Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 19co-learning

19co-learning

Published by waryu06, 2021-11-27 12:21:52

Description: 19co-learning

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ ข้อความ สว่ นราชการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอชนแดน ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๔๐๓/ วนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๔ เร่ือง สรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านโครงการ Co-Learning Space แหลง่ เรยี นร้ขู องคนในชุมชน เรียน ผูอ้ ำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอชนแดน ตามที่ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนได้จัดทำโครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ ของคนในชุมชน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และรู้จักแหล่งข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว และสามารถรับบริการต่างๆ ของห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดนได้ ส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน บดั น้โี ครงการดงั กลา่ วไดด้ ำเนินการเสรจ็ สิ้นเรียบรอ้ ยแลว้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จึงขอสรุปผลการปฏบิ ัติงานโครงการดงั กล่าวรายละเอียดตาม เอกสารทีแ่ นบมาพร้อมน้ี จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ นางวารี ชูบัว บรรณารักษ์ชำนาญการ

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน มอบหมายให้ห้องสมุด ประชาชนอำเภอชนแดน ดำเนินการจัดทำโครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชนท่วั ไป ไดศ้ ึกษาค้นคว้าเพม่ิ เตมิ ดว้ ยตนเอง และรู้จกั แหล่งขอ้ มูล วธิ กี ารเขา้ ถงึ ข้อมลู ทถี่ กู ต้องและรวดเร็ว และสามารถรบั บริการต่างๆ ของห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดนได้ ส่งเสริมให้มนี ิสัยรกั การอ่านนำไปสู่การเรยี นรู้ และพฒั นาคุณภาพชีวติ ให้ดขี ้นึ น้นั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชนแดน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือ ในการดำเนินงานต่อไป หากมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งคณะผู้จัดทำเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุง ในครัง้ ตอ่ ไป ผูจ้ ดั ทำ สงิ หาคม 2564

สารบัญ หน้า 1-8 บทที่ 1 บทนำ 9 - 19 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง 20 - 25 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การตามโครงการ 26 - 32 บทที่ 4 ผลการดำเนินการตามโครงการ 33 - 35 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ภาคผนวก รปู ภาพ รายชอื่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ คำสง่ั โครงการ คณะผู้จัดทำ

1 บทท่ี 1 บทนำ 1. ชอื่ โครงการ โครงการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย กิจกรรมท่ี 4 โครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรขู้ องคนในชมุ ชน 2.  สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเปา้ หมายการพัฒนาที่สำคัญเพือ่ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มพี ัฒนาการท่ดี รี อบด้านและมสี ุขภาวะที่ดใี นทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอ่ สงั คมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มวี นิ ยั รกั ษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมืองดีของชาติ มีหลกั คดิ ท่ีถูกต้อง มีทักษะทจี่ ่าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มที กั ษะสือ่ สารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3และอนรุ กั ษ์ภาษาท้องถิ่น มนี สิ ยั รกั การเรยี นรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมีสมั มาชีพตามความถนัดของตนเอง ประเด็นที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบด้วย (1) ช่วงการตั้งครรภ์/ปฐมวัย เน้นการเตรียมความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ (2) ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 (3) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (4) ชว่ งวัยผูส้ ูงอายุ สง่ เสริมให้ผูส้ งู อายุเป็นพลงั ในการขบั เคล่อื นประเทศ ประเด็นที่ 6 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดย (1) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะ นอกหอ้ งเรยี น และ (4) การพฒั นาระบบฐานข้อมูลเพอื่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  สอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์ 3.1 ปรบั เปลยี่ นคา่ นิยมคนไทยให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤตกิ รรม ทพ่ี งึ ประสงค์ 3.1.2 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุข อยา่ งจรงิ จัง 3.2 พัฒนาศักยภาพคนให้มีทกั ษะความรู้และความสามารถในการดำรงชวี ติ อย่างมคี ุณคา่ 3.2.2 พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ มที ักษะการทำงานและการใชช้ ีวติ ทพ่ี ร้อมเขา้ ส่ตู ลาดงาน

2 3.3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนร้ตู ลอดชีวิต 3.3.6 จัดทำสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสามารถใช้งานผ่านระบบอุปกรณ์สื่อสาร เคลื่อนที่ใหค้ นทกุ กลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการทางภาษีจงู ใจ ให้ภาคเอกชนผลิตหนงั สอื สือ่ การอา่ นและการเรียนรู้ทม่ี คี ุณภาพและราคาถูก 3.3.7 ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต อาทิพิพิธภัณฑ์ หอ้ งสมดุ โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ โรงเรยี นผสู้ ูงอายุ รวมทัง้ สง่ เสริมใหม้ ีระบบการจัดการความรูท้ ่เี ป็นภูมิ ปัญญาท้องถ่นิ  สอดคลอ้ งกบั นโยบาลของรัฐบาล (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) 1. การพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.1 การจัดการศึกษาเพ่ือคณุ วฒุ ิ พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีความรอบรู้และทักษะชีวติ เพื่อเปน็ เครื่องมือใน การดำรงชวี ิตและสร้างอาชพี อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั สุขภาวะและทัศนคติทีด่ ีตอ่ การดูแลสุขภาพ 1.2 การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ - จดั การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกชว่ งวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ (English for All)  สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน กศน. จดุ เน้นการดาํ เนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ภารกิจต่อเน่อื ง 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน . ตําบล ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่าน อย่างหลากหลายรูปแบบ 3) ประสานความรว่ มมอื หนว่ ยงาน องค์กร หรอื ภาคส่วนต่าง ๆ ทีม่ ีแหลง่ เรยี นรู้อ่นื ๆ เพ่อื สง่ เสริม การจดั การศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรปู แบบท่หี ลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เชน่ พิพธิ ภัณฑ์ ศนู ย์เรยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน ห้องสมดุ รวมถงึ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ เป็นตน้

3  สอดคลอ้ งกบั ตวั ชี้วัดการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้รบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1.1 ผูร้ บั บริการมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชท้ี ่ี 2.1 การกำหนดโครงการหรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ตวั บ่งชี้ท่ี 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตวั บ่งช้ที ่ี 2.3 ส่อื หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอ้ือตอ่ การจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย ตวั บ่งช้ีที่ 2.4 ผ้รู ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ท่ี 3.1 การบริหารจดั การของสถานศึกษาทเ่ี น้นการมีส่วนรว่ ม ตัวบ่งช้ีท่ี 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.7 การสง่ เสริม สนบั สนนุ ภาคเี ครือข่ายใหม้ ีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา ตัวบง่ ช้ีที่ 3.8 การส่งเสริม สนบั สนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ของ สมศ. ข้อที่ 1 ในการดำเนินแผนงาน/โครงการ สถานศึกษาควรมีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานทุก ระยะ ขั้นตอนของการดำเนินงาน เพื่อประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นระบบครบ วงจร PDCA และในการประเมนิ ความพงึ พอใจ ควรเพ่ิมขอ้ เหตุผล ข้อคดิ เห็นหรอื ข้อเสนอแนะวา่ เพราะเหตุใดข้อ นนั้ จงึ ใหค้ ะแนนมากหรือนอ้ ย ข้อที่ 13 ในการบริหารจัดการการดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ สถานศึกษาควรดำเนินการให้ ครบถว้ นเปน็ ระบบครบวงจร PDCA และในโครงการกิจกรรมควรกำหนดวัตถุประสงคเ์ ป็นรปู ธรรม มกี ารออกแบบ ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่าง ตอ่ เนือ่ งและนำผลการประเมินทไ่ี ดไ้ ปวิเคราะห์ถึงอุปสรรค และนำไปวางแผน ปรับปรุง พัฒนาในปีต่อไป 3. หลกั การและเหตุผล ห้องสมุดประชาชน เป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีสื่อความรู้ ในการให้บริการและจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ การศึกษา สร้างนิสัยรักการอ่าน ศึกษาค้นคว้า สนองความสนใจใฝ่รู้ รู้จักวิธีการค้นคว้าด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลา ตลอดชีวิต การรับรู้ข้อมูลข่าวสารจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับคนในชุมชน การจัดกิจกรรมในเชิงรุก เพื่อให้เกิดการ เรยี นรขู้ องคนในชมุ ชน ปัจจุบันห้องสมุดประชาชนไดจ้ ดั หาทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายรปู แบบสำหรบั ให้บริการ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อมัลติมเี ดีย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้และผู้รบั บริการ และเพื่อให้เกิด

4 ประโยชน์สูงสุดต่อการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุด ซึ่งผู้ใช้และผู้รับบริการต้องรู้แนวทางในการเข้าถึง ทรพั ยากรสารสนเทศแต่ละรปู แบบ เพ่อื ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพและได้รับประโยชน์จากทรพั ยากรสารสนเทศน้นั ๆ วิถีการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนในยุคดจิ ทิ ัลเปล่ียนแปลงไปจากสมัยก่อนท่ีไมห่ ยุดอย่แู ค่ ในห้องเรียนและห้องสมุดอีกต่อไป เพราะการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันเน้นให้เด็กเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ เป็นผู้เริ่มตั้งคำถาม และออกค้นคว้าหาข้อมูลจากสิ่งต่างๆ รอบตัว ห้องสมุดประชาชนจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบ กลายเป็นจุดนัดพบที่สำคัญ สำหรับทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้ ทำการบ้าน ค้นหาไอเดียใหม่ๆ เช่นเดียวกับ ศูนย์การค้า เดอะสตรีท ที่ได้แชรพ์ ื้นที่ส่วนกลาง สร้างเป็น “Co-Learning Space (โค เลิร์นน่ิง สเปซ)” ให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนมาใช้พื้นที่เพื่อการเรียนรู้ร่วมกันได้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดนจึงได้ จัดโครงการ Co-Learning Space แหลง่ เรยี นร้ขู องคนในชุมชนขน้ึ 4. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อดำเนินการปรบั ปรุงภูมิทัศนห์ อ้ งสมดุ ให้เป็นCo-Learning Space แหล่งเรียนรูข้ องคนในชมุ ชน 5. เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน ๑ แห่ง เชงิ คณุ ภาพ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชน ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ห้องสมุด ให้เป็น Co-Learning Space แหลง่ เรียนรูข้ องคนในชมุ ชน เปน็ แหล่งเรียนรตู้ ลอดชีวิต พร้อมให้บริการแกก่ ลมุ่ เป้าหมายต่างๆ

6. วิธดี ำเนนิ การ กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย ก 1. ขนั้ เตรยี มการ ครูและบุคลากร เพื่อจัดประชมุ ครูและบุคลากรทางการ กศน. อำเภอชนแดน ช ศกึ ษา จำนวน 20 คน ว - ช้แี จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด โครงการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนินการ เพือ่ อนมุ ัติ - แต่งต้ังกรรมการดำเนินงานตาม โครงการ 2. ประชุมกรรมการ เพื่อประชมุ ทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครูและบุคลากร ช กศน. อำเภอชนแดน ข ดำเนนิ งาน ดำเนนิ งานทกุ ฝ่ายในการจัดกิจกรรม จำนวน 20 คน โครงการและการดำเนินงาน 3. จัดเตรยี มเอกสาร เพอ่ื ดำเนินการจัดทำ จดั ซ้อื วัสดอุ ุปกรณ์ กรรมการฝา่ ยที่ได้รบั จ วสั ดุ อุปกรณ์ในการ ที่ใชใ้ นการดำเนนิ การ มอบหมาย ดำเนนิ โครงการ

5 กลุม่ เปา้ หมาย พ้ืนทด่ี ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) ก.ค.64 - กศน. อำเภอ ชแี้ จงทำความเขา้ ใจ รายละเอียดและ ชนแดน วัตถปุ ระสงค์ของการจัดโครงการ ช้แี จงวัตถุประสงค์ บทบาทหน้าท่ี กศน. อำเภอ ก.ค. 64 - ของกรรมการดำเนินงานโครงการ ชนแดน จดั ซอ้ื วสั ดุอปุ กรณ์ในการจัดโครงการ กศน. อำเภอ ส.ค. 64 2,170 ชนแดน บาท

กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ก 4. ดำเนินการจดั เพอ่ื ดำเนนิ การปรบั ปรงุ ภมู ิทัศนห์ ้องสมุด ห้องสมุดประชาชน กิจกรรม ให้เป็น Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ อำเภอชนแดน ห ของคนในชมุ ชน จำนวน 1 แห่ง ไ 5. สรุป/ประเมนิ ผล และรายงานผล เพือ่ ใหก้ รรมการฝา่ ยประเมนิ ผลเกบ็ ตามกระบวนการ แ โครงการ รวบรวมข้อมลู และดำเนนิ การประเมนิ ผล ประเมนิ โครงการ เ การจดั กจิ กรรม 5 บท จำนวน 3 เล่ม แ ส ต

6 กลุ่มเปา้ หมาย พนื้ ท่ีดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชงิ คณุ ภาพ) ห้องสมดุ ประชาชน 9 – 13 - ส.ค.64 ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน อำเภอชนแดน ได้รับการปรับปรุงภูมทิ ัศน์ห้องสมดุ ก.ย.64 - ใหเ้ ป็น Co-Learning Space กศน. อำเภอ แหล่งเรียนร้ขู องคนในชมุ ชนเป็นแหล่ง ชนแดน เรยี นร้ตู ลอดชวี ิต พรอ้ มใหบ้ ริการ แก่กลมุ่ เป้าหมายต่างๆ สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน ตามระบบ PDCA

7 7. วงเงนิ งบประมาณ จากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศยั กิจกรรมการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย งบดำเนินงาน ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน รหัสงบประมาณ 36005 เป็นเงิน 2,170.- บาท (สองพัน หนึ่งรอ้ ยเจ็ดสบิ บาทถ้วน) รายละเอยี ดดังนีค้ อื คา่ วสั ดุ เปน็ เงิน 2,170 บาท รวมเปน็ เงิน 2,170 บาท 8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ แผนการใชจ้ า่ ยรายไตรมาส ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4 - - - 2,170 9. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ ชื่อ - สกลุ : นางวารี ชูบวั ตำแหน่ง : บรรณารักษ์ชำนาญการ เบอร์โทรศัพทท์ ่ีทำงาน : 056 – 761667 เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ : 056 – 761667 อีเมลล์ : [email protected] ผรู้ ่วมดำเนินการ นางสมบตั ิ มาเนตร์ ตำแหน่ง ครูอาสาสมคั รฯ นางสาวลาวัณย์ สทิ ธิกรววยแกว้ ตำแหนง่ ครอู าสาสมัครฯ นางลาวิน สเี หลอื ง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ นั ธ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นางสาวพชั ราภรณ์ นรศิ ชาติ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสรุ ตั น์ จนั ทะไพร ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นายเกรียงไกร ใหม่เทวินทร์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นางสาวอุษา ยิง่ สกุ ตำแหน่ง ครปู ระจำศนู ยก์ ารเรียนชุมชน นางสาวกญั ญาณัฐ จนั ปญั ญา ตำแหนง่ ครปู ระจำศนู ยก์ ารเรียนชุมชน นายปัณณวฒั น์ สขุ มา ตำแหน่ง ครูประจำศนู ย์การเรียนชุมชน นางสาววรางคณา นอ้ ยจันทร์ ตำแหนง่ ครปู ระจำศูนย์การเรียนชุมชน นายศวิ ณัชญ์ อศั วสมั ฤทธิ์ ตำแหน่ง ครปู ระจำศูนย์การเรยี นชุมชน

8 นางสาวเยาวดี โสดา ตำแหนง่ นกั จัดการงานท่วั ไป 10. เครอื ขา่ ย นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอชนแดน 11.โครงการทีเ่ กย่ี วข้อง 11.1 โครงการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 11.2 โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน 11.3 โครงการประชาสัมพันธ์งาน กศน. 11.4 โครงการส่งเสริมและพัฒนาประสทิ ธภิ าพการทำงานร่วมกบั เครือขา่ ย 11.5 โครงการประกนั คุณภาพสถานศึกษา 12. ผลลัพธ์ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชน ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ห้องสมุด ให้เป็น Co-Learning Space แหล่งเรียนรขู้ องคนในชุมชน เป็นแหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชีวิต พร้อมใหบ้ ริการแก่กลมุ่ เป้าหมายตา่ งๆ 13. ดชั นีวดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ช้ีวดั ผลผลติ (output) หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน ๑ แหง่ 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ( outcome ) ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน ได้รับการปรับปรุงให้เป็น Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต พร้อมให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย ต่างๆ 14. การติดตามผลประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม / โครงการ 14.2 สรปุ /รายงานผลการจดั กจิ กรรม

9 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง การตกแตง่ สถานที่ มคี ำที่ถูกนำมาใช้กันหลายอย่าง เช่นการจดั สวน : Gardening การจัด ภมู ทิ ัศน์ : Landscaping การจดั สวนจะเปน็ คำที่ใช้เรยี กกันท่วั ไป เขา้ ใจไดง้ ่ายกว่าการจัดภูมิทศั น์ซึ่งเป็นคำที่ เรียกใชก้ นั มากขนึ้ ในปจั จบุ นั คำวา่ Landscape หมายถงึ ภมู ปิ ระเทศ (ทางกายภาพ) หรอื ภาพภูมปิ ระเทศ ซึ่งไม่มีการปรุงแต่ง Landscaping หมายถงึ การจดั ภมู ิทศั น์อาศัยการปรุงแต่งจากธรรมชาติท่ีมีอยเู่ ดมิ รวมท้งั เพม่ิ เติมบางสิ่งบางอย่างเข้าไป Gardening หมายถึง การจัดสวนคล้ายกับการจัดภูมิทัศน์ เพียงแต่มีขอบเขต หรอื พนื้ ท่ีแคบกว่า เชน่ การจดั สวนหยอ่ ม การจดั สวนหลงั บ้าน เป็นตน้ เหตผุ ลในการจัดภูมิทศั นห์ รอื จัดสวน ปัจจบุ นั มนุษย์ห่างจากธรรมชาติมากขน้ึ สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ เรม่ิ เปลยี่ นแปลง ทรัพยากรธรรมชาติ เริม่ ขาดแคลนและมกี ารแก่งแย่งกนั ใช้ ในเมืองใหญ่ ๆ มีการสร้างอาคารสงู ขึ้นสภาพปา่ ทเ่ี คยสมบูรณ์ถูก ปรบั เปลย่ี นเป็นสนามกอล์ฟ ทำรีสอร์ท จนทำให้ระบบนิเวศน์เปล่ียนแปลงไป ท้ัง ๆ ท่ีองค์ประกอบหลกั ของ การออกแบบทางสถาปัตยกรรมจะต้องคำนงึ ถงึ องค์ประกอบ 3 ประการคือ อาคาร-สวนและธรรมชาติ การ จัดวางผงั อาคารต่าง ๆ นอกจากจะให้สัมพนั ธ์กบั ทิศทางลม และทางโคจรของดวงอาทิตยแ์ ล้วยังตอ้ งคำนงึ ถึง สภาพแวดลอ้ ม ไม่ทำลายธรรมชาตจิ นเสียสมดลุ เม่อื อาคารมีความสมั พนั ธ์กับธรรมชาติรอบข้างแลว้ วงจรของ ระบบนเิ วศนจ์ ะทำงานอย่างเตม็ ประสิทธิภาพ ทุกองค์ประกอบจะเก้ือหนนุ ซ่งึ กนั และกัน ทุกชวี ติ ทอ่ี ยรู่ ่วมกันก็ จะมีความสุข การพฒั นามนุษย์ให้มีคณุ ภาพตามความต้องการของสังคมนั้น จะต้องพฒั นาท้ังร่างกาย สมองและ จติ ใจ การท่ีจะใหม้ นุษยม์ ีรา่ งกายแข็งแรงมสี ุขภาพพลานามยั สมบูรณ์นัน้ จำเป็นจะต้องบริโภคอาหารทเ่ี ป็น ประโยชนใ์ นอัตราทเ่ี หมาะสม รวมทงั้ มีการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ส่วนการพัฒนาด้านสมอง จำเป็นจะต้อง ให้การศึกษา ไมว่ ่าจะเป็นการศึกษาอยา่ งมรี ะบบ หรือการศกึ ษานอกระบบกต็ าม การศกึ ษาจะก่อให้เกดิ การ อ่านออกเขียนไดแ้ ละมกี ารเรียนรู้ต่าง ๆ มกี ารเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมในทางท่ีดีขึน้ หากขบวนการพฒั นาเป็นไป อย่างถูกต้อง ส่วนการพัฒนาจิตใจน้ัน มนุษยท์ ุกคนมีความปรารถนาทจี่ ะมคี วามสุข ความสขุ ท่เี กดิ ขึน้ เกดิ ได้ จากความพึงพอใจในความสำเร็จพงึ พอใจในความสวยงาม ในอดีตทผี่ ่านมาโลกอุดมไปด้วยธรรมชาตทิ ่สี วยสด งดงามมีพชื พรรณนานาชนิด องค์ประกอบตา่ ง ๆ ทางธรรมชาติ ก่อให้เกดิ ประโยชน์สขุ ทางใจ เม่ือจำนวน ประชากรของโลกเพิม่ มากขึ้น สภาพความสวยงามตามธรรมชาติบางสว่ นถูกทำลายไป ผลกระทบทีเ่ กิดกับ มนษุ ยค์ ือ จิตใจและอารมณ์ สภาพจิตจะว้าวนุ่ ขาดความสุขมุ เยือกเยน็ สง่ ผลให้เกดิ ปัญหาทางสัมคมใน ปจั จุบัน ปัญหาส่งิ แวดล้อมในปจั จุบันถูกนำมากลา่ วถึงกันมากข้นึ การอนุรักษร์ พั ยากรธรรมชาติเพือ่ ใหค้ นรุน่ หลังไดใ้ ช้ประโยชน์ถูกนำมาถือปฏบิ ตั ิ มกี ารตราพระราชบัญญตั ิจัดตัง้ อุทยานแหง่ ชาติ วนอุทยาน มกี าร

10 ปรบั ปรงุ และรกั ษาสภาพท่ีงดงามใหค้ งไว้ รวมท้ังรวบรวมรกั ษาพชื พรรณต่าง ๆ เพอื่ การศึกษา เชน่ การทำ สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical Garden) มีการสร้างสวนสาธารณะ (City Park) สวนริมทางหลวง (Road Side Park) และที่พักริมทาง (Rest Area) จนกระทัง่ มีการดึงเอาธรรมชาติเข้ามาใกลต้ วั มากขน้ึ จงึ ทำให้เกดิ การจัดสวน หรือการจัดภูมทิ ศั นข์ นึ้ ในปจั จบุ ัน วตั ถุประสงคข์ องการจดั ภมู ิทัศน์หรอื จัดสวน การจัดสวนในบรเิ วณบา้ นมจี ุดมุ่งหมายท่ีสำคัญคือตกแตง่ บรเิ วณบ้านใหส้ วยงามนา่ อยู่ ทำใหเ้ กดิ ความสขุ สดช่ืนทง้ั กายและใจแก่เจา้ ของบ้านและผอู้ ยู่อาศยั รวมถงึ เป็นที่สขุ ตาสขุ ใจแก่ผอู้ ื่นท่ีได้พบเห็น สว่ นการจัดสวนหรอื จัดภมู ทิ ัศน์โดยท่วั ๆ ไปแลว้ จะจดั เพื่อความสวยงามและอำนวยประโยชนใ์ หแ้ กป่ ระชาชน เช่น การจัดทำสวนสาธารณะ การจดั สวนดงั กล่าวจะสนองตอบหรือเกย่ี วข้องกับกจิ กรรมของผทู้ ่ีมาใช้ นอกจากความสวยงามแล้วจะต้องจัดองค์ประกอบอน่ื ๆ เชน่ ทางเดิน ศาลาพกั ลานจอดรถ ทีอ่ อกกำลังกาย เหลา่ นเี้ ป็นต้น ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ท่ไี ดร้ บั จากการจัดสวน 1. ทำใหพ้ ืน้ ทม่ี ีขอบเขต มีความปลอดภยั เพม่ิ ความสวยงาม เพมิ่ คณุ ค่าให้แก่อาคารบ้านเรือน 2. ลดเสียงรบกวนจากภายนอก จากถนน เพราะต้นไมท้ ี่ปลกู ไวส้ ามารถ กรองเสียงได้ 3. ทำใหบ้ รเิ วณพื้นท่ีสะอาด ได้รบั อากาศบรสิ ทุ ธ์ิ เพราะพรรณไมจ้ ะช่วยกรองฝ่นุ ละอองในอากาศให้ ความรม่ เย็นแกพ่ ้นื ทีน่ นั้ 4. ทำใหม้ พี นื้ ท่ีเฉพาะเป็นสัดส่วน มมี ุมสงบส่วนตวั 5. ทำให้สามารถปิดบงั สภาพทไ่ี มเ่ หมาะ ซง่ึ ไม่ต้องการให้เห็นเดน่ ชดั การปลูกพรรณไม้จะช่วยปดิ บงั สภาพไม่นา่ ดูได้ 6. เพ่ือความสุข ความสะดวก ของครอบครวั ในการพักอาศัย และใชบ้ ้านใหเ้ ปน็ ประโยชนม์ ากขนึ้ เชน่ มกี ารจดั สถานท่ีออกกำลังกาย ทำสนามเด็กเลน่ สระวา่ ยน้ำ ทำแปลงไมด้ อกไมป้ ระดับ ไม้ผล รวมทั้งการ ปลูกผกั สวนครัวไวใ้ ชบ้ ริโภค ทำใหม้ ีโอกาสใกล้ชดิ ธรรมชาตมิ ากขนึ้ สง่ ผลถึงเศรษฐกิจในครอบครัว เพราะมี ผลิตผลภายในบ้านไว้ใช้เอง 7. ทำให้สขุ ภาพกาย สุขภาพจติ ดีขึ้น เพราะได้ออกกำลังกาย ได้พบความพึงพอใจในความสำเร็จ และความสวยงามท่ตี นเองได้ทำข้นึ พร้อมท้ังเกิดความใกล้ชดิ ภายในครอบครวั รวมทัง้ ฝึกเด็ก ๆ ให้รจู้ ักทำงาน และเรยี นร้ธู รรมชาติวทิ ยาไปด้วย 8. การจดั สวนสาธารณะและทพ่ี กั ผ่อนหยอ่ นใจต่าง ๆ จะชว่ ยใหป้ ระชากรในบริเวณนนั้ ๆ ได้ พักผอ่ น คลายความเครียดและความกังวลตา่ ง ๆ ใหไ้ ด้กลบั สูธ่ รรมชาติมากขึ้น ช่วยให้ประชากรมสี ุขภาพกาย สุขภาพจติ ดี สง่ ผลใหอ้ ยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข

11 สถานทีท่ ่คี วรจัดสวน 1. บริเวณบา้ นทอี่ ยอู่ าศยั บ้านเป็นปจั จัยสำคัญอย่างหนึ่งในการดำรงชีวติ ทุกคนต้องการมบี า้ นเปน็ ของตนเอง บา้ นจะเป็นบา้ นไดก้ เ็ พราะสมาชิกภายในครอบครวั มีความเคารพในธรรมชาตขิ องกันและกัน ขณะเดยี วกนั บา้ นจะนา่ อยู่ อยู่สบายกต็ อ่ เมื่อมกี ารวางแผนทีด่ ี มสี ภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม มธี รรมชาติทสี่ วย สดงดงาม ดังนน้ั การจดั สวนบริเวณบา้ น นอกจากจะทำใหบ้ า้ นนา่ อย่ดู สู วยงามแลว้ ยังได้ใชป้ ระโยชนจ์ าก พชื พรรณตา่ ง ๆ ทป่ี ลูกไวอ้ กี ด้วย 2. บรเิ วณอาคารสถานทร่ี าชการ โดยเฉพาะเทศบาลเมอื ง ถือเป็นหน้าท่ีที่จะต้องวางแผนตกแต่ง เมอื งใหน้ ่าดู รม่ รน่ื มีระเบียบเป็นสงา่ ราศรแี ก่ทอ้ งถิ่นน้นั 3. บริเวณส่ิงก่อสรา้ งสาธารณะสถาน ได้แก่ โรงพยาบาล สถานศกึ ษา สถานท่ีทางศาสนา สถานี รถไฟ เป็นต้น อาคารสง่ิ ก่อสรา้ งดงั กล่าว หากมีการตกแตง่ อย่างถูกตอ้ งแลว้ จะทำให้ผู้ใชส้ ถานท่ีนนั้ ๆ มี ความสุข เช่น โรงพยาบาล การปลูกไม้ดอกประดบั ตกแต่ง จะชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วยมจี ติ ใจที่ดขี ้ึน สดช่นื สถานท่ีศกึ ษา การจดั สวนนอกจากจะชว่ ยให้เกดิ ความสวยงามร่มรน่ื แลว้ อาจจะใช้พรรณไมต้ ่าง ๆ เป็นวัสดุอุปกรณ์ในการ เรียนได้ สถานีรถไฟกเ็ ชน่ กนั การตกแตง่ ด้วยไม้ดอกไมป้ ระดบั จะช่วยให้ผ้โู ดยสารไดเ้ ปลย่ี นบรรยากาศ เปลี่ยน ทิวทัศน์จากป่าเขา ทงุ่ นามาเปน็ ภาพอ่นื บ้าง 4. บรเิ วณรมิ ถนนหรือบาทวิถี จะชว่ ยให้ความรม่ รื่นแกผ่ สู้ ญั จรไปมา โดยเฉพาะท่พี ักริมทาง ซงึ่ เปน็ ทพี่ กั รถในการเดนิ ทางไกลจะช่วยใหผ้ ูใ้ ชถ้ นนไดผ้ อ่ นคลายอิริยาบทหลงั จากน่ังอยใู่ นยานพาหนะเป็นเวลานาน สบายตา เพ่ือจะได้เดนิ ทางต่อไปอย่างมีความสุข 5. บริเวณที่พักผ่อนหย่อนใจ เปน็ สิง่ จำเปน็ อย่างยงิ่ ในการให้บรกิ ารแกป่ ระชาชนทไ่ี มส่ ามารถมีสวน ไมด้ อกไม้ประดบั ด้วยตนเองได้ ก็จะไดใ้ ชส้ ถานท่ีต่าง ๆ เหลา่ นี้ เป็นทพี่ กั ผ่อนออกกำลงั กาย สวนสาธารณะ หรอื อุทยานต่าง ๆ ที่ถูกจดั ตกแตง่ ใหน้ ่าดนู นั้ เป็นส่งิ หน่งึ ที่แสดงออกของจิตใจและวัฒนธรรมของคนในท้องถ่ิน น้ัน ๆ ด้วย ในเชงิ ของการพฒั นาโครงการ \"งานภมู ิทศั น์\" หมายถึงพ้ืนท่ภี ายนอกอาคารทม่ี ีการปรับแต่งพ้นื ที่ให้มี ประโยชน์ใชส้ อยที่มีประสิทธภิ าพ มีความร่มรื่นสวยงามและมีเอกลักษณ์ รวมท้งั การมอี งค์ประกอบพ้ืนฐาน เช่น ระบบการให้แสงสวา่ ง ระบบให้นำ้ ต้นไม้ ระบบระบายน้ำและระบบปอ้ งกนั นำ้ ทว่ ม ระบบอำนวยความ สะดวก เช่น มา้ น่งั ถังขยะ ปา้ ย ตลอดจนส่งิ ประเทืองใจ เช่น น้ำพุ น้ำตก หรือประตมิ ากรรม งานภูมทิ ศั น์มีท้งั ขนาดเล็กที่ไม่ซับซอ้ นทีเ่ รียกว่า สวนประดบั หรอื สวนหย่อม ไปจนถึงงานซบั ซ้อนและ มีขนาดใหญ่ เช่น สวนสาธารณะขนาดใหญใ่ นเมือง งานภมู ิทัศน์โรงแรมพักผ่อนหรูขนาดใหญ่ งานผงั บริเวณ โครงการขนาดใหญ่ งานลานเมอื งและสถานท่ีสำคญั อื่นๆ ในเชิงการออกแบบและก่อสร้าง “งานภูมทิ ัศน์” หมายถงึ ชุดงานทแ่ี ยกออกจากงานอาคารและงาน ภายในเพือ่ ความสะดวกในการประมูลและก่อสร้างเน่ืองจากผูร้ บั เหมาก่อสรา้ งภูมทิ ัศนม์ ีความชำนาญและมี ลักษณะการทำงานท่ีแตกต่างจากผรู้ บั เหมางานอาคารและงานภายใน

12 ปกตงิ านภมู ิทัศนจ์ ะแยกแบบออกเป็นสองชุดแต่สมั พันธ์กัน ได้แกง่ าน ภมู ทิ ัศนแ์ ข็ง (Hardscape) ไดแ้ ก่ สว่ นของงานท่ีเป็นองคป์ ระกอบแข็ง เช่น ผวิ พ้ืน โครงสร้างและงานระบบตา่ งๆ และ \"งานภูมิทัศน์นุ่ม\" ไดแ้ ก่ ส่วนของงานที่เปน็ งานดิน งานปลกู โดยการประชาสมั พันธม์ คี ำจำกดั ความ 3 ประการด้วยกัน ไดแ้ ก่ 1. เผยแพรช่ แี้ จงใหป้ ระชาชนทราบ 2. ชกั ชวนให้ประชาชนมสี ่วนร่วม และเห็นดว้ ยกบั วตั ถุประสงค์และวิธีการดำเนนิ งานของสถาบนั 3. ประสานความคิดของกลุ่มประชาชนท่เี ก่ียวข้องให้สอดคลอ้ งกับจดุ ม่งุ หมายและวิธกี ารดำเนินงานของ สถาบนั วัตถปุ ระสงค์ในการประชาสัมพนั ธ์ 1. เพื่อเผยแพรข่ ้อมูลขา่ วสารไปส่ผู ูใ้ ช้บริการ 2. เพอ่ื ชีแ้ จงข้อมูลขา่ วสารข้อเท็จจริง 3. เพอ่ื ใหค้ วามรู้ สร้างความเขา้ ใจทถ่ี กู ต้องให้เกิดกับหนว่ ยงาน 4. เพ่อื ป้องกนั การเขา้ ใจผิด หรือเกดิ การขัดแย้งตามมา 5. เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชบ้ ริการมีทัศนคติที่ดีต่อหนว่ ยงาน 6. เพ่ือสรา้ งภาพลกั ษณ์ทีด่ ีใหแ้ ก่ผู้บรหิ าร เจา้ หนา้ ที่ และบคุ ลากรทเี่ ก่ียวข้อง 7. เพ่อื สร้างและรกั ษาช่ือเสยี ง เกยี รติคณุ ให้คงอยู่ตลอดไป 8. เพื่อกระตนุ้ และเรยี กร้องความสนใจจากกลมุ่ บุคคล 9. เพอื่ ใหผ้ ู้ใช้บรกิ ารยอมรบั การดำเนินงานของหนว่ ยงาน 10. เพื่อตรวจสอบประชามติ ค้นหาข้อบกพร่องและความต้องการของประชาชน 11. เพื่อสรา้ งและรักษาความสัมพันธอ์ ันดี ความเป็นมติ รระหวา่ งหนว่ ยงานกับบคุ ลากร และประชาชน ทงั้ ภายในและภายนอก 12. เพื่อให้การดำเนนิ งานของหน่วยงานเปน็ ไปด้วยความราบรื่น เรียบร้อย และบรรลเุ ป้าหมาย 13. เพอื่ แสวงหาความร่วมมือและสนบั สนุนจากผู้ใช้บริการหรอื บุคคลท่ีเกีย่ วข้อง ตัวอย่างองค์กรที่มีการนำการประชาสัมพันธ์มาใช้ คือ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ มกี ารนำนโยบายการ ประชาสัมพันธอ์ งค์กร โดยใช้สอ่ื ประชาสมั พันธ์ประเภทสือ่ สังคมออนไลน์ (Social Media) ได้กำหนดให้ องค์กรมีตวั ตนในสังคมออนไลน์ทกุ ช่องทาง ไมว่ ่าจะเป็น Facebook Twitter หรอื YouTube เป็นตน้

13 หอ้ งสมดุ และการประชาสมั พันธ์ การประชาสมั พนั ธ์ของห้องสมุดเปน็ กจิ กรรมเพ่ือเผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสารและบรกิ ารห้องสมดุ เพื่อให้ ผูใ้ ชร้ ับทราบและเห็นประโยชนใ์ นการใชห้ ้องสมุด ซงึ่ เป็นการสร้างความเข้าใจและเพ่มิ ความนิยมการเขา้ ใช้ หอ้ งสมดุ แต่เดิมน้นั หอ้ งสมุดจะมุ่งเน้นการประชาสัมพันธใ์ นรปู แบบการพูดแบบปากต่อปากเพยี งอยา่ งเดยี วใน ขณะที่ปัจจบุ ันได้มใี ชห้ ลักการตลาดแบบ Marketing Mix แบบ 7Ps มาประกอบด้วย ดังนนั้ การนำการตลาดมาใช้เป็นสว่ นผสมในการดำเนนิ งานประชาสมั พนั ธ์ห้องสมุดเพือ่ ใหผ้ ใู้ ชไ้ ด้รับขอ้ มูล ข่าวสารทหี่ อ้ งสมุดตอ้ งการนำเสนออย่างถูกต้อง เพื่อสร้างภาพลักษณ์ทีด่ ีของหอ้ งสมุด และเพื่อให้การ ดำเนินงานของหนว่ ยงานเปน็ ไปอยา่ งราบร่ืน โดยนอกจากนี้ในสว่ นของการส่งเสรมิ การตลาด (Promotion) ยังมหี ลกั ทีเ่ รียกว่า สว่ นผสมการสง่ เสริมการตลาด (Promotion Mix) ประกอบดว้ ย 1. การโฆษณา คอื การเสนอขายสินคา้ บรกิ าร หรอื ความคดิ โดยการใชส้ อื่ 2. การประชาสัมพนั ธ์ เป็นการติดต่อสอ่ื สารเพอื่ สรา้ งทัศนคติ ความน่าเชอ่ื ถือ และสรา้ งภาพลักษณ์ท่ีดี ใหเ้ กดิ แก่องคก์ รกับกล่มุ ตา่ ง ๆ 3. การขายโดยบุคคล คือ การขายโดยใชพ้ นกั งานทำหนา้ ทเ่ี สนอขายผลิตภณั ฑ์ไปยงั ลูกคา้ เป้าหมาย โดย หวังว่าจะเปลีย่ นแปลงสถานภาพของผูท้ ค่ี าดหวังใหเ้ ปน็ ลูกค้า 4. การสง่ เสริมการขาย คือ การจงู ใจท่ีเสนอคณุ ค่าพเิ ศษ หรอื การจงู ใจผลติ ภณั ฑแ์ ก่ผูบ้ รโิ ภค โดยมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อการสรา้ งยอดขายในทันที การส่งเสริมการขายท่มี ุง่ สู่คนกลาง การส่งเสรมิ การขายท่ีมุ่งสู่ พนกั งานขาย 5. การตลาดทางตรง หมายถึง การทำการตลาดไปส่กู ลมุ่ ผู้บริโภคโดยตรง โดยอาศยั สื่อใดสอื่ หนง่ึ ที่ สามารถเข้าถึงผู้บริโภค หรอื กลมุ่ เปา้ หมาย

14 วตั ถุประสงคใ์ นการประชาสัมพนั ธห์ ้องสมุด เพอ่ื งสร้างความนยิ ม เชื่อถือ แกห่ อ้ งสมุด ทำให้เกิดความสัมพนั ธ์อันดรี ะหวา่ งประชาชนกับห้องสมดุ สามารถแก้ไขทัศนคติทผี่ ิดๆต่อหอ้ งสมุดและสร้างความเข้าใจที่ถูกตอ้ งในระยาว อีกทงั้ เพื่อแจง้ ข่าวสารใหแ้ ก่ ประชาชนไดท้ ราบถงึ นโยบาย วัตถุประสงค์ และงานบรกิ ารต่างๆของห้องสมดุ เพ่ือให้ได้รบั การสนับสนุน ทางด้านการเงิน หรอื แนวคดิ อันจะนำมาปรบั ปรุงให้ตรงกับความต้องการ และเพ่ือให้ประชาชนตระหนักถงึ ความสำคญั ของห้องสมดุ ส่งเสริมการใช้บรกิ ารของห้องสมุดอีกดว้ ย

15 แนวทางการขับเคลือ่ นการดำเนินงาน ศูนย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (Co – Learning Space) แนวคิด วถิ ีชีวิต การเรียนรู้ การทำงานของคนในยุคปจั จบุ นั ทเ่ี ปลย่ี นไป รปู แบบการทำงาน มักจะไปน่ังทำงาน อา่ นหนังสือ ประชุม หรอื ทำงานกลุ่มตามสถานท่ีสาธารณะ มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นร้านกาแฟ ห้องสมุด หรือตาม Co - working Space ต่าง ๆ ด้วยเหตุผลหลากหลายไม่ว่าจะเป็นต้องการพื้นท่ีในการสร้างแรงบันดาลใจใหม่ ๆ ท่ีเอื้อต่อการเกิดแนวคิดใหม่ ๆ ในการทำงาน หรือบางคร้ังจะรู้สึกว่ามีสมาธิมากกว่า ที่บ้าน ท่ีโรงเรียน หรือทีท่ ำงาน แต่พ้ืนท่ีลักษณะเชน่ นี้ท่ีมใี ห้บรกิ ารอยู่ในปัจจุบันยังเป็นข้อจำกดั ในการเขา้ ถึงของหลาย ๆ คนไม่ ว่าจะเป็นเร่ืองของระยะเวลา การเปิด –ปิดบริการ ค่าใช้จ่าย หรือถ้าเปิดให้ใช้บริการฟรี สิ่งอำนวยความ สะดวกต่าง ๆ หรือบรรยากาศ อาจยังไม่ตอบโจทย์สำหรับการทำงาน หรือการอ่านหนังสือ อย่างมีสมาธิ รวมไปถึงความปลอดภัยต่าง ๆ ในการเดินทางไปใช้บริการตามสถานท่ีเหล่านั้น ประกอบกับสภาพสังคมท่ี เปลี่ยนแปลงไปทำให้รูปแบบการเรยี นรู้ของผู้รับบริการห้องสมุดเปล่ียนไปด้วยคนในปจั จุบันเปล่ียนไปมกี ารนำ เทคโนโลยมี าใช้ในการค้นคว้าหาความรู้มากขึ้น ดว้ ยเหตุนี้ห้องสมดุ ประชาชนจึงจำเปน็ ต้องปรับเปลย่ี นรูปแบบ การบริการให้การเรียนรู้ต้องพัฒนาให้มีรูปแบบท่ีหลากหลายเป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการทุกช่วง วัยย่ิงข้ึน จากแนวคิดดังกล่าวสู่การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีในลักษณะเป็นศูนย์การเรียนรู้ Co – Learning Space ซ่ึงสำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหน่ึงซ่ึงมีภารกิจหลักในการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัยให้กับ ประชาชนทุกช่วงวัย และมีแหล่งเรียนรู้ให้บริการหลากหลายรูปแบบ ห้องสมุดประชาชน ก็เป็นหนึ่งในแหล่ง เรียนรู้ที่ให้บริการประชาชนควบคู่กับภารกิจอื่น ๆ ของ กศน. จึงถึงเวลาแล้วท่ีจะพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ สำหรับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ได้มีโอกาสเข้าถึงได้ง่ายสามารถตอบทุกโจทย์ปัญหาความต้องการของ ประชาชนอย่างแท้จริง ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) หรือพ้ืนที่แห่งการเรียนรู้ร่วมกัน จึงเกิดขึ้นภายใต้แนวคิดที่ว่า การให้ท่ีมากกว่าแค่เพียง “พ้ืนที่” แต่ยังเป็นสถานที่ในการสร้าง แรงบันดาล ใจ และแสดงถึงการแบง่ ปัน ทีไ่ มเ่ พียงแค่แบ่งปนั พื้นท่สี ำหรบั ทกุ คนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน แตท่ ุกคนทม่ี ายังได้ ความรู้และแรงบนั ดาลใจดี ๆ กลบั ไปด้วยเสมอ การนำแนวคิดในการปรับเปลี่ยนการให้บริการห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ในลักษณะศูนย์การ เรียนรูต้ ้นแบบ (Co - Learning Space) ภายใต้นโยบายในการขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน. WOW ของรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ในการพัฒนา กศน. ตำบล ให้มีบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ : Good Place – Best Check in ข้อหนึ่งโดยการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค เป็น ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) และกำหนดให้ศูนย์การ เรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) มพี ้นื ที่บรกิ ารการเรยี นรู้ร่วมกันตามความสนใจและความต้องการของ ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั ทุกช่วงวัย

16 แนวทางการขับเคลอ่ื นการดำเนินงานศนู ยก์ ารเรียนรูต้ น้ แบบ Co –Learning Space 1. พนื้ ท่ดี ำเนนิ งานศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co -Learning Space) ได้แก่ 1.1 จงั หวัดท่มี หี อ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั ให้ใชห้ ้องสมดุ ประชาชนจังหวดั เป็นพ้นื ท่ดี ำเนินงาน ( 67 จงั หวัด ) 1.2 จังหวดั ขอนแกน่ ให้ใช้ห้องสมดุ ประชาชนเฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 1.3 จงั หวดั ทไี่ ม่มหี ้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั 8 จงั หวัด (ตาก ปัตตานี มหาสารคาม ลำพูน หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ และอดุ รธานี) ใหส้ ำนักงาน กศน. จงั หวดั ดำเนนิ การท่หี ้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ที่ตัง้ อยู่ ณ อำเภอเมือง ฯ ของจังหวดั น้ัน ๆ 1.4 สำหรบั จงั หวดั ชลบุรีจะมีพื้นทดี่ ำเนนิ งานทีห่ ้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำเภอ บางละมงุ ดว้ ยเนื่องจากเปน็ พื้นทด่ี ำเนนิ งานนำร่องในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1.5 กรุงเทพมหานคร ดำเนนิ งานท่ศี นู ย์การเรียนรตู้ ามอธั ยาศัย สถาบนั การศึกษาทางไกล อาคาร 4 ชั้น 3 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาเอกมยั เป็นพ้นื ทดี่ ำเนนิ งาน 2. พน้ื ที่การใหบ้ ริการภายในศนู ย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (Co -LearningSpace) ศนู ย์การเรียนร้ตู น้ แบบ (Co -Learning Space)ควรมีพ้ืนท่ีใหบ้ ริการการเรยี นรู้ร่วมกันท่ีตอบสนองความ ตอ้ งการของผู้รับบรกิ ารทุกช่วงวยั ดงั นี้ 2.1 โซนทีท่ ำงาน หรือประชุม (Co – Working Zone) 2.2 โซนทส่ี ง่ เสรมิ การอ่าน ค้นควา้ ขอ้ มลู ส่ือ (Learning Zone) 2.3 โซนกิจกรรม (Activities Zone) 2.4 โซนคอมพิวเตอร์ ศนู ย์ภาษา ห้องภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center) 2.5 โซนพักผ่อน (Relax Zone) 2.6 โซนกาแฟ (Coffee Zone) การใหบ้ รกิ ารศูนย์การเรยี นร้ตู น้ แบบ (Co -Learning Space) ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co -Learning Space)มีการให้บริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสำหรับ ผูร้ บั บริการทกุ ชว่ งวยั เพื่อเปดิ โอกาสให้เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งเสมอภาคเทา่ เทยี มกนั อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ เชน่ 1. ให้บริการห้องประชุมกลุ่มย่อย ห้องปฏิบัติงานกลุ่ม ห้องสอนเสริมนอกเวลาเรียน ห้องสอน ภาษาตา่ งประเทศ หรือกจิ กรรมอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม 2. ให้บริการ การค้นคว้าหาความรู้ท้ัง on line ด้วยสื่อ/อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ กศน. บริการ ONIE E-Librarye -bookการบริการสืบค้นข้อมูลความรู้ผ่าน Applicationด้วยอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง

17 เป็นการให้บริการห้องสมุด ตลอด 24 ชั่วโมง และบริการในรูป off lineเป็นการให้บริการห้องสมุดด้วย รูปแบบปกติ 3. ให้บริการห้องหรือพื้นที่จัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัย เพ่ือบริการบุคคลภายนอก หรือกิจกรรมท่ีห้องสมุดจัดขึ้น อาจจัดไว้ภายในอาคารหรือบริเวณภายนอกรอบ ๆ อาคาร โดยกิจกรรมต้องไม่ รบกวนผู้ใช้บริการศูนย์การเรียนรู้ในส่วนอื่น ๆ และต้องเป็นกิจกรรมท่ไี ม่ขัดต่อขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมอันดี งามของทอ้ งถ่ิน นน้ั ๆ 4. บริการห้องคอมพิวเตอร์ ห้องเรียนภาษา ห้องภาพยนตร์ เพื่อการเรียนการสอน การทำงาน การ เรยี นรู้ เพ่ือสนับสนนุ การเรียนการสอนทั้งในและนอกระบบโรงเรยี น หรือเพ่อื ความบนั เทงิ อ่นื ๆ ฯลฯ 5. พื้นที่พักผ่อน (Relax Zone) บริการพื้นท่ีเพื่อการพักผ่อนน่ังเล่น พบปะพูดคุยอ่านหนังสือ หรือเพ่อื พกั คอย มีบรกิ าร wifi ฟรี อินเทอรเ์ น็ต 6. มุมกาแฟ (Coffee Zone)จัดเป็นพื้นท่ีสำหรับน่ังพักผ่อนสบาย ๆ เพ่ืออ่านหนังสือ จิบกาแฟ และมีบริการจำหน่ายอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม หรือจำหน่ายผลผลิตจากการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ของศูนย์ การเรียนรู้ต้นแบบ (Co -Learning Space)และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ อาจจัดไว้ภายในอาคาร หรือพ้ืนที่ ภายนอกอาคาร การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ของศูนยก์ ารเรียนรูต้ ้นแบบ (Co-Learning Space)สามารถจดั ได้ ดังน้ี 1. มีการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ผ่านบริการห้องสมุดประชาชน เช่น กิจกรรมส่งเสริม การอ่าน การสืบ ค้นคว้าหาความรู้ทั้งลักษณะ on line และ off lineโดยการนำเทคโนโลยีมาช่วยใน การสืบค้น เช่น ระบบ เช่ือมโยงแหลง่ การเรยี นรู้ ONIE E-Library e –bookและ Application ตา่ ง ๆ 2. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสำหรับคนทุกช่วงวัย ด้วยรูปแบบและ วิธีต่าง ๆ เช่น กจิ กรรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้สงู อายุ กิจกรรมหลังเรียนสำหรบั เด็กวัยเรยี น กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรขู้ อง นักศึกษา กศน. กิจกรรมการอบรมระยะส้ันตามความสนใจของผู้รับบริการ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง กจิ กรรม DIY นทิ รรศการส่งเสริมการเรยี นรู้ ฯลฯ 3. มีการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ศิลปวฒั นธรรมในโอกาสตา่ งๆ 4. มกี ารจัดกจิ กรรมอนุรกั ษ์ความรู้ และภมู ิปญั ญาท้องถิน่ บทบาทหนา้ ท่ขี องหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง 1. สถาบนั สง่ เสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้ 1. ประสานงานกลางระดบั นโยบาย และสร้างความเข้าใจกับหนว่ ยงานทุกระดับเพื่อนำนโยบาย สกู่ ารปฏบิ ัติ

18 2. กำหนดแนวทางการดำเนนิ งานศูนยก์ ารเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co-Learning Space)ชี้แจงทำความเขา้ ใจ ใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำ 3. จัดทำคำของบประมาณ เพ่ือสนับสนนุ การดำเนนิ งาน 4. ตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมของโครงการ 2. สถาบนั พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ภาค 1. สำรวจข้อมูลก่อนดำเนินงานเพ่ือรับทราบความพร้อมของหอ้ งสมดุ ประชาชนในการดำเนนิ งานศูนย์ การเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co-Learning Space)ในแตล่ ะภาค เพ่ือวางแผนการดำเนนิ งานทีเ่ หมาะสมกบั สภาพ หอ้ งสมดุ ประชาชนแต่ละแหง่ 2. ประสานการดำเนนิ งานกับสถาบันส่งเสริมและพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ สำนักงานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัด และศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอ ในการพฒั นาห้องสมุดประชาชนให้เปน็ ศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ้นแบบ (Co-Learning Space) 3. ร่วมกับสถาบนั ส่งเสริมและพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้ ประชมุ ชี้แจงแนวทางการขบั เคล่อื นการ ดำเนนิ งานศูนย์การเรยี นรูต้ ้นแบบ (Co-Learning Space)ของสำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั จังหวดั และศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ และหอ้ งสมุดประชาชน ในแตล่ ะภาค 4. ตดิ ตามผลการดำเนินงาน และจดั ทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงานศนู ยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space)ในระดับภาค 5. จดั ทำรายงานผลการใชจ้ ่ายงบประมาณส่ง สำนักงาน กศน. ทกุ ไตรมาส 3. สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัด 1. ประสานการดำเนินงานกบั สถาบนั ส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้ สถาบนั พฒั นา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาค และ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตาม อัธยาศยั อำเภอเมือง ซึง่ เป็นพื้นท่ีเปา้ หมายในการดำเนินงานศูนยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space) 2. ใหค้ วามชว่ ยเหลอื สนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากรต่าง ๆ แก่ศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ และหอ้ งสมดุ ประชาชน ซ่ึงเป็นพืน้ ท่ีเปา้ หมายในการดำเนินงานศูนยก์ ารเรียนรู้ ต้นแบบ (Co-Learning Space) 3. กำกบั ตดิ ตามการดำเนินงานขับเคลื่อนการดำเนนิ งานศูนย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co –Learning Space)ในจงั หวัดใหเ้ ป็นไปตามนโยบายทก่ี ระทรวงศึกษาธิการกำหนด และรายงานผลการดำเนนิ ใชจ้ า่ ย งบประมาณ ตามท่ีกำหนด ทุกไตรมาส

19 4. จัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนนิ งานศูนย์การเรียนรูต้ ้นแบบ (Co-Learning Space)(เอกสาร เปน็ รูปเลม่ ) ส่งสำนักงาน กศน. ในไตรมาสที่ 4 4. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ 1. บรหิ ารจัดการและสนบั สนุนการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเปน็ ศนู ย์การเรยี นร้ตู ้นแบบ (Co –Learning Space) 2. กำกบั ตดิ ตามการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ้นแบบ (Co-Learning Space) 3. ประสานการทำงานระหว่างหน่วยงานที่เกย่ี วข้องทงั้ ภายใน และภายนอกพ้นื ที่เพ่ือสนับสนุนการ ดำเนนิ งานของศนู ย์การเรยี นรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space) 4. จดั ทำรายงานผลการดำเนินงานศูนย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (Co-Learning Space) ทุกไตรมาส 5. หอ้ งสมดุ ประชาชน ทไี่ ด้รับเลอื กให้ดำเนินงานศูนย์การเรยี นร้ตู ้นแบบ 1. ดำเนินการพฒั นาปรับปรุงพืน้ ทีก่ ารให้บริการภายในและรอบ ๆ หอ้ งสมดุ ประชาชนให้เปน็ ศนู ย์ การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space)โดยมีพ้ืนที่การเรียนร้รู ว่ มกนั ของผู้รับบรกิ ารทกุ ช่วงวยั เช่น 1.1 พื้นที่ทำงาน หรือประชุม (Co – Working Zone) 1.2 พน้ื ที่สง่ เสริมการอ่าน คน้ คว้าข้อมลู ส่อื (Learning Zone) 1.3 พื้นที่ทำกจิ กรรม (Activities Zone) 1.4 ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งเรียนภาษา ห้องภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center) 1.5 พื้นท่ีพักผอ่ น (Relax Zone) 1.6 ร้านกาแฟ (Coffee Zone) 2. ให้บริการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในส่วนที่เป็นภาระกิจหลักของห้องสมุดประชาชนโดยจัดให้มี โครงสรา้ งพนื้ ฐาน อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการให้บริการ เชน่ บริการเครอื่ ง คอมพวิ เตอร์ แทบ็ เล็ต ฟรี Wifi ฯลฯ 3. การให้บรกิ าร และกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผรู้ ับบริการทุกช่วงวยั 4. ประเมินผล การดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space)รายงานผลผเู้ กีย่ วขอ้ ง ตามลำดบั คณะกรรมการขับเคล่อื นการดำเนินงานศนู ยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบ (Co -Learning)

20 เพอ่ื ให้การดำเนินงานศนู ย์การเรยี นรูต้ ้นแบบ (Co-Learning Space)บรรลผุ ลเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ จึงควรมีการแต่งต้ังบุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถ ในการสนับสนุนองค์ความรู้ ทรัพยากรและ ทุนทรัพย์ เปน็ คณะกรรมการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานศูนย์การเรียนร้ตู น้ แบบ (Co-Learning Space)ดงั น้ี คณะทปี่ รกึ ษา 1. ผบู้ รหิ ารหนว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ยระดบั จงั หวดั 2. ผ้มู ีอุปการะคณุ ในท้องถิ่น 3. ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน 4. ผู้แทนองค์กรทางศาสนาในพน้ื ที่ คณะกรรมการ 1. ผ้บู ริหารสำนักงาน กศน. จงั หวดั 2. ผแู้ ทนองค์กรท้องถนิ่ 3. ผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นตา่ งๆ เช่น ดา้ นการศกึ ษา ดา้ นอาชพี ดา้ นศิลปะวฒั นธรรม ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ 4. ผบู้ รหิ าร กศน. อำเภอ ทจ่ี ัดต้งั ศูนย์การเรียนรู้ตน้ แบบ (Co –Learning Space) 5. เจา้ หน้าท่ีสำนักงาน กศน. จังหวัด ที่เกย่ี วข้อง 6. บรรณารกั ษแ์ ละเจา้ หนา้ ทร่ี ะดบั อำเภอ ที่เกย่ี วขอ้ ง การบริหารจัดการงบประมาณ 1. สำนกั งานสง่ เสริมและพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ดำเนนิ การจัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานให้สถาบนั พัฒนา กศน. ภาค ตามจำนวนจังหวดั ใน แต่ละภาค ( จังหวัดละ 5,000 บาท ) เพื่อปฏิบตั ิงานตามภารกิจตลอดปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1. ประสานการขบั เคลอื่ นการดำเนินงานศนู ย์การเรียนรูต้ ้นแบบ (Co -Learning Space) 2. ประชุมชแ้ี จงแนวทางการขับเคล่ือนการดำเนินงานศูนยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ (Co -Learning Space) กับ กศน. อำเภอ และหอ้ งสมุดประชาชน 3. นเิ ทศตดิ ตามการดำเนินงาน ศูนย์การเรยี นร้ตู ้นแบบ (Co –Learning Space)เขตภาค 4. จดั ทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงานศนู ย์การเรยี นร้ตู ้นแบบ (Co –Learning Space)ระดับภาค 2.สำนกั งานส่งเสริมและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามจงั หวัด ดำเนนิ การจัดสรรงบประมาณในการดำเนนิ งานให้สว่ นสำนกั งาน กศน. จงั หวัด ทุกจังหวัด ๆ ละ 100,000 บาท โดยแบ่งโอน เปน็ 2 ครงั้ ดงั น้ี ระหวา่ งเดือนตุลาคม 2563 -มนี าคม 2564 และเดือนเมษายน 2564 -กนั ยายน 2564 เพ่ือดำเนินการพัฒนาห้องสมดุ ประชาชนทกี่ ำหนดให้เปน็ พื้นท่เี ป้าหมายพัฒนาเปน็ ศนู ย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co -Learning Space)ในภารกิจ ต่าง ๆ ดงั นี้

21 1. จดั หาอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในการใหบ้ รกิ ารศนู ยก์ ารเรียนรตู้ น้ แบบ (Co –Learning Space)เชน่ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต Wifi โทรทัศน์ หรือ e-bookเพื่อพัฒนา การให้บรกิ ารห้องสมุดเป็น ห้องสมดุ อิเล็กทรอนกิ ส์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้รบั บริการทุกชว่ งวัย ของศนู ย์การ เรียนรู้ (Co –Learning Space) 2. จัดหาวัสดุ อปุ กรณ์ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ตา่ ง ๆ ของศูนยก์ ารเรียนรู้ (Co – Learning Space) 3. ปรับปรงุ ซ่อมแซมพืน้ ทใ่ี ห้บริการตา่ ง ๆ ใหเ้ ป็นระเบียบ สะอาด สวยงามพรอ้ มใหบ้ รกิ ารแก่ กล่มุ เปา้ หมายทุกชว่ งวยั 4. ค่าตอบแทนบคุ ลากรผดู้ ำเนินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้หรือการใหบ้ ริการของ ศูนย์การเรียนรู้ ตน้ แบบ (Co –Learning Space) 5. จดั ทำป้ายศนู ยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ (Co –Learning Space)6. ค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ ในการดำเนนิ งาน ของศูนยก์ ารเรียนรตู้ ้นแบบ (Co –LearningSpace)

20 บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ งานตามโครงการ 1. วิธีการดำเนนิ งาน ขน้ั เตรยี มการ เพ่อื จัดประชุมครูและบคุ ลากรทางการศึกษา - ชแ้ี จงทำความเข้าใจรายละเอียดโครงการ - ชี้แจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนินการเพอ่ื อนมุ ัติ - แต่งต้ังกรรมการดำเนนิ งานตามโครงการ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานฝ่าย ต่าง ๆ ให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ประกอบดว้ ย 1.1 นายสมประสงค์ นอ้ ยจนั ทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน ประธานกรรมการ 1.2 นายเกรยี งฤทธ์ิ เดตะอุด ครู กรรมการ 1.3 นางสมบตั ิ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.4 นางสาวลาวัณย์ สทิ ธิกรวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ กรรมการ 1.5 นางวารี ชบู ัว บรรณารักษ์ชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ 2. ฝ่ายตดิ ต่อประสานงาน มีหนา้ ที่ ตดิ ต่อประสานงานสถานท่ีจัดการจัดกิจกรรม ประกอบดว้ ย 2.1 นางวารี ชบู วั บรรณารักษ์ชำนาญการ 2.2 นางสาวมจุ ลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 2.3 นางลาวิน สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 2.4 นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 2.5 นางสาวลดาวรรณ์ สุทธิพนั ธ์ ครู กศน. ตำบล 2.6 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 2.7 นางสาวพัชราภรณ์ นรศิ ชาติ ครู กศน. ตำบล 2.8 นางสรุ ตั น์ จนั ทะไพร ครู กศน. ตำบล 2.9 นายเกรยี งไกร ใหมเ่ ทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 2.10 นางสาวณฐั ชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 2.11 นางสาวอุษา ยิง่ สกุ ครู ศรช.

21 3. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าที่ จัดซื้อพัสดุและยืมเงินสำรองจ่ายตามโครงการ และจัดทำเอกสาร เบิกจ่ายพัสดุ และการเงินตามโครงการใหถ้ กู ตอ้ งเรยี บรอ้ ยและทนั ต่อเวลาประกอบดว้ ย 3.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 3.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 3.3 นายศวิ ณัชญ์ อศั วสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 4. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์วิทยุห้างทองเรดิโอ เสียงตามสาย วิทยุชุมชน ประชาสัมพนั ธท์ างออนไลน์ Facebook Line ประกอบดว้ ย 4.1 นางวารี ชูบวั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 4.2 นางสาวมุจลินท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 4.3 นางลาวนิ สีเหลือง ครู กศน. ตำบล 4.4 นางสาวนภารัตน์ สีสะอาด ครู กศน. ตำบล 4.5 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธพิ ันธ์ ครู กศน. ตำบล 4.6 นางผกาพรรณ มะหทิ ธิ ครู กศน. ตำบล 4.7 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 4.8 นางสุรัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 4.9 นายเกรยี งไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล 4.10 นางสาวณัฐชา ทาแน่น ครู กศน. ตำบล 4.11 นางสาวอุษา ยงิ่ สกุ ครู ศรช. 5. ฝ่ายจัดกิจกรรม มีหน้าที่ให้กรรมการมีหน้าที่จัดกิจกรรมโครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ ของคนในชมุ ชน มหี นา้ ทีช่ ่วยปรบั ปรุงภูมทิ ศั น์ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดนท้งั ภายในและภายนอก ดงั น้ี 5.1.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 5.1.2 นางสมบัติ มาเนตร์ ครอู าสาสมัครฯ 5.1.3 นางสาวลาวณั ย์ สทิ ธกิ รวยแกว้ ครอู าสาสมัครฯ 5.1.4 นางสาวมุจลนิ ท์ ภยู าธร ครู กศน. ตำบล 5.1.5 นางลาวนิ สเี หลอื ง ครู กศน. ตำบล 5.1.6 นางสาวนภารตั น์ สสี ะอาด ครู กศน. ตำบล 5.1.7 นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครู กศน. ตำบล 5.1.8 นางผกาพรรณ มะหิทธิ ครู กศน. ตำบล 5.1.9 นางสาวพัชราภรณ์ นริศชาติ ครู กศน. ตำบล 5.1.10 นางสรุ ัตน์ จันทะไพร ครู กศน. ตำบล 5.1.11 นายเกรยี งไกร ใหม่เทวินทร์ ครู กศน. ตำบล

22 5.1.12 นางสาวณัฐชา ทาแนน่ ครู กศน. ตำบล 5.1.13 นายศวิ ณัชญ์ อัศวสัมฤทธ์ิ ครู ศรช. 5.1.14 นางสาวกญั ญาณฐั จันปญั ญา ครู ศรช. 5.1.15 นายปณั ณวฒั น์ สขุ มา ครู ศรช. 5.1.16 นางสาวอุษา ยง่ิ สุก ครู ศรช. 5.1.17 นางสาววรางคณา น้อยจนั ทร์ ครู ศรช. 5.1.18 นางสาวเยาวดี โสดา นักจดั การงานทัว่ ไป 6. ฝ่ายรับลงลงทะเบียน ใหก้ รรมการมหี น้าทีจ่ ัดเตรยี มเอกสารสำหรบั การลงทะเบียน และรับลงทะเบยี น ผ้เู ข้าร่วมโครงการ ดังน้ี 6.1 นางสาวอษุ า ยง่ิ สกุ ครู ศรช. 6.2 นางสาวกญั ญาณฐั จันปญั ญา ครู ศรช. 7. ฝ่ายวัดผลและประเมินผลโครงการ มีหน้าที่แจกแบบสอบถามความพึงพอใจและเก็บรวบรวม แบบสอบถามความพงึ พอใจ ประเมนิ ผลการดำเนินงาน ประเมินความพึงพอใจ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานหลงั เสร็จส้ินโครงการ ดังนี้ 7.1 นางวารี ชบู วั บรรณารกั ษช์ ำนาญการ 7.2 นางสาวอุษา ยิง่ สุก ครู ศรช. 7.3 นางสาวกญั ญาณฐั จนั ปญั ญา ครู ศรช.

2. ขัน้ ดำเนินการ กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ก 1. ขนั้ เตรียมการ ครูและบุคลากร เพ่ือจดั ประชุมครูและบคุ ลากรทางการ กศน. อำเภอชนแดน ช ศกึ ษา จำนวน 20 คน ว - ชแี้ จงทำความเขา้ ใจรายละเอยี ด โครงการ - ช้ีแจงแนวทางในการดำเนนิ โครงการ - จัดทำโครงการและแผนการดำเนนิ การ เพื่ออนมุ ัติ - แตง่ ต้ังกรรมการดำเนินงานตาม โครงการ 2. ประชุมกรรมการ เพ่อื ประชมุ ทำความเข้าใจกบั กรรมการ ครูและบุคลากร ช กศน. อำเภอชนแดน ข ดำเนนิ งาน ดำเนินงานทกุ ฝา่ ยในการจดั กิจกรรม จำนวน 20 คน โครงการและการดำเนนิ งาน 3. จดั เตรยี มเอกสาร เพื่อดำเนนิ การจดั ทำ จดั ซ้อื วัสดุอุปกรณ์ กรรมการฝ่ายที่ได้รบั จ วสั ดุ อปุ กรณใ์ นการ ทใ่ี ชใ้ นการดำเนินการ มอบหมาย ดำเนินโครงการ

23 กลุ่มเปา้ หมาย พื้นทด่ี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) กศน. อำเภอ ก.ค.64 - ชแ้ี จงทำความเขา้ ใจ รายละเอียดและ ชนแดน วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดโครงการ ช้ีแจงวตั ถปุ ระสงค์ บทบาทหนา้ ท่ี กศน. อำเภอ ก.ค. 64 - ของกรรมการดำเนนิ งานโครงการ ชนแดน จัดซอ้ื วสั ดุอปุ กรณใ์ นการจัดโครงการ กศน. อำเภอ ส.ค. 64 2,170 ชนแดน บาท

กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย ก 4. ดำเนินการจดั กิจกรรม เพื่อดำเนนิ การปรบั ปรงุ ภมู ิทัศน์หอ้ งสมุด ให้ ห้องสมุดประชาชน ห ไ 5. สรปุ /ประเมนิ ผล เป็นCo-Learning Space แหล่งเรยี นรขู้ อง อำเภอชนแดน ใ และรายงานผล แ โครงการ คนในชุมชน จำนวน 1 แห่ง เ ก เพอ่ื ใหก้ รรมการฝ่ายประเมนิ ผลเกบ็ ตามกระบวนการ ส รวบรวมขอ้ มลู และดำเนินการประเมินผล ประเมินโครงการ ต การจัดกจิ กรรม 5 บท จำนวน 3 เลม่

24 กลุ่มเป้าหมาย พ้นื ท่ีดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย (เชิงคณุ ภาพ) ห้องสมุด 9 - 13 - ส.ค.๖๔ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชนแดน ประชาชนอำเภอ - ไดร้ ับการปรับปรุงภูมิทศั นห์ ้องสมุด ชนแดน ก.ย.64 ให้เปน็ Co-Learning Space แหล่งเรียนรูข้ องคนในชมุ ชนเป็นแหล่ง กศน. อำเภอ เรยี นรู้ตลอดชวี ติ พรอ้ มใหบ้ ริการแก่ ชนแดน กลุ่มเป้าหมายต่างๆ สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน ตามระบบ PDCA

25 3. ขั้นสรปุ การจัดกิจกรรม 1. ดัชนวี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 1.1 ตัวช้ีวดั ผลผลติ (output) หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน ๑ แหง่ 1.2 ตวั ชวี้ ัดผลลพั ธ์ (outcome) หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน ไดร้ บั การปรบั ปรุงใหเ้ ป็น Co-Learning Space แหล่งเรยี นรูข้ องคนในชมุ ชน เปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต พร้อมใหบ้ ริการแก่กลมุ่ เปา้ หมาย ตา่ งๆ 2. การติดตามผลประเมินผลโครงการ 2.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม / โครงการ 2.2 สรุป/รายงานผลการจัดกจิ กรรม

26 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการ การศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ Co-Learning Space แหลง่ เรียนรู้ของคนในชุมชน กิจกรรมวันรกั การอา่ น แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดงั นี้ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป เพศ รอ้ ยละ จำนวน 30.96 เพศ 69.04 ชาย 48 100 หญิง 107 รวม 155 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศยั กิจกรรมที่ 2 โครงการ Co-Learning Space แหลง่ เรยี นรู้ของคนในชุมชน ในคร้ังนี้ เป็นเพศหญิง มากท่ีสุด จำนวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 69.04 ช่วงอายุ อายุ ร้อยละ ตำ่ กวา่ 15 ปี จำนวน 0.64 15 - 29 ปี 72.91 30 – 39 ปี 1 13.54 40 - 49 ปี 113 3.87 50 - 59 ปี 21 4.52 60 ปขี นึ้ ไป 6 4.52 7 100 รวม 7 155 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน ในครั้งนี้ เป็นช่วงอายุ 15-29 ปีข้นึ ไป มากทส่ี ดุ จำนวน 113 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 72.91

27 ระดับการศึกษา การศึกษา ร้อยละ ประถมศกึ ษา จำนวน 5.81 40.0 ม.ต้น 9 52.90 ม.ปลาย 62 ปวช./ปวส. 82 - ปรญิ ญาตรี - 1.29 สูงกว่าปรญิ ญาตรี 2 รวม - - 155 100 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน ในครั้งนี้ การศึกษาระดับ ม.ปลาย มากทส่ี ดุ จำนวน 82 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52.90 อาชพี อาชีพ รอ้ ยละ รับจ้าง จำนวน 45.80 เกษตรกรรม 10.97 ผ้นู ำชมุ ชน 71 ค้าขาย 17 - รับราชการ - 3.87 นกั เรยี น/นกั ศึกษา 6 1.29 อืน่ ๆ ระบุ 2 30.97 รวม 48 7.10 11 100 155 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายโครงการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน ในครั้งนี้ เป็นอาชีพรับจ้าง มากทสี่ ุด จำนวน 71 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.80

28 ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลความคิดเหน็ และความพึงพอใจต่อโครงการ 2.1 เกณฑ์การพจิ ารณาระดับความพึงพอใจ 0.00 – 1.50 อยูใ่ นระดับ น้อยท่ีสดุ 1.51 – 2.50 อยู่ในระดับ นอ้ ย 2.51 – 3.50 อยูใ่ นระดับ ปานกลาง 3.51 – 4.50 อยู่ในระดบั มาก 4.51 - 5 อยใู่ นระดบั มากที่สุด 2.2 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 5 อยใู่ นระดับ มากทส่ี ดุ 4 อยู่ในระดับ มาก 3 อย่ใู นระดับ ปานกลาง 2 อยู่ในระดับ น้อย 1 อยู่ในระดบั นอ้ ยทส่ี ุด

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นต่อโครงการ จำนวน ผู้ประเมนิ ขอ้ รายการ (คน) มากทส่ี 1 ความพงึ พอใจดา้ นทรัพยากรสารสนเทศ 5 1.1 หนงั สอื และสื่ออิเล็กทรอนิกสม์ จี ำนวนเพียงพอตอ่ ความ ตอ้ งการ 155 73 1.2 หนังสือและส่ืออิเล็กทรอนกิ สท์ ีใ่ ห้บริการตรงต่อความ ต้องการ 155 72 1.3 หนังสอื และส่ืออเิ ล็กทรอนกิ สม์ ีความทนั สมยั 155 90 1.4 จัดหมวดหม่หู นังสือและส่อื อเิ ล็กทรอนิกสเ์ ปน็ ระบบ 155 79 สะดวกต่อการค้นคว้า 155 74 1.5 วารสาร หนงั สอื พมิ พ์ เพียงพอและตรงกบั ความต้องการ 155 77 2 ความพงึ พอใจด้านอาคารสถานที่ 155 83 2.1 การจดั ภมู ทิ ศั น์ภายนอกห้องสมดุ ดงึ ดูดความสนใจของ 155 85 ผใู้ ช้บรกิ าร 155 81 2.2 จดั ภูมิทัศน์ภายในเอ้ือต่อการอา่ นและการเรียนรู้ 2.3 มีการจัดมุมบริการหนังสือภายในหอ้ งสมุดใหม้ ีบรรยากาศ ส่งเสรมิ การอ่าน 2.4 สง่ิ อำนวยความสะดวกตา่ งๆ เชน่ ทน่ี ่ังอ่านหนังสือ พดั ลม

29 ระดับผลการประเมิน เฉล่ยี S.D. ประมวล ผล สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ดุ รอ้ ยละ 4 321 53 28 1 0 4.28 0.78 มาก 85.55 57 18 6 2 4.23 0.90 มาก 84.65 44 18 2 1 4.42 0.80 มาก 88.39 53 15 5 3 4.29 0.91 มาก 85.81 52 22 4 3 4.23 0.92 มาก 84.52 58 17 1 2 4.34 0.80 มาก 86.71 45 20 6 1 4.31 0.89 มาก 86.19 47 20 2 1 4.37 0.81 มาก 87.48 50 18 3 3 4.31 0.89 มาก 86.19

ขอ้ รายการ จำนวน มากทส่ี ดุ ผู้ 5 2.5 จัดและตกแตง่ ห้องสมดุ ด้วยสีสันสวยงาม สะอาด เป็น ระเบยี บเรียบรอ้ ย ประเมิน 2.6 มีป้ายประชาสัมพนั ธ์และแบง่ พื้นที่ใชส้ อยได้เหมาะสม 2.7 มีมุมบริการท่หี ลากหลาย เชน่ มุมกาแฟ มุมนำ้ ด่ืม มุม (คน) เดก็ มุมอนิ เทอร์เนต็ ฯลฯ 3 ความพึงพอใจด้านบริการและกจิ กรรม 155 83 3.1 มีการประชาสัมพันธ์ของหอ้ งสมุด เช่น แผน่ พับ / เว็บไซต/์ facebook เปน็ ปจั จุบนั 155 88 3.2 มีการแนะนำหนงั สอื ใหม่ 3.3 บริการตอบคำถามและช่วยคน้ ควา้ 155 84 3.4 มกี ารใหบ้ รกิ ารที่สะดวกและรวดเร็ว 3.5 การจัดเรยี งหนงั สอื วารสารบนชั้นทำให้คน้ หาไดง้ ่าย 155 89 3.6 มีกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นที่หลากหลาย 3.7 บริการอนิ เทอรเ์ นต็ และ Wifi 155 77 155 83 155 79 155 88 155 87 155 96

30 ระดบั ผลการประเมิน เฉลย่ี S.D. ประมวล รอ้ ยละ ด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ ผล 87.48 87.23 4 321 86.32 51 17 4 0 4.37 0.78 มาก 42 21 1 3 4.36 0.88 มาก 44 20 6 1 4.32 0.89 มาก 46 16 3 1 4.41 0.80 มาก 88.26 50 23 5 0 4.28 0.84 มาก 85.68 47 20 5 0 4.34 0.83 มาก 86.84 52 19 1 4 4.30 0.90 มาก 85.94 45 19 2 1 4.40 0.80 มาก 88.00 42 22 4 0 4.37 0.82 มาก 87.35 31 22 3 3 4.38 0.93 มาก 87.61

ข้อ รายการ จำนวน มากท่ีสุด ผู้ 5 4 ความพงึ พอใจด้านบุคลากร 4.1 บคุ ลากรมีความเอาใจใส่และเตม็ ใจให้บรกิ าร ประเมนิ 4.2 บุคลากรแตง่ กายสุภาพ และมีบุคลกิ ภาพที่เหมาสม 4.3 บคุ ลากรพูดจาไพเราะเป็นกันเอง มีอัธยาศยั ดี (คน) 4.4 บุคลากรให้คำแนะนำและชว่ ยเหลอื ในการใหบ้ ริการ 4.5 บคุ ลากรใหบ้ รกิ ารด้วยความเสมอภาคเท่าเทียม 155 88 รวมทั้งหมด 155 91 รอ้ ยละ 155 90 155 80 155 88 3720 2005 100 53.90

31 ระดบั ผลการประเมนิ เฉลยี่ S.D. ประมวล ร้อยละ ด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ดุ ผล 4 321 46 19 2 0 4.42 0.75 มาก 88.39 43 15 4 2 4.40 0.86 มาก 88.00 41 20 3 1 4.39 0.83 มาก 87.87 59 11 2 3 4.36 0.83 มาก 87.23 44 21 0 2 4.39 0.82 มาก 87.87 1142 461 75 37 4.34 0.85 มาก 86.90 30.70 12.39 2.02 0.9946

32 จากตาราง สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมที่ 2 โครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน ในครั้งนี้ ผลปรากฏว่าระดับความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก คดิ เป็นร้อยละ 86.90 ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ -

33 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ การบูรณาการการเรยี นรู้ • มกี ารนำความรู้ท่ไี ดร้ บั ไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวันได้ • จากกิจกรรมช่วยส่งเสริม ให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไป มีนิสัยรักการอ่าน และมีความคิด สร้างสรรค์ มีนสิ ัยรกั การอ่านนำไปสูก่ ารเรียนรู้ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ให้ดีขน้ึ ความรว่ มมือของกลุ่มเปา้ หมายและเครอื ขา่ ย - การมีส่วนรว่ มของภาคเี ครือขา่ ยในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย - การสนบั สนุนใหภ้ าคเี ครือข่ายจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การนำความรู้ไปใช้ - ส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปเข้าถึง และมีโอกาสได้อ่าน หนังสือ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีนิสัยรกั การอ่านนำไปสู่การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดีข้นึ การดำเนินงานทวั่ ไป เชงิ ปรมิ าณ - กล่มุ เป้าหมาย หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน ๑ แห่ง - จำนวนกลมุ่ ตัวอย่าง นักเรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไป จำนวน 155 คน 1) ชาย จำนวน 48 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 30.96 2) หญิง จำนวน 107 คน คดิ เป็นร้อยละ 69.04 เชิงคุณภาพ ห้องสมุดประชาชนอำเภอชน ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ห้องสมุด ให้เป็นCo-Learning Space แหลง่ เรียนรขู้ องคนในชมุ ชน เป็นแหลง่ เรยี นรู้ตลอดชีวิต พรอ้ มใหบ้ ริการแก่กลมุ่ เปา้ หมายต่างๆ ผลการดำเนนิ งานตามตวั ชี้วัดความสำเร็จ 1. เป้าหมาย หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอชนแดน จำนวน ๑ แห่ง มีผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรม จำนวน 155 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมาย 2. จำนวนผรู้ ว่ มกิจกรรม จำนวน 155 คน ผ่านกจิ กรรม จำนวน 155 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ผลการดำเนนิ งานบรรลุเป้าหมาย

สรปุ ผลการดำเนินงาน - ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมท่ี 2 โครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก คดิ เป็นร้อยละ 86.90 สรุปความพงึ พอใจต่อโครงการ/กิจกรรม ที่เขา้ รว่ ม 1. ความพงึ พอใจด้านทรพั ยากรสารสนเทศ 1.1 หนงั สอื และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์มจี ำนวนเพยี งพอต่อความต้องการ อยใู่ นระดับความพึงพอใจ มาก คดิ เป็นร้อยละ 85.55 1.2 หนังสือและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้บรกิ ารตรงตอ่ ความต้องการ อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 84.65 1.3 หนังสือและสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีความทันสมัย อยู่ในระดบั ความพึงพอใจ มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 84.65 1.4 จัดหมวดหมหู่ นังสอื และสื่ออเิ ล็กทรอนิกสเ์ ปน็ ระบบ สะดวกต่อการค้นควา้ อยู่ในระดับ ความพึงพอใจ มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 85.81 1.5 วารสาร หนงั สอื พมิ พ์ เพียงพอและตรงกับความต้องการ อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มาก คดิ เป็นร้อยละ 84.52 2. ความพึงพอใจด้านอาคารสถานท่ี 2.1 การจัดภมู ทิ ศั น์ภายนอกห้องสมุดดึงดูดความสนใจของผู้ใช้บรกิ าร อยูใ่ นระดบั ความพงึ พอใจ มาก คิดเปน็ ร้อยละ 86.71 2.2 จดั ภมู ิทศั นภ์ ายในเออ้ื ต่อการอา่ นและการเรียนรู้ อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86.19 2.3 มกี ารจดั มุมบริการหนังสือภายในหอ้ งสมุดให้มีบรรยากาศสง่ เสรมิ การอ่าน อยูใ่ นระดับ ความพึงพอใจ มาก คิดเป็นร้อยละ 87.48 2.4 สิง่ อำนวยความสะดวกต่างๆ เชน่ ทน่ี ่งั อ่านหนังสือ พดั ลม อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 86.19 2.5 จดั และตกแตง่ หอ้ งสมุดด้วยสีสนั สวยงาม สะอาด เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย อยใู่ นระดับ ความพงึ พอใจ มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 87.48 2.6 มปี ้ายประชาสมั พันธแ์ ละแบ่งพ้ืนที่ใช้สอยไดเ้ หมาะสม อย่ใู นระดับความพึงพอใจ มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.23 2.7 มีมมุ บรกิ ารทีห่ ลากหลาย เช่น มมุ กาแฟ มมุ นำ้ ดื่ม มุมเดก็ มมุ อินเทอรเ์ นต็ ฯลฯ อยู่ในระดับ ความพึงพอใจ มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 86.32

3. ความพึงพอใจดา้ นบรกิ ารและกจิ กรรม 3.1 มีการประชาสัมพนั ธข์ องหอ้ งสมุด เชน่ แผน่ พับ /เว็บไซต์/facebook เปน็ ปจั จบุ นั อยใู่ นระดบั ความพึงพอใจ มาก คิดเปน็ ร้อยละ 88.26 3.2 มีการแนะนำหนงั สือใหม่ อยู่ในระดบั ความพงึ พอใจ มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 85.68 3.3 บรกิ ารตอบคำถามและช่วยคน้ คว้า อยใู่ นระดับความพึงพอใจ มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 86.84 3.4 มีการใหบ้ รกิ ารท่สี ะดวกและรวดเร็ว อย่ใู นระดับความพึงพอใจ มาก คดิ เป็นร้อยละ 85.94 3.5 การจัดเรียงหนังสอื วารสารบนชั้นทำใหค้ น้ หาไดง้ า่ ย อย่ใู นระดับความพึงพอใจ มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 88.00 3.6 มีกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านทห่ี ลากหลาย อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มาก คิดเป็นร้อยละ 87.35 3.7 บริการอนิ เทอรเ์ น็ต และ Wifi อย่ใู นระดับความพึงพอใจ มาก คิดเปน็ ร้อยละ 87.61 4. ความพึงพอใจด้านบุคลากร 4.1 บคุ ลากรมีความเอาใจใส่และเต็มใจใหบ้ ริการ อย่ใู นระดบั ความพึงพอใจ มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 88.39 4.2 บคุ ลากรแต่งกายสุภาพ และมีบคุ ลกิ ภาพท่เี หมาสม อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 88.00 4.3 บคุ ลากรพูดจาไพเราะเป็นกนั เอง มีอัธยาศยั ดี อย่ใู นระดบั ความพึงพอใจ มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.87 4.4 บคุ ลากรให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการให้บริการ อยใู่ นระดับความพงึ พอใจ มาก คดิ เป็นร้อยละ 87.23 4.5 บคุ ลากรให้บรกิ ารด้วยความเสมอภาคเท่าเทยี ม อยูใ่ นระดบั ความพึงพอใจ มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.87 ขอ้ เสนอแนะ -

ภาคผนวก

ภาพกจิ กรรมโครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรมท่ี 4 โครงการ Co-Learning Space แหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน กศน.อำเภอชนแดน อำเภอชนแดน จังหวดั เพชรบรู ณ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook