเฉลยี่ ก่อนเรียน 3.40 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน .73 คะแนน เฉลีย่ หลงั เรียน 7.87ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน .74 เฉลี่ยเพิ่มขน้ึ 4.47และคา่ t เท่ากับ 20.74 ซึง่ มี นัยสาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

6. สรปุ ผลการวจิ ัย การวจิ ยั ครง้ั น้มี วี ัตถุประสงคเ์ พ่ือ 1. หาประสิทธภิ าพของแบบฝึกการพมิ พ์ 2. เพ่ือศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น วิชาพมิ พ์ดีดอังกฤษ 1 ของนกั เรียนระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ผู้วจิ ัยได้จดั ทาแบบฝกึ การพมิ พ์ จานวน 3 ชดุ เป็นเวลา 3 สปั ดาห์ รวมจานวน 15 ครง้ั เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั คอื แบบฝึกพมิ พ์ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ซึ่งผู้วจิ ยั ได้เกบ็ รวบรวมข้อมูลด้วยตนเองโดยใช้เวลาในการทากิจกรรม เปน็ เวลา 3 สัปดาห์ รวมจานวน 15 คร้งั จากน้ันวิเคราะห์ขอ้ มลู โดยการหาคา่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี และคา่สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคะแนนทีไ่ ด้ 7. สรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยนาเสนอรูปแบบผลการวิจัยตามวตั ถุประสงค์ของการวิจยั ดังตอ่ ไปน้ี 1. ประสทิ ธิภาพของแบบฝึกการพมิ พ์ มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือ ทดสอบระหวา่ งเรยี น (E1) เท่ากับ 85.67 และทดสอบหลังเรยี น (E2) เทา่ กบั 83.00 2. ผเู้ รยี นทเ่ี รยี นวชิ าพมิ พ์ดดี อังกฤษ 1 ทใี่ ช้แบบฝึกการพมิ พ์ มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี น อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิที่ระดับ .05


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook