Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore teachingscope-mattayom-2561-pdf.io_

teachingscope-mattayom-2561-pdf.io_

Published by james7254021, 2019-12-22 23:08:05

Description: teachingscope-mattayom-2561-pdf.io_

Search

Read the Text Version

๑๔ ขอบข่ายการเรยี นการสอน และการออกขอ้ สอบธรรมศึกษา ธรรมศึกษาชน้ั ตรี-โท-เอก วชิ ากระทู้ ระดบั มธั ยมศึกษา สนามหลวงแผนกธรรม

๑๕ ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกขอ้ สอบธรรมศึกษา วิชากระทู้ ธรรมศึกษาชน้ั ตรี ธรรมศึกษาช้นั โท ธรรมศึกษาชน้ั เอก ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา (ธศ ๒๑๑) (ธศ ๒๒๑) (ธศ ๒๓๑) ๑. ปาปวรรค คือ หมวดบาป ๑. อตั ตวรรค คือ หมวดตน ๑. กมั มวรรค คือ หมวดกรรม ๑. ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย. ๑.อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ๑.อุฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ ความสงั่ สมบาป นาํ ทุกขม์ าให.้ อตฺตทตฺถมภิญฺญาย สทตฺถปสุโต สิยา. สุสํวิหิตกมฺมนฺโต ส ราชวสตึ วเส. ขุ. ธ. ๒๕/๓๐. บุคคลไม่ควรพล่าประโยชนข์ องตน ผูห้ มนั่ ในการงาน ไม่ประมาท เป็นผู ้ เพราะประโยชนผ์ ูอ้ ื่นแมม้ าก รูจ้ กั ประโยชน์ รอบคอบ จดั การงานเรียบรอ้ ย จึงควร ๒. ปาปานํ อกรณํ สุข.ํ ของตนแลว้ พงึ ขวนขวายในประโยชนข์ อง อยู่ในราชการ. การไม่ทาํ บาป นาํ สุขมาให.้ ตน. (พุทฺธ) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๙. ขุ. ธ. ๒๕/๕๙. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๗. ๒.ปาปญฺเจ ปุริโส กยิรา น นํ กยิรา ปุนปฺปุนํ ๓. นตฺถิ อการิยํ ปาปํ มุสาวาทิสฺส ชนฺตุโน. ๒.อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ น ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ ทุกฺโข ปาปสฺส อุจจโย. คนมกั พูดมุสา จะไม่พึงทาํ ความชวั่ ย่อม สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม. ถา้ คนพึงทําบาป ก็ไม่ควรทําบาปนัน้ ไม่มี. ถา้ สอนผูอ้ ื่นฉนั ใด พงึ ทาํ ตนฉันนัน้ ผู ้ บ่อยๆ ไม่ควรทาํ ความพอใจในบาปนัน้ นยั -ขุ. ธ. ๒๕/๓๘., นยั -ขุ. อิติ. ๒๕/๒๔๓. ฝึกตนดีแลว้ ควรฝึกผูอ้ ื่น ไดย้ ินว่าตนแล เพราะการสงั่ สมบาป นาํ ทุกขม์ าให.้ ๒. กมั มวรรค คือ หมวดกรรม ฝึ กยาก. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๐. ๔. สานิ กมฺมานิ นยนฺติ ทุคฺคตึ. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๖. ๓.โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ กรรมชวั่ ของตนเอง ย่อมนาํ ไปสู่ทุคติ. ขุ. ธ. ๒๕/๔๗. ๓.อตฺตานเมว ปฐมํ ปฏิรูเป นิเวสเย ปจฺฉา กิจฺเจ สมุปฺปนฺเน กตฺตารํ นาธิคจฺฉติ. อถญฺญมนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต. ผูอ้ ื่นทาํ ความดีให ้ ทาํ ประโยชน์ใหก้ ่อน ๕. อกตํ ทุกฺกฏํ เสยฺโย. บณั ฑิตพึงตัง้ ตนไวใ้ นคุณอนั สมควร แต่ไม่สาํ นึกถึง (บุญคุณ) เมื่อมกี ิจเกิดข้ึน ความชวั่ ไม่ทาํ เสียเลยดีกว่า. ส.ํ ส. ๑๕/๖๘., ขุ. ธ. ๒๕/๕๖. ก่อน สอนผูอ้ ่ืนภายหลงั จึงไม่มวั หมอง. ภายหลงั จะหาผูช้ ่วยทาํ ไม่ได.้ (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๖. (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๙. ๖. กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปก.ํ ๒. กมั มวรรค คือ หมวดกรรม ๒. ธมั มวรรค คือ หมวดธรรม ทาํ ดีไดด้ ี ทาํ ชวั่ ไดช้ วั่ . ๔.อติสีตํ อติอุณฺหํ อติสายมิทํ อหุ ๔.โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย ส.ํ ส. ๑๕/๓๓๓., ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๔. อิติ วิสฺสฏฺฐกมฺมนฺเต อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว. สตํ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโย. ประโยชน์ทัง้ หลายย่อมล่วงเลยคนผู ้ บุคคลควรเตือนกนั ควรสอนกนั และ ๗. กมฺมนุ า วตฺตตี โลโก. ทอดท้ิงการงาน ดว้ ยอา้ งว่าหนาวนกั รอ้ น ป้ องกนั จากคนไม่ดี เพราะเขาย่อมเป็นท่ี สตั วโ์ ลกย่อมเป็นไปตามกรรม. นกั เย็นเสยี แลว้ . รกั ของคนดี แต่ไม่เป็นท่รี กั ของคนไม่ดี. ม. ม. ๑๓/๖๔๘., ขุ. สุ. ๒๕/๔๕๗. (พุทฺธ) ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๕.

๑๖ ๓. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ ๕.ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ ๕.กาเมสุ พฺรหฺมจริยวา วีตตณฺโห สทา สโต ๘. ปุญฺญํ โจเรหิ ทูหรํ. กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. สงฺขาย นิพฺพุโต ภิกฺขุ ตสฺส โน สนฺติ อิญฺชิตา. บุญอนั โจรนาํ ไปไม่ได.้ บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมไดผ้ ล ภิกษุผูเ้ ห็นโทษในกาม มีความประพฤติ ส.ํ ส. ๑๕/๕๐. เช่นนัน้ ผูท้ าํ กรรมดี ย่อมไดผ้ ลดี ผูท้ าํ ประเสริฐ ปราศจากตณั หา มสี ติทุกเมื่อ ๙. สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย. ความสงั่ สมข้ึนซ่ึงบุญ นาํ สุขมาให.้ กรรมชวั่ ย่อมไดผ้ ลชวั่ . พิจารณาแลว้ ดบั กิเลสแลว้ ย่อมไม่มี ขุ. ธ. ๒๕/๓๐. (พุทฺธ) ส.ํ ส. ๑๕/๓๓๓. ความหวนั่ ไหว. ๑๐. ปุญฺญานิ ปรโลกสฺมึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณินํ. ๖.โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ (พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๑., ขุ. จู. ๓๐/๓๕. อตฺถา ตสฺส ปลุชฺชนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา. ๖.ชิคจฺฉา ปรมา โรคา สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา บุญเป็นท่พี ึงของสตั วใ์ นโลกหนา้ . ผูใ้ ด อนั ผูอ้ ่ืนทาํ ความดี ทาํ ประโยชนใ์ ห้ เอตํ ญตฺวา ยถาภูตํ นิพฺพานํ ปรมํ สุข.ํ ส.ํ ส. ๑๕/๒๖., องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๔๔., ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๙๔. ในกาลก่อน แต่ไม่รูส้ กึ (คุณของเขา) ความหวิ เป็นโรคอย่างยิ่ง สงั ขารเป็นทุกข์ ประโยชนท์ ่ผี ูน้ น้ั ปรารถนาย่อมฉิบหาย. อย่างยิ่ง รูข้ อ้ นัน้ ตามเป็นจริงแลว้ ดบั เสยี (ทฬฺหธมฺมโพธิสตฺต) ขุ. ชา. สตฺตก. ได้ เป็นสุขอย่างย่ิง. ๒๗/๒๒๘. (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๔๒. ๗.สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน วิหึสติ ๓. วิริยวรรค คือ หมวดความเพียร อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส น ลภเต สุขํ. ๗.โกสชฺชํ ภยโต ทสิ ฺวา วริ ิยารมฺภญฺจ เขมโต สตั วท์ ัง้ หลายย่อมตอ้ งการความสุข อารทฺธวริ ิยา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี. ผูใ้ ดแสวงหาสุขเพื่อตน เบยี ดเบียนเขาดว้ ย ท่านทงั้ หลายจงเห็นความเกียจครา้ นเป็น อาชญา ผูน้ นั้ ละไปแลว้ ย่อมไม่ไดส้ ุข. ภยั และเห็นการปรารภความเพยี รเป็น (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๒. ความปลอดภยั แลว้ ปรารภความเพยี รเถิด น้ ีเป็ นพุทธานุ ศาสนี. ๓. ปญั ญาวรรค คือ หมวดปญั ญา (พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕. ๘.ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโญ อปิ วิตฺตปริกฺขยา ปญฺญาย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ. ๘.นิทฺทํ ตนฺทึ วชิ ิมฺหติ ํ อรตึ ภตฺตสมฺมทํ ถงึ สิ้นทรพั ย์ ผูม้ ปี ญั ญาก็เป็นอยู่ได้ วิริเยน นํ ปณาเมตฺวา อริยมคฺโค วสิ ุชฺฌติ. แต่อบั ปญั ญาแมม้ ีทรพั ยก์ ็เป็นอยู่ไม่ได้ อริยมรรคย่อมบริสุทธิ์ เพราะขบั ไล่ (มหากปฺปินเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๐. ความหลบั ความเกียจครา้ น ความบดิ ข้ี ๙.ยสํ ลทฺธาน ทุมฺเมโธ อนตฺถํ จรติ อตฺตโน เกียจ ความไม่ยินดี และความเมาอาหาร อตฺตโน จ ปเรสญฺจ หึสาย ปฏิปชฺชติ. นนั้ ไดด้ ว้ ยความเพยี ร. (พุทฺธ) ส.ํ ส. ๑๕/๑๐. คนมีปญั ญาทราม ไดย้ ศแลว้ ย่อม ประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อม ๙.โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวรี ิโย ปฏิบตั ิเพ่อื เบยี ดเบียนทง้ั ตนและผูอ้ ่ืน. เอกาหํ ชีวติ ํ เสยฺโย วริ ิยํ อารภโต ทฬฺห.ํ (หตฺถาจริย) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๔๐. ผูใ้ ดเกียจครา้ น มคี วามเพยี รเลว พงึ เป็นอยู่ตัง้ รอ้ ยปี แต่ผูป้ รารภความเพยี ร ๑๐.โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต มนั่ คง มีชีวติ อยู่เพยี งวนั เดียว ประเสริฐ เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน. กว่าผูน้ น้ั . (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.

๑๗ ผูใ้ ดมีปญั ญาทราม มใี จไม่มนั่ คง พึง ๑๐.สพฺพทา สลี สมฺปนฺโน ปญฺญวา สุสมาหิโต เป็นอยู่ตงั้ รอ้ ยปี ส่วนผูม้ ปี ญั ญาเพ่งพินิจ อารทฺธวิริโย ปหติ ตฺโต โอฆํ ตรติ ทุตฺตร.ํ มชี ีวิตอยู่เพียงวนั เดียว ดีกว่า. ผูถ้ ึงพรอ้ มดว้ ยศีล มีปญั ญา มีใจมนั่ คง (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๙. ดีแลว้ ปรารภความเพยี ร ตงั้ ตนไวใ้ นกาล ทุกเม่อื ย่อมขา้ มโอฆะท่ขี า้ มไดย้ าก. (พุทฺธ) ส.ํ ส. ๑๕/๗๔.

๑๘ ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกขอ้ สอบธรรมศึกษา ธรรมศึกษาชน้ั ตรี-โท-เอก วิชาธรรม ระดบั มธั ยมศึกษา สนามหลวงแผนกธรรม

๑๙ ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกขอ้ สอบธรรมศึกษา วิชาธรรม ธรรมศึกษาช้นั ตรี ธรรมศึกษาช้นั โท ธรรมศึกษาช้นั เอก ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา (ธศ ๒๑๒) (ธศ ๒๒๒) (ธศ ๒๓๒) หมวด ๒ หมวด ๒ ส่วนสงั สารวฏั ฏ์ ๑. ธรรมมีอุปการะมาก ๒ ๑. กาม ๒ ๑. คติ ๒ ๒. ธรรมเป็นโลกบาล ๒ ๒. สุข ๒ -ทุคติ ๓. ธรรมอนั ทาํ ใหง้ าม ๒ หมวด ๓ -สุคติ ๔. บุคคลหาไดย้ าก ๒ ๑. อธิปเตยยะ ๓ ๒. กรรม ๑๒ หมวด ๓ ๒. ตณั หา ๓ -กรรมใหผ้ ลตามคราว ๔ ๑. ทุจริต ๓ ๓. อคั คิ ๓ -กรรมใหผ้ ลตามกิจ ๔ ๒. สุจริต ๓ ๔. วฏั ฏะ ๓ -กรรมใหผ้ ลตามลาํ ดบั ๔ ๓. บุญกิริยาวตั ถุ ๓ ๕. ญาณ ๓ ๓. หวั ใจสมถกมั มฏั ฐาน หมวด ๔ หมวด ๔ -กายคตาสติ ๑. อคติ ๔ ๑. อปสั เสนธรรม ๔ -เมตตา ๒. จกั ร ๔ ๒. อปั ปมญั ญา ๔ -พุทธานุสสติ ๓. อริยสจั ๔ หมวด ๕ -กสิณ หมวด ๕ ๑. มจั ฉริยะ ๕ -จตุธาตุววตั ถาน ๑. พละ ๕ ๒. นิวรณ์ ๕ -นิวรณ์ ๕ หมวด ๖ ๓. เวทนา ๕ ๔. สมถกมั มฏั ฐาน ๑. สาราณิยธรรม ๖ หมวด ๖ -อารมณ์ของสมถกมั มฏั ฐาน หมวด ๗ ๑. จริต ๖ -อภิณหปจั จเวกขณะ ๕ ๑. สปั ปุริสธรรม ๗ หมวด ๗ -สติปฏั ฐาน ๔ หมวด ๘ ๑. อปริหานิยธรม ๗ -กสิณ ๑๐ ๑. โลกธรรม ๘ -อสุภะ ๑๐ (สาํ หรบั คฤหสั ถ)์ -อนุสสติ ๑๐ คิหิปฏิบตั ิ หมวด ๙ -พรหมวิหาร ๔ ๑. สงั ฆคุณ ๙ -อาหาเรปฏิกูลสญั ญา ๑ ๑. สงั คหวตั ถุ ๔ หมวด ๑๐ -จตุธาตุววตั ถาน ๑ ๒. ทิศ ๖ ๑. บารมี ๑๐ -อรูป ๔

๒๐ -จริต ๖ ๕. พุทธคุณกถา -พุทธคุณ ๙

๒๑ ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกขอ้ สอบธรรมศึกษา ธรรมศึกษาชน้ั ตรี-โท-เอก วิชาพทุ ธประวตั ิ ระดบั มธั ยมศึกษา สนามหลวงแผนกธรรม

๒๒ ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกขอ้ สอบธรรมศึกษา วิชาพทุ ธประวตั ิ ธรรมศึกษาช้นั ตรี ธรรมศึกษาชน้ั โท ธรรมศึกษาช้นั เอก ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา (ธศ ๒๑๓) (ธศ ๒๒๓) (ธศ ๒๓๓) ปริเฉทท่ี ๑ ๑. พระมหากสั สปะ ปริเฉทท่ี ๑ ชาติกถา -ชมพูทวีปและประชาชน ๒. พระอุบาลี -จุติลงสู่พระครรภ์ -วรรณะ ๔ ๓. พระสิวลี -ประวตั ิชมพูทวปี และประชาชน ปริเฉทท่ี ๒ ๔. พระมหากจั จายนะ -ความเช่ือของคนในยุคนนั้ -สกั กชนบทและศากยวงศ์ ๕. พระเขมาเถรี -การสรา้ งเมืองกบลิ พสั ดุแ์ ละ -ลาํ ดบั ศากยวงศ์ ๖. พระอุบลวรรณาเถรี ตง้ั ศากยวงศ์ ปริเฉทท่ี ๓ ๗. พระปฏาจาราเถรี -ลาํ ดบั พระวงศ์ -ประสูติ ๘. พระกีสาโคตมีเถรี -พระมารดาทรงพระสุบนิ นิมิต -อสิตดาบสเขา้ เฝ้ าและพยากรณ์ ๙. บณั ฑิตสามเณร -พระโพธิสตั วป์ ระสูติ -ทรงอภิเษกสมรส ๑๐. ธมั มิกอุบาสก -อาสภิวาจา ดาํ รสั อย่างอาจหาญ ปริเฉทท่ี ๔ ๑๑. พระนางมลั ลกิ าเทวี -สหชาติ ส่ิงท่ีอุบตั ิในวนั เดียวกนั -เสด็จออกบรรพชา ศาสนพิธี กบั พระโพธิสตั ว์ ปริเฉทท่ี ๕ -ขนานพระนาม -ตรสั รู้ บทท่ี ๑ พิธีบาเพ็ญกุศลในทาง -พราหมณ์ ๘ คน ทาํ นาย -ทรงบาํ เพญ็ ทุกรกิริยา พระพุทธศาสนา พระลกั ษณะ -ทรงเลกิ บาํ เพ็ญทุกรกิริยา -วนั เขา้ พรรษา -พระนางสิริมหามายาทิวงคต -ทรงบาํ เพ็ญเพยี รทางจิต -วนั ออกพรรษา -พระราชพิธีวปั ปมงคล ปริเฉทท่ี ๖ -วนั เทโวโรหณะ -ทรงอภิเษกสมรส -ทรงพจิ ารณาสตั วโ์ ลกเปรียบ -วนั ธรรมสวนะ ปริเฉทท่ี ๒ บรรพชา ดว้ ยดอกบวั บทท่ี ๒ พิธีเจริญพระพุทธมนต์ -ประพาสอุทยาน -แสดงปฐมเทศนา -ความเป็นมาของพธิ ีเจริญ -ราหุลประสูติ -แสดงอนตั ตลกั ขณสูตร -มูลเหตุใหเ้ สด็จออกบรรพชา ปริเฉทท่ี ๗ พระพุทธมนต์ -เสด็จหอ้ งพระนางพิมพา -ทรงส่งสาวกไปประกาศพระศาสนา -อานิสงสก์ ารเจริญพระพุทธมนต์ -เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ บทท่ี ๓ พิธีสวดพระพุทธมนต์

๒๓ -โปรดยสกุลบุตร -พธิ ีสวดพระอภิธรรมศพ -ทรงบาํ เพ็ญทุกรกิริยา ๓ วาระ -โปรดชฎิล ๓ พ่นี อ้ ง -พธิ ีบาํ เพ็ญกุศล ๗ วนั ๕๐ วนั -ปญั จวคั คียอ์ อกบวชตาม -แสดงอาทิตตปริยายสูตร ๑๐๐ วนั -นางสุชาดาถวายขา้ วมธุปายาส ปริเฉทท่ี ๘ -พธิ ีทาํ บุญงานฌาปนกิจศพ -ทรงลอยถาด -เสด็จเมอื งราชคฤห์ แควน้ มคธ -พธิ ีสวดมาติกาบงั สุกุล -เสด็จสู่ตน้ พระศรีมหาโพธ์ิ -ทรงรบั พระอุทยานเวฬุวนั เป็น -พธิ ีทาํ บุญฉลองอฐั ิ -ทรงผจญวสวตั ตีมาร สงั ฆาวาส บทท่ี ๔ เทศกาลสาคญั ทาง -บาํ เพ็ญเพียรทางใจและไดต้ รสั รู้ -ทรงไดพ้ ระอคั รสาวก พระพุทธศาสนา ปริเฉทท่ี ๓ สตั ตมหาสถาน ปริเฉทท่ี ๙ -พธิ ีลอยกระทงตามประทีป -เสวยวิมุตติสุข -ทรงบาํ เพญ็ พุทธกิจในแควน้ มคธ -พิธีถวายผา้ ป่า -สหมั บดีพรหมอาราธนา -ประทานอุปสมบทแก่ -พธิ ีถวายผา้ กฐนิ ปริเฉทท่ี ๔ ประกาศพระศาสนา พระมหากสั สปะ บทท่ี ๕ ประเพณีสาคญั ทาง -เสด็จโปรดฤษีปญั จวคั คีย์ -มหาสนั นิบาตแห่งพระสาวก พระพุทธศาสนา -ทรงแสดงปฐมเทศนา -ทรงแสดงทิศ ๖ โปรดสิงคาลก -พิธีบรรพชาสามเณร -โกณฑญั ญะไดด้ วงตาเห็นธรรม มาณพ -พิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ -ทรงประทานการบวชดว้ ยวธิ ี ปริเฉทท่ี ๑๐ เอหิภิกขุอุปสมั ปทา -เสด็จเมอื งกบิลพสั ดุช์ าติภูมิ -ทรงแสดงอนตั ตลกั ขณสูตร -โปรดพระพุทธบิดา -โปรดยสกุลบุตร -นนั ทกุมารออกบวช -ปฐมอุบาสกอุบาสิกาใน -ราหุลบรรพชา พระพุทธศาสนา ปริเฉทท่ี ๑๑ -สหายพระยส ๕๔ คน ออกบวช -เสด็จแควน้ โกศล -ส่งสาวก ๖๐ องค์ไปประกาศ ปริเฉทท่ี ๑๒ พระศาสนา -ทรงปรงอายุสงั ขาร เสด็จบา้ น -ประทานอุปสมบทแก่ภทั ทวคั คีย์ เวฬุวคาม -โปรดชฎิล ๓ พ่นี อ้ ง และบริวาร -ประทานโอวาทแก่ภิกษุสงฆ์ -ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร เสด็จป่ ามหาวนั -โปรดพระเจา้ พมิ พิสาร -นายจุนทะถวายปิจฉิมบิณฑบาต -ทรงรบั สวนเวฬุวนั เป็นอารามสงฆ์ เสด็จเมืองปาวา ปริเฉทท่ี ๕ ทรงบาเพ็ญพุทธกิจ -บรรทมอนุฏฐานไสยา -พระอคั รสาวกทง้ั สอง -ทรงปรารภสกั การบูชา -พระสารีบุตร

-ทรงแสดงสงั เวชนียสถาน ๔ ๒๔ ตาํ บล -ถูปารหบุคคล ๔ -พระโมคคลั ลานะ -ประทานโอวาทแก่พระอานนท์ ปริเฉทท่ี ๖ ศิษยพ์ ราหมณ์พาวรี -ตรสั สรรเสริญพระอานนท์ ๑๖ คน -ตรสั สงั่ ใหแ้ จง้ ข่าวปรินิพพาน -ปญั หาติสสเมตเตยยมาณพ แก่มลั ลกษตั ริย์ -ปญั หาอุทยมาณพ -โปรดสุภทั ทปริพาชก -ปญั หาโปสาลมาณพ -ประทานโอวาทแก่ภิกษุสงฆ์ -ปญั หาโมฆราชมาณพ -ปจั ฉิมโอวาท -ปญั หาปิงคิยมาณพ -ปรินิพพาน -มาณพ ๑๖ คน ทูลขออุปสมบท ปริเฉทท่ี ๑๓ ปริเฉทท่ี ๗ ประทานการบวช -ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ดว้ ยวิธีจตุตถกรรมวาจา -แจกพระบรมสารีริกธาตุ -ประวตั ิพระราธะ -สาระสาํ คญั ในการเสด็จ -การบวชดว้ ยวธิ ีจตุตถกรรมวาจา ปรินิพพานท่ีเมอื งกุสินารา -สงั เวชนียสถาน ๔ ครงั้ แรก -โปรดพระปุณณมนั ตานีบุตร ศาสนพิธี ปริเฉทท่ี ๘ เสด็จเมืองกบิลพสั ดุ์– เจา้ ศากยะออกบวช -อารมั ภบท -แสดงธรรมโปรดพุทธบิดา -พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ -นนั ทกุมารออกบวช -พิธีบาํ เพ็ญกุศลในวนั สาํ คญั -รบั สงั่ ใหบ้ วชราหุลกุมารเป็น ทางพระพุทธศาสนา สามเณร -วนั มาฆบูชา -พระเจา้ สุทโธทนะขอพรการ -ความเป็นมาของวนั มาฆบูชา บวชกุลบุตร -วนั วิสาขบูชา -พระพุทธบดิ าทรงประชวร -ความเป็นมาของวนั วิสาขบูชา และบรรลุพระอรหนั ต์ -วนั อฏั ฐมบี ูชา -มูลเหตุที่พระอนุรุทธะออกบวช -ความเป็นมาของวนั อฏั ฐมบี ูชา -พระเทวทตั ทาํ อนนั ตริยกรรม -วนั อาสาฬหบูชา -พระอานนทท์ ูลขอพร ๘ ประการ -ความเป็นมาของวนั อาสาฬหบูชา ปริเฉทท่ี ๙ โปรดพระพุทธมารดา -เสด็จจาํ พรรษาในดาวดึงส์ โปรดพระพุทธมารดา

-พธิ ีถวายภตั ตาหาร ๒๕ -พธิ ีถวายทาน -พธิ ีแสดงความเคารพพระรตั นตรยั -เสด็จลงจากดาวดึงส์ -คาํ บูชาพระรตั นตรยั -รบั ผา้ คู่ของพระนางโคตมี -คาํ อาราธนาศีล ๕ ปริเฉทท่ี ๑๐ โปรดพระสาวก -สรณคมน์และศีล ๕ -โปรดพระโสณโกฬวิ ิสะ -คาํ อาราธนาพระปริตร -โปรดพระรฏั ฐปาละ -คาํ อาราธนาธรรม -พระรฏั ฐปาละแสดงธรรมทุ เทศ -วธิ ีประเคนของถวายพระ ๔ ประการ -วธิ ีกรวดนาํ้ ปริเฉทท่ี ๑๑ เสด็จดบั ขนั ธ ปรินิพพาน -ปลงอายุสงั ขาร -บณิ ฑบาตครง้ั สุดทา้ ย -ทรงรบั ผา้ สิงคิวรรณ -ทรงปรารภสกั การบูชา -สงั เวชนียสถาน ๔ ตาํ บล -โปรดสุภทั ทปริพาชก -ประทานปจั ฉิมโอวาท -พระบรมศพไม่เคล่อื นท่ี -ถวายพระเพลงิ ไม่ติด -แจกพระบรมสารีริกธาตุ -พระเข้ยี วแกว้ ประดิษฐานอยู่ ในเทวโลก -อนั ตรธาน ๕ ปริเฉทท่ี ๑๒ ภิกษุณี -พระนางมหาปชาบดีโคตมี ปฐมสาวิกา -ทรงอนุญาตครุธรรมปฏิคคหณ อุปสมั ปทา -ทรงแสดงเหตุท่ีไม่ยอมให ้ สตรีบวช -พระนางพมิ พาออกบวช

๒๖ ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกขอ้ สอบธรรมศึกษา ธรรมศึกษาชน้ั ตรี-โท-เอก วชิ าวินยั (เบญจศีล-เบญจธรรม, อโุ บสถศีล, กรรมบถ) ระดบั มธั ยมศึกษา สนามหลวงแผนกธรรม

๒๗ ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกขอ้ สอบธรรมศึกษา วิชาวินัย (เบญจศีล-เบญจธรรม, อโุ บสถศีล, กรรมบถ) ธรรมศึกษาช้นั ตรี ธรรมศึกษาชน้ั โท ธรรมศึกษาชน้ั เอก ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา (ธศ ๒๑๔) (ธศ ๒๒๔) (ธศ ๒๓๔) บทที่ ๑ ว่าดว้ ยวินัย บทที่ ๑ ว่าดว้ ยอโุ บสถ บทท่ี ๑ ว่าดว้ ยกรรมบถ ๑. ระเบียบวินยั ๑. ความหมายของอุโบสถ ๑. ความหมายของกรรมบถ ๒. ศีลเป็นแม่บทของวินยั ๒. ความเป็นมาของอุโบสถ ๒. กรรมบถ ๒ อย่าง ๓. ความหมายของศีล ๓. ความม่งุ หมายในการรกั ษา ๓. กรรมบถ ๒ อย่างใหผ้ ลต่างกนั ๔. ศีลคือการรกั ษาปกติ อุโบสถ บทท่ี ๒ ว่าดว้ ยอกศุ ลกรรมบถ ของมนุษย์ ๔. อุโบสถ ๓ ประเภท ๑. ความหมายของอกุศลกรรมบถ ๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐ ๕. ความม่งุ หมายในการรกั ษาศีล - ปกติอุโบสถ ๓. จาํ แนกอกุศลกรรมบถโดย บทท่ี ๒ ว่าดว้ ยเบญจศีล - ปฏิชาครอุโบสถ ๑. เบญจศีล ๕ สิกขาบท กรรม ๓ ๒. อธิบายเบญจศีล ๕ สิกขาบท - ปาฏิหาริยอุโบสถ ขอ้ ท่ี ๑ เวน้ การฆ่าสตั ว์ บทท่ี ๒ ว่าดว้ ยอโุ บสถศีล ๔. อธิบายอกุศลกรรมบถ ๑๐ ขอ้ ท่ี ๒ เวน้ การลกั ทรพั ย์ ๑. องคป์ ระกอบของอุโบสถศีล - กายกรรม ๓ ขอ้ ท่ี ๓ เวน้ การประพฤติผิด - พระรตั นตรยั - วจีกรรม ๔ ในกาม - การเขา้ ถึงพระรตั นตรยั - มโนกรรม ๓ ขอ้ ท่ี ๔ เวน้ การพูดเท็จ ๕. การใหผ้ ลของอกุศลกรรมบถ ๑๐ ขอ้ ท่ี ๕ เวน้ การด่ืมสุราเมรยั - อุโบสถศีล ๘ สิกขาบท บทที่ ๓ ว่าดว้ ยเบญจธรรม ๒. อธิบายอุโบสถศีล ๘ สกิ ขาบท บทท่ี ๓ ว่าดว้ ยกุศลกรรมบถ ๑. ความสาํ คญั ของเบญจธรรม ๓. ขอ้ ควรเวน้ ขณะรกั ษาอุโบสถ ๑. ความหมายของกุศลกรรมบถ ๒. อธิบายเบญจธรรม ๕ ๔. ขอ้ ควรปฏิบตั ิขณะรกั ษา ๒. กุศลกรรมบถ ๑๐ ขอ้ ท่ี ๑ เมตตากบั กรุณา อุโบสถ ๓. จาํ แนกกุศลกรรมบถ โดยกรรม ๓ ขอ้ ท่ี ๒ การเล้ยี งชีวิตในทาง บทท่ี ๓ ว่าดว้ ยอานิสงสข์ อง ๔. อธิบายกุศลกรรมบถ ๑๐ ที่ชอบ อุโบสถ - กายกรรม ๓ ขอ้ ท่ี ๓ ความสาํ รวมในกาม ๑. โคปาลกอุโบสถ - วจีกรรม ๔ ขอ้ ท่ี ๔ ความมสี ตั ย์ ๒. นิคคณั ฐอุโบสถ - มโนกรรม ๓ ขอ้ ท่ี ๕ ความมีสติรอบคอบ ๓. อริยอุโบสถ ๕. การใหผ้ ลของกุศลกรรมบถ ๑๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook