Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 004-ไม้ดอกไม้ประดับในหุบเขาลำพญา

004-ไม้ดอกไม้ประดับในหุบเขาลำพญา

Published by Suphawadee Phromrai, 2023-08-11 06:47:26

Description: 004-ไม้ดอกไม้ประดับในหุบเขาลำพญา
เรียบเรียงโดย นางสาวสุภาวดี พรมราย เลขที่16 ม.6/3

Search

Read the Text Version

*4#/ À‰¥¨¡´ ™¹ ž¢£§l °ˆ´¡À¢±«„¢µ²§§£²•—´ ¡´¢«²¥¥¢²±ž££²«£Š¥© ²²¢± —¢š°²£‡¥¡Š²£§µ² Š²™´ ž™µ ²–





ไมด้ อกไม้ประดบั ป่าในหบุ เขาลำพญา ไม้ดอกไมป้ ระดับป่าในหุบเขาลำพญา พมิ พค์ ร้งั ที่ 1 จำนวน 750 เลม่ ปี 2551 ISBN : 978-974-8144-91-7 จดั ทำและเผยแพร่โดย ศูนยว์ ิจัยความหลากหลายทางชวี ภาพ เฉลมิ พระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา สงวนลขิ สทิ ธ์ิ ศูนยว์ ิจัยความหลากหลายทางชวี ภาพ เฉลมิ พระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชนิ ีนาถ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา ตดิ ต่อ ศูนยว์ ิจยั ความหลากหลายทางชวี ภาพ เฉลมิ พระเกยี รติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา เลขท่ี 133 ถนนเทศบาล 3 ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จงั หวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ : 0-7322-7151-16 ตอ่ 1028 โทรสาร : 0-7322-7128 E-mail : [email protected] Website : www.yru.ac.th พิมพ์ที ่ บริษทั เอสพร้ินท์ (2004) จำกดั โทรศัพท์ 0-7325-5555

A ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา เฉลศมิ ูนพยรว์ ะจิมเัยหกคยีาววราติทมิย7หา2ลลยัาพกรราหรชลษภาายัฏทยบะารงลมชาร ีวาภชาินพีน าถ

๑๑๖ ัวน จาก ัวนแ ่ม... ึถง...วัน ่พอ B ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา

จากวนั แม่...ถงึ ...วันพ่อ ๑๑๖ วัน C ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา สรา้ งสามัคค ี โครงการ “จากวันแม่ถึงวันพ่อ 116 วัน สร้างสามัคคี” ได้รับพระราชทาน พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้า สริ ิกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พรอ้ มกลา่ วสดุดเี ฉลิมพระเกยี รติ ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ ผ่านมา ล้นเกล้าฯ ของชาวไทยท้ังสองพระองค์ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ นานัปการ ทรงตรากตรำพระวรกาย ล้วนเป็นไปเพื่อความอยู่ดีมีสุขและบังเกิด ความร่มเย็นเกษมสานต์แก่ทวยราษฎร์โดยทั่วหน้า ทรงอุทิศพระองค์เพ่ือความเจริญ ก้าวหน้าของประเทศชาติและประโยชน์สุขของประชาชนอย่างแท้จริง โอกาสนี้ ศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ ได้จัดทำหนังสือไม้ดอกไม้ประดับป่าในหุบเขาลำพญา ได้ร่วมน้อมรับและประกาศ ความสมานฉันท์ และน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระพรชัยมงคล ด้วยความ จงรักภักดี เบื้องหน้าพระบรมสาทิสลักษณ์ ภายใต้แนวคิดของการดำเนินงาน อยา่ งไมฟ่ ุ่มเฟือย โอกาสน้ีไดร้ ว่ มต้อนรบั โครงการ “จากวนั แมถ่ ึงวันพอ่ 116 วัน สร้างสามัคคี” โดยการร่วมแสดงออกซึ่งความรัก ความสามัคคีซึ่งกันและกัน ผ่านการจัดทำหนังสือไม้ดอกไม้ประดับป่าในหุบเขาลำพญา ร่วมกับภาครัฐ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ภาคเอกชน และประชาชนในพนื้ ทร่ี ว่ มกนั จัดข้ึน เพ่ือให้ เกิดความสามัคคสี มานฉนั ท์ในพนื้ ท ่ี

D ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา

“การท่ีจะมตี ้นไม้ไปชั่วกาลนานนั้น E ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา สำคญั อยูท่ กี่ ารรกั ษาปา่ และปลกู ปา่ บริเวณต้นนำ้ ซึ่งเป็นยอดเขาและเนินสูงนนั้ ตอ้ งมกี ารปลูกป่าโดยไมย้ ืนต้น และปลูกไมฟ้ นื ซ่งึ ไม้ฟนื นัน้ ราษฎรสามารถนำไปใช้ได ้ แตต่ ้องมกี ารปลูกทดแทนเป็นระยะ ส่วนไม้ยนื ตน้ จะชว่ ยให้อากาศ มคี วามชุ่มช้นื เปน็ ขัน้ ตอนหน่ึงของระบบการใหฝ้ นตกแบบธรรมชาติ ท้งั ยงั ช่วยยดึ ดนิ บนเขา ไม่ใหพ้ ังทลายเมอื่ เกดิ ฝนตกอกี ด้วย ซึ่งถ้ารักษาสภาพปา่ ไม้ไวด้ ีแลว้ ทอ้ งถิน่ ก็จะมนี ้ำใช้ชว่ั กาลนาน”

F ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา

“…..ข้าพเจา้ มคี วามภมู ิใจในทรัพยากรธรรมชาต ิ ปา่ ไม้และสตั ว์ปา่ ของไทยมาก ข้าพเจ้าเห็นว่า เราควรใชท้ รัพยากรเหล่าน้ีอยา่ งระมดั ระวังและทำนุบำรงุ ให้คงอยู่ตลอดไปมิใช่ใหป้ ระวตั ิศาสตรจ์ ารึกไว้วา่ ทรัพยากรธรรมชาติเหล่าน้ ี ถกู ทำลายหมดสิ้นไปในระยะเวลาอันสัน้ แคช่ ว่ งอายเุ รา.....” G ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา

H ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา คำนำ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยการดำเนินงานของศูนย์วิจัยความ หลากหลายทางชีวภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ ร่วมกับ ประชาชนชาวลำพะยา นักวิชาการท้ังในท้องถิ่นและระดับชาติ ได้รวบรวมข้อมูล เก่ยี วกบั พชื และประโยชน์ในการนำมาเปน็ ไม้ดอกไม้ประดับป่า ทพี่ บในพน้ื ท่ีหบุ เขา ลำพญา จัดพิมพ์เป็นหนังสือ “ไม้ดอกไม้ประดับป่าในหุบเขาลำพญา” เพื่อ เป็นการเผยแพร่ให้ทราบกันโดยท่ัวไปว่าในหุบเขาลำพญามีทรัพยากรอันทรง คุณค่า เนื่องจากพรรณไม้ที่สำรวจในพื้นที่นอกจากนำมาใช้ประโยชน์ด้านการ บริโภคเป็นอาหารและยาสมุนไพรแล้ว ยังสามารถนำมาใช้เป็นไม้ดอกไม้ประดับ เพ่ือให้เกิดความสวยงามและร่มเย็น ท้ังยังให้ความรู้สึกสดชื่นสบายใจ สามารถ ฟ้ืนฟูสภาพจิตใจของผู้ที่ได้พบเห็น การรวบรวมจัดพิมพ์เผยแพร่ครั้งน้ี คาดหวัง ให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนได้เห็นคุณค่า เกิดความรู้สึกหวงแหน ทรัพยากรธรรมชาติอันจะนำไปสู่การอนุรักษ์ การศึกษาและพัฒนาการใช้ ประโยชน์อยา่ งยง่ั ยนื ต่อไป คณะกรรมการศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ และบุคลากรในมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา ขอนอ้ มจิต อธิษฐานส่ิงศักดิ์สิทธิ์ท้ังหลาย ขอถวายพระพรชัยมงคลแด่องค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จงทรงพระเจริญ ด้วยพระพลานามัย ทรงพระเกษมสำราญ พระชนมายุยืนนาน เป็นม่ิงขวัญของ พสกนกิ รชาวไทยตลอดไป (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไกรสร ศรีไตรรตั น์) อธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา

คำน ำ I ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา หนังสือ “ไม้ดอกไม้ประดับป่าในหุบเขาลำพญา” เล่มน้ีได้จัดทำข้ึน เพื่อรวบรวมพรรณไม้ดอกไม้ประดับป่าซ่ึงสำรวจพบในพ้ืนที่หุบเขาลำพญา เน่ืองจากเป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ และมีความหลากหลายทางชีวภาพ สูงมากแห่งหน่ึงในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย โดยเฉพาะพรรณไม้ต่างๆ จากการศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น พบมีการใช้ประโยชน์จากพืชในด้าน ต่างๆ เช่น สมุนไพร ซ่ึงได้รวบรวมและนำเสนอในหนังสือพืชสมุนไพรในลำพะยา และหนังสือไม้ป่ากินได้ในหุบเขาลำพญา ซึ่งรวบรวมความรู้ในการนำพรรณไม้ป่า มาใช้เป็นอาหาร สำหรับหนังสือ “ไม้ดอกไม้ประดับป่าในหุบเขาลำพญา” ศูนย์วิจัย ความหลากหลายทางชีวภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ ได้ รวบรวมความรู้เกี่ยวกับพรรณไม้ในการพัฒนาเป็นไม้ดอกไม้ประดับเชิงพาณิชย์ ทั้งเพ่ือประดับตกแต่งภายนอกและภายในอาคารสถานที่ จึงรวบรวมความรู้เรื่อง พรรณไม้ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนำความรู้มาใช้ประโยชน ์ ในการตกแต่งได้อย่างถูกต้อง สำหรับรายละเอียดของเนื้อหาประกอบด้วย ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่ออ่ืน ช่ือวงศ์ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยา บางประการ และลักษณะเดน่ ของพืชแตล่ ะชนดิ คณะผู้จัดทำหวังอย่างยิ่งว่า หนังสือ “ไม้ดอกไม้ประดับป่าในหุบเขา ลำพญา” เล่มน้ีคงเป็นประโยชน์ในการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับไม้ดอกไม้ประดับ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิจัยและพัฒนาเพ่ือใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพใน อนาคต รวมทั้งเป็นหนังสือสำหรับผู้สนใจทั่วไป ซ่ึงเป็นสิ่งหน่ึงที่ช่วยสร้างแรงจูงใจ ให้มีการศึกษาค้นคว้า ตลอดจนเกิดจิตสำนึกและตระหนักในคุณค่าของ ทรัพยากรธรรมชาติ นำไปส่กู ารอนุรักษ์ให้คงอยกู่ ับผนื ป่าแห่งนีต้ ลอดไป คณะผ้จู ดั ทำ

J ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา สารบัญ ไม้ดอกไมป้ ระดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา 1 ลักษณะของไมด้ อกไม้ประดบั ป่า 4 กลมุ่ พืชไรด้ อก 9 กลมุ่ พชื เมล็ดเปลอื ย 77 กลมุ่ พืชใบเลยี้ งเดยี่ ว 81 กลมุ่ พชื ใบเลีย้ งคู ่ 177 บรรณานกุ รม 216 ดชั น ี 217

ไมด้ อกไม้ประดบั ป่า 1 ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา ในหุบเขาลำพญา ไม้ดอก หมายถึง พืชที่ออกดอกมีสีสันสวยงามให้ดอกได้เป็นระยะเวลา นานๆ หรือออกดอกสลับหมุนเวียนกันตลอดฤดูกาล ให้ดอกตลอดอายุนับตั้งแต่มี ความสมบูรณ์แขง็ แรงพอจะใหด้ อกได้ พืชที่จดั ไว้ในประเภทไมด้ อก มที ัง้ พชื ลม้ ลุกอายุ เพียงหนง่ึ หรอื สองฤดกู าล เชน่ ดาหลา ดเุ หว่า และพืชยืนตน้ ทม่ี ีอายนุ านหลายปี เช่น กล้วยไม้ ไม้ประดับ หมายถึง พืชท่ีให้สีสัน ลักษณะของใบ ผล ต้น และทรงต้น สวยงามใช้ประดับสถานท่ี ส่ิงก่อสร้างหรืออาคารบ้านเรือนได้ พืชท่ีจัดไว้ในประเภท ไมป้ ระดบั เช่น เฟิน เออ้ื งหมายนา ปรงเขา ปาลม์ การจำแนกไม้ดอกไมป้ ระดับ สามารถจำแนกดงั น ี้ 1. การแบ่งตามความมงุ่ หมายที่ใช้ 2. การแบ่งตามลกั ษณะวสิ ยั และนเิ วศวิทยาบางประการของพนั ธุ์ไม้ 3. การแบ่งตามหลักพฤกษศาสตร์ 1. การแบง่ ตามความมุง่ หมายท่ีใช ้ การแบง่ ไม้ดอกไมป้ ระดบั แบบนี้ แบง่ ตามการใชป้ ระโยชน์ ดังนี ้ 1.1 ไม้ดอก พรรณไมท้ ี่ผู้ใชม้ จี ดุ ประสงค์ต้องการดอก แบง่ ออกเป็น 1) ไม้ตดั ดอก (Cutting Flower plants) คอื พนั ธุ์ไม้ทป่ี ลูกไว้เพือ่ ตัดดอกจากตน้ มาใช้ หรอื จำหน่าย คุณภาพหรือคุณสมบัติของไมต้ ัดดอกที่ดคี ือ - ดอกสวยงาม มสี สี นั สะดุดตา - กา้ นดอกยาวและแขง็ แรง นำมาปกั แจกนั หรือจัดดอกไม้ได้ด ี - ไม่เห่ียวหรือร่วงโรยงา่ ย มอี ายุการใชง้ านนาน - ดอกดก - เป็นพนั ธท์ุ ี่ปลูก ดูแลรักษา และขยายพันธุ์ได้ไมย่ ากนกั 2) ไม้ดอก (Flowering plants) หมายถึง พันธุ์ไม้ท่ีต้องการชม ความงามของดอกที่ติดอยู่กับต้นมากกว่าตัดออกจากต้น ไม้ดอกประเภทนี้มีดอก บอบบาง ก้านดอกส้ันหรือมีกล่ินหอม ดอกไม้ประเภทน้ีจึงปลูกไว้ดูดอกกับต้น และใช้ ปลกู ลงแปลงประดบั สวน ประดบั อาคาร หรอื ปลกู เปน็ ไม้กระถาง

2 ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา 1.2 ไม้ประดับ (Ornamental plants) คือ พันธุ์ไม้ท่ีมีจุดประสงค์ในการใช้ ประดบั อาคาร สถานที่ โดยคำนึงถึงรปู ร่าง ความสวยงามของทรงพมุ่ ลำต้น ใบ เปน็ สำคญั แบง่ พันธ์ุไม้ประดบั ออกเป็น 2 ประเภท คอื 1) ไม้ใบ (Foliage plants) คือ พันธ์ุไม้ที่มีรูปร่างลักษณะของใบ สวยงาม มีสีสัน รูปร่างตามความต้องการและความมุ่งหมายที่จะใช้ความงามของใบ เป็นสำคญั 2) ไมก้ ระถาง (Potted plants) หมายถงึ พนั ธุ์ไมด้ อก หรอื พนั ธุ์ไม้ใบ หรือพันธ์ุไม้ผล ท่ีมีสัดส่วนรูปร่างลักษณะของต้น ดอก ใบและผลงดงามเม่ืออยู่ใน กระถาง ไม้กระถางส่วนมากเป็นพันธุ์ไม้ท่ีมีความอ่อนแอและต้องการความเอาใจใส่ ดแู ลอย่างใกล้ชดิ และการปลกู ไมก้ ระถางบางครัง้ เพอื่ ความสะดวกในการเคล่ือนย้าย เพ่อื ใช้ประดบั ตกแตง่ ตามสถานทีต่ ่างๆ 2. การแบ่งตามลกั ษณะวสิ ยั และนเิ วศวิทยาบางประการของพนั ธ์ุไม ้ การแบ่งพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับตามลักษณะวิสัยและนิเวศบางประการของ พนั ธุ์ไม้ แบ่งออกไดห้ ลายลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้ 2.1 การแบ่งตามถน่ิ กำเนิด - พนั ธ์ุไมท้ ก่ี ำเนิดจากป่าหรอื พันธุ์ไมพ้ น้ื เมอื ง - พนั ธุ์ไม้ลกู ผสมและไม้พันธแ์ุ ท ้ 2.2 การแบง่ ตามอายพุ ันธ์ุไม ้ - ไมล้ ม้ ลกุ (Annual) - พนั ธุ์ไมท้ ี่มีอายไุ ม่เกิน 2 ปี (Biennials) - พนั ธุ์ไมท้ ม่ี ีอายนุ านกว่า 2 ปี (Perennials) 2.3 การแบ่งตามลักษณะของเนื้อไม้ - ไมเ้ นอื้ ออ่ น (Herb และ Succulent plants) - ไม้เนอื้ แข็ง (Woody plants) 2.4 การแบง่ ตามลกั ษณะสงิ่ แวดลอ้ มของแสง - พันธ์ุไม้ในรม่ (Indoor plants) - พนั ธ์ุไม้กลางแจ้ง (Outdoor plants) 2.5 การแบง่ ตามลกั ษณะของลำตน้ - ไม้เลื้อย (Climbing or Vines) - ไม้พ่มุ (Shrubs)

- ไม้ตน้ (Trees) 3 ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา - ไม้หัว (Bulbs and Corms) 2.6 การแบง่ ตามทอ่ี ย ู่ - พนั ธ์ุไม้บก (Terrestrial plant) - พนั ธ์ุไม้น้ำ (Aquatic plant) 3. การแบง่ ตามหลกั พฤกษศาสตร์ พืชจดั อยูใ่ น Kingdom Plantae แบ่งเป็น 2 Subkingdom ดังนี้ 3.1 Subkingdom Thallophyta หมายถึง พืชท่ีไม่มีราก ไม่มีลำต้น และ ไมม่ ีใบที่แทจ้ ริง ไมม่ เี ซลล์ระบบท่อ เกสรตวั เมียหรอื ไขต่ วั เมียไม่มสี ิง่ หอ่ หุม้ เช่น เฟิน 3.2 Subkingdom Embryophyta หมายถึง พืชท่ีมีพัฒนาการสูง โดยที ่ ไข่อยู่ในสิ่งห่อหุ้มของเพศเมียในต้นอ่อน ส่ิงห่อหุ้มรอบไข่นี้เรียกว่า Archegonium ไดแ้ ก่ พืชมีเมลด็ (seed plant) พชื ในหมวดย่อยน้ีแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ ี 1. Gymnospermae เรียกพืชในช้ันน้ีว่าพืชเมล็ดเปลือย (Naked Seed Plants) หมายถึงพืชท่ีเมล็ดไม่มีสิ่งห่อหุ้ม พืชพวกนี้ไม่มีรังไข่ ไม่มีผล และมี การปฏิสนธิเดี่ยว (single fertilization) ตัวอย่างพืชในช้ันน้ี เช่น สนเขา แปะก๊วย และปรง พืชเมล็ดเปลอื ยมีววิ ัฒนาการในโลกมากอ่ นพชื ดอก เมอื่ ประมาณ 280 ลา้ น ปีท่แี ลว้ หรือกอ่ นไดโนเสารเ์ ริ่มครองโลก 2. Angiospermae เรียกพืชในช้ันนี้ว่าพืชดอก (Flower plants) เนอื่ งจากในพวกพชื มเี มลด็ ดว้ ยกนั เฉพาะพชื กลมุ่ นเี้ ทา่ นน้ั ทส่ี รา้ งดอก พชื ดอกหมายถงึ พืชที่เมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม พืชกลุ่มน้ีมีรังไข่ (ovary) มีผล (fruit) และมีการปฏิสนธิคู่ (double fertilization) พืชดอกมวี วิ ฒั นาการมาจากพืชเมล็ดเปลือยดกึ ดำบรรพ์ เมอื่ ประมาณ 136 ล้านปีที่แล้ว หรือในยุคที่ไดโนเสาร์เร่ิมสูญพันธุ์ พืชในชั้นนี้มีมากที่สุด ในโลกประมาณ 275,000 ชนิด (species) ในประเทศไทยประมาณว่ามีมากกว่า 12,000 ชนิด และมีหลากหลายขนาด พบท้ังบนบกและในน้ำ เป็นไม้ยืนต้น เช่น ที่พบเห็นบนพื้นดินท่ัวไป เป็นเถาเกาะเก่ียวตามต้นไม้ จนถึงพืชอากาศท่ีอาศัยอยู่บน ต้นไม้อื่น สังเคราะห์แสงได้เอง (photosynthetic plants) ดังเช่นพืชท่ีเราเห็น ทว่ั ๆ ไป จนถงึ พชื เบยี นหรอื กาฝาก (parasitic plants) และพชื กนิ ซาก (saprophytic plants) พืชท่ีเราพบเห็นและศึกษาโดยท่ัวไปทางการเกษตรจัดอยู่ในกลุ่มนี้ ดังน้ัน เน้อื หาทจี่ ะกล่าวถึงในหนงั สอื เลม่ น้จี งึ เก่ยี วข้องกับพืชดอกเกอื บทง้ั หมด

4 ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา ลกั ษณะของไม้ดอกไม้ประดับปา่ ไม้ดอกไม้ประดบั เปน็ พชื ซึ่งมนษุ ยน์ ำมาใชป้ ระโยชน์ในการประดับตกแต่ง ทง้ั ภายนอกและภายในอาคาร หรอื ประดบั ตกแตง่ สถานท่ี โดยดูองค์ประกอบต่างๆ ดังน ้ี 1. วิสยั พืช (Plant habit) ไม้เถา (Climber) ไม้ลม้ ลุก (Herb) ไม้พุม่ (Shrub) ไม้ตน้ (Tree)

2. ส่วนประกอบของพืช (Parts of Plants) ไดแ้ ก่ ราก ลำต้น ใบ ดอก และผล ท่มี ลี ักษณะรปู ทรง สีสัน กล่ิน ทส่ี วยงาม แปลกตาหรอื โดดเด่น 3. ใบ 4. ดอก 2. ลำต้น 5. ผล 1. ราก 5 ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา 2.1 ราก (Root) รากพพู อน รากหายใจ รากยดึ เกาะ

6 ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา 2.2 ลำต้น (Stem) ลำตน้ บนดนิ (Aerial stems) ปร งเขา หมากสง หมากหวงิ เออื้ งแมงมมุ ลำต้นใต้ดนิ (Subterranean stems) ขงิ ข่า บอน ว่านจูงนาง 2.3 ใบ (Leaf) กระเชา้ สดี า ไทรใบโพธิห์ ัวกลับ กะพ้อหนู เอื้องตะขาบใบใหญ ่

2.4 ดอก (Flower) l ดอกเดย่ี ว (Solitary flower) เปน็ ดอกทเ่ี กดิ ขน้ึ บนกา้ นดอกเพยี งดอกเดยี ว ในแตล่ ะขอ้ ของกง่ิ หรอื ลำตน้ เชน่ สา่ เหลา้ ปตั ตานี สายหยดุ สงั หยดู อกแดง โคลงเคลง ก้างปลาแดง โคลงเคลง วา่ นพังพอน สังหยูแดง บหุ งาลำเจยี ก แววมยรุ า สายหยดุ สา่ เหลา้ ปัตตาน ี l ดอกชอ่ (Inflorescence flower) เปน็ ดอกทเี่ กดิ เปน็ กลมุ่ อยบู่ นกา้ นดอกใหญ่ เดียวกัน อาจประกอบด้วยก้านดอกย่อย ๆ หลายดอก ลักษณะการติดของดอก ทำให้เกดิ ช่อดอกแบบตา่ ง ๆ กนั เชน่ ดอกเขม็ ว่านจูงนาง เอ้ืองหมายนา เขม็ ขาว ชา้ งดำ ปดุ เดอื น เอ้อื งช่องวงช้าง 7 ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา ว่านจงู นาง เอือ้ งหมายนา เอ้อื งไอยเรศ นมตำเลีย

8 ไมด้ อกไม้ประดบั ปา่ ในหบุ เขาลำพญา 2.5 ผล (Fruit) กะจปิ าตมี ะฮ ์ กะพ้อหนู สายหยุด จำปาขอม ชะงดเขา เต่ารา้ งหน ู นมแมว หมากตอกใบใหญ ่

กลุ่มพชื ไรด้ อก 9 ไ ้มดอกไม้ประ ัดบ ่ปาใน ุหบเขาลำพญา พืชไร้ดอก หมายถึง พืชท่ีมีส่วนประกอบต่าง ๆ ไม่ครบ โดยเฉพาะดอก จัดเป็นพืชชั้นต่ำ พืชไร้ดอกแต่ละชนิดจะมีลักษณะแตกต่างกันด้วย ได้แก่ เฟิน ไลโคโปเดยี มและซแี ลกจิเนลลา เฟินและพืชใกล้เคียงเฟิน (ไลโคโปเดียมและซีแลกจิเนลลา) เป็นพืชช้ันต่ำที่มี วิวัฒนาการมาก่อนพืชดอก สามารถเจริญเติบโตได้ในที่ท่ีมีความช้ืนเพ่ือช่วยในการ สบื พนั ธุ์ เฟินมีลกั ษณะที่แตกต่างจากพชื มีดอกอยา่ งชดั เจน นั่นคือ ไม่มีดอก ผล และ เมล็ด ขยายพันธุ์โดยใช้สปอร์ที่เกิดอยู่ตามใต้ใบ อีกทั้งยังมีใบอ่อนที่ม้วนงอปกคลุม ด้วยเกล็ดหรือขนจำนวนมาก ดูแปลกแตกต่างจากไม้ประดับทั่วไป ไลโคโปเดียม ขยายพันธ์ุโดยโครงสรา้ งที่เรียกว่า สโตรบลิ สั (Strobilus)

10 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา กระแตไต่ไม้ ช่ือวิทยาศาสตร ์ Drynaria quercifolia (L.) Sm. ชื่อวงศ์ POLYPODIACEAE ชื่ออื่น ดาว์กาโล๊ะ (มลาย-ู ยะลา) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เปน็ เฟนิ อิงอาศยั ไรโซม ทอดเลื้อย มีขนสั้นสีน้ำตาลปกคลุม เส้นผ่าศูนย์กลาง 5.0-7.0 เซนติเมตร ใบ มสี องแบบคอื ใบไมส่ รา้ งสปอร์ เปน็ ใบเดยี่ ว รปู ไข่ กวา้ ง 25-30 เซนตเิ มตร ยาว 25-40 เซนติเมตร แผ่นใบหนากรอบ ผิวใบเรียบเห็นเส้นใบชัดเจน ขอบใบหยัก แฉกต้ืน โคนใบมน ก้านใบสั้นติดกับลำต้น ใบสร้างสปอร์ มีขนาดใหญ่กว่าใบ ไม่สร้างสปอร์ กว้าง 25-30 เซนติเมตร ยาว 50-80 เซนติเมตร แผ่นใบหนากรอบ ขอบหยักเวา้ ลกึ เขา้ หาเสน้ กลางใบ ปลายใบแหลม โคนใบแหลม กา้ นใบแขง็ สนี ำ้ ตาล กลุ่มอับสปอร์ กลม เกิดที่ใต้ใบ เรียงเป็น 2 แถวขนานกันระหว่างเส้นใบ แต่ละคู ่ แหลง่ ที่พบ อาศัยอย่บู นตน้ ไม้ ตามซอกหิน และบนโขดหนิ แสงรำไร การขยายพันธ์ุ สปอร์ แยกเหง้า ลักษณะเด่น ใบ

11 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

12 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา กีบแรด ชอ่ื วิทยาศาสตร ์ Angiopteris evecta (G.Forst.) Hoffm. ชอ่ื วงศ์ MARATTIACEAE ชอื่ อื่น วา่ นกบี ม้า ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร ์ เปน็ เฟินดนิ ไรโซม สั้นฝังอยู่ที่ระดับผิวดิน มีร่องรอยบุ๋มรอบหัวเกิดจากข้ัวของก้านใบที่ หลดุ ออก เหลือไวเ้ ป็นรอ่ งคล้ายกีบเทา้ แรด หัวมีเสน้ ผ่าศูนย์กลาง 25-30 เซนติเมตร ใบ ใบประกอบแบบขนนก 2 ช้ัน ใบย่อยรูปขอบขนาน กว้าง 4.0-5.0 เซนติเมตร ยาว 8.0-11.0 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน ก้านใบย่อยส้ัน แผ่นใบหนา สีเขียวเปน็ มันเงา ก้านใบอวบใหญ่ สีเขยี วเขม้ ยาว 80-100 เซนตเิ มตร มขี นสีน้ำตาลปกคลมุ กลมุ่ อบั สปอร์ เรยี งตัวขนาน 2 แถวบริเวณขอบใบยอ่ ย แหลง่ ท่พี บ พบขึ้นบนดินริมเขือ่ น มีรม่ เงา และอากาศชื้น การขยายพันธ์ุ สปอร ์ ลักษณะเดน่ ใบสร้างสปอร์

13 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

14 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา ช่อื วทิ ยาศาสตร์ กดู ตนี กวาง Helminthostachys zeylanica (L.) Hook ชื่อวงศ์ OPHIOGLOSSACEAE ช่ืออื่น ตนี นกยงู กดู จอ๊ ง ตโู ย๊ะลางิ (มลาย-ู ยะลา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ เป็นเฟนิ ดิน ไรโซม เป็นไหลเลื้อยใตด้ นิ ลักษณะอวบนำ้ สีขาว เส้นผ่าศนู ยก์ ลางประมาณ 1.0 เซนติเมตร มีรากสีขาวจำนวนมาก ก้านใบขึ้นตรงตั้งฉากกับพ้ืนดินมีขนาดเล็ก สีเขยี วออ่ น ยาว 15-20 เซนติเมตร ใบ ออกปีละ 1 ใบ สีเขียวสด กว้าง 20-30 เซนติเมตร ใบแผ่กางออก ใบแบง่ เป็น 3 แฉก แตล่ ะแฉก แบ่งออกเป็น 1-2 แฉกยอ่ ย กา้ นใบแผแ่ บนออก แต่ละ แฉกรปู หอก กวา้ ง 2.0-2.5 เซนติเมตร ยาว 10-13 เซนตเิ มตร เส้นใบนมิ่ กลุ่มอับสปอร์ เกิดบนก้านยาวต้ังตรงเหนือใบ ยาว 10-15 เซนติเมตร อับสปอร์ขึ้นเป็นกระจุกท่ีปลายก้านคล้ายธูป เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1.0 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร แหลง่ ท่พี บ ปา่ ดิบชน้ื ทว่ั ไป แสงรำไร การขยายพันธุ์ สปอร ์ ลกั ษณะเด่น ใบและอบั สปอร ์

15 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

16 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา กูดหางปลา ชอ่ื วิทยาศาสตร ์ Nephrolepis biserrata (Sw.) Schott ชอ่ื วงศ ์ NEPHROLEPIDACEAE ช่ืออ่นื กูดลาน กูดหางปลา (นราธวิ าส) ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ เปน็ เฟนิ ดิน ไรโซม เกอื บตรงมีเกล็ดห่อห้มุ ไหลใตด้ นิ มีรากแขง็ แรงคล้ายลวดจำนวนมาก เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 0.5-0.8 เซนตเิ มตร สนี ้ำตาลเขม้ ใบ ใบประกอบแบบขนนกใบเรียงสลับ มีใบย่อย 50-80 คู่ ใบย่อยรูปหอก แกมขอบขนาน กวา้ ง 1.0-1.5 เซนติเมตร ยาว 13-15 เซนติเมตร แผ่นใบบางแต่แข็ง ผิวใบเป็นมันวาว ขอบใบหยักละเอียด ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ไม่มีก้านใบย่อย กา้ นใบยาว 90-150 เซนตเิ มตร มีขนสีนำ้ ตาลเขม้ ปกคลุม กลุ่มอับสปอร์ เกิดใต้ใบ เป็นวงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0-1.5 มิลลิเมตร สีน้ำตาลเรียงเป็นแถว ห่างจากขอบใบกับเส้นกลางใบ 1/3 ของความกว้าง ข้างละ 30-50 จุด แหลง่ ทพ่ี บ พบข้ึนบนพน้ื ดนิ รมิ ลำธาร แสงแดดส่องถงึ การขยายพันธุ์ สปอร์ ลกั ษณะเดน่ ใบ

17 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

18 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา เกล็ดนาคราช ช่อื วิทยาศาสตร์ Pyrrosia piloselloides L. ชอื่ วงศ์ POLYPODIACEAE ชือ่ อ่ืน เกลด็ นาคราช กบี มา้ ลม มนั เหยี้ , Dragon scale ลักษณะทางพฤกษศาสตร ์ เปน็ เฟินองิ อาศยั ขนาดเลก็ ไรโซม ทอดเล้ือยยาวคล้ายเชือก ตามกิ่งหรือลำต้นไม้อ่ืน มีเกล็ดปกคลุม เลก็ น้อย เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.3-0.5 เซนติเมตร ใบ มีสองแบบ คือ ใบไม่สร้างสปอร์ เป็นใบเด่ียว รูปรีหรือค่อนข้างกลม ขนาดกวา้ ง 1.5-3.0 เซนตเิ มตร ยาว 3.5-4.0 เซนตเิ มตร แผน่ ใบหนา อวบนำ้ ผวิ ใบ เรียบเป็นมันท้ัง 2 ด้าน ขอบใบเรียบ ปลายใบมน โคนใบแหลมหรือเบ้ียวเล็กน้อย ก้านใบส้ัน ใบสร้างสปอร์ ใบรูปขอบขนาน ขนาดกว้าง 0.5–0.8 เซนติเมตร ยาว 10–12 เซนตเิ มตร ขอบใบเรยี บ ปลายใบมน โคนใบเรียว กลุ่มอับสปอร์ เป็นแถบยาวสีน้ำตาลเรียงตัวอยู่ใต้ใบจากโคนใบถึงปลายใบ ตามขอบใบทง้ั สองขา้ งจรดกันที่ปลายใบ แหล่งท่ีพบ บริเวณความช้ืนปานกลาง แสงมาก มักพบเกาะอาศัยอยู่ตาม ต้นไม้ การขยายพนั ธ์ุ สปอร ์ ลักษณะเดน่ ใบ

19 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

20 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา แกป๊ ปนื ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Phymatodes nigrescens (Blume) Pic. Serm. ชือ่ วงศ์ POLYPODIACEAE ชื่ออน่ื - ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นเฟนิ เกาะอาศยั บนหิน และตน้ ไม้ ไรโซม เป็นเหง้ากลมเกลี้ยงยาว สีเขียว เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5 เซนติเมตร มีเกลด็ สีน้ำตาลถงึ ดำ กระจายบริเวณปลายเหง้า มีป่มุ หรอื ตาตามเหงา้ ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่ก่ึงรูปสามเหล่ียม กว้าง 25-35 เซนติเมตร ยาว 35-45 เซนตเิ มตร แผ่นใบหนาคล้ายหนงั ผวิ ใบเรยี บเป็นมัน ขอบใบ มีลักษณะหยักเป็นพูลึก จำนวนพูมีไม่เกิน 6 คู่ คู่ล่างสุดใกล้โคนมีขนาดใหญ่สุด ส่วนแฉกหรือพูปลายแหลม เมื่อต้นอายุยังน้อยใบมีลักษณะใบเดี่ยวขอบขนาน ปลายเรยี วแหลม ใบหา่ งกนั ประมาณ 5 เซนตเิ มตร กา้ นใบเรียวยาว 50 เซนติเมตร กลุ่มอับสปอร์ เกิดใต้ใบ กลมรูปถ้วย บุ๋มจมลงในผิวใบและนูนข้ึนด้านหน้าใบ เกิดเปน็ 2 แถวเรยี งตัวขนานกบั เสน้ กลางใบของแตล่ ะพู สปอรเ์ ม่ือแกม่ สี ีเหลอื งสม้ แหล่งทพ่ี บ บนพน้ื ดินหรอื หินท่ีมีความชื้นสูง บริเวณแสงรำไร การขยายพันธุ์ สปอร์ ลกั ษณะเดน่ ใบ

21 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

22 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ข้าหลวงหลังลาย Asplenium nidus L. ชอื่ วงศ ์ ASPLENIACEAE ช่อื อนื่ หางนกยงู (สรุ าษฎรธ์ าน)ี ชอ้ งนางคล่ี หางนกหวา้ (ยะลา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นเฟนิ องิ อาศยั ตามคาบไม้ หรือบนก้อนหนิ ไรโซม ตั้งตรง มเี กลด็ สนี ้ำตาลอมดำปกคลุมรากเป็นกระจกุ โดยเฉพาะพวก ทีข่ น้ึ อยบู่ นตน้ ไม้อ่ืน เส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 10-15 เซนติเมตร ใบ ใบเด่ียว เรียงตัวเป็นกระจุกแบบกุหลาบซ้อนรูปขอบขนาน กว้าง 10-30 เซนติเมตร ยาว 0.8-1.2 เมตร แผ่นใบหนา ผิวใบแววเป็นมัน ขอบใบเป็นคล่ืน ปลายใบแหลม โคนใบปกคลุมด้วยราก มองเห็นไม่ชัดเจน เส้นกลางใบเป็นสันแข็ง สนี ้ำตาลเข้ม กา้ นใบสั้น กลุ่มอับสปอร์ เกิดใต้ใบ เป็นขีดสีน้ำตาล แต่ละขีดเรียงขนานกับเส้นใบ จากเสน้ กลางใบไปทางขอบใบ ประมาณ 3/5 ของแผน่ ใบแต่ละข้าง แหล่งท่พี บ พบขึ้นบนต้นไม้และโขดหนิ ใกล้ลำธาร แสงรำไร การขยายพันธุ์ สปอร์ ลกั ษณะเดน่ ใบและทรงต้น

23 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

24 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา ชื่อวิทยาศาสตร ์ เขากวางนำ้ Ceratopteris thalictroides (Linn.) Brongn ชอื่ วงศ์ PARKERIACEAE ช่อื อื่น กูดเขากวางน้ำ ปากู-อาย (มลายู-ยะลา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เปน็ เฟินน้ำ เจริญเติบโตในน้ำ ไรโซม เป็นเหง้า สั้น ตั้งข้ึนมีสีเขียวอ่อนถึงเข้ม เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1.0 เซนตเิ มตร ใบ ใบประกอบมี 2 แบบ คือ ใบท่ีไม่สร้างสปอร์ อาจพบเป็นใบประกอบ 2 ชั้น หรือ 3 ช้ัน ลักษณะเป็นแฉกคล้ายนิ้วมือ กว้าง 2.0-5.0 เซนติเมตร ยาว 10-25 เซนติเมตร ใบสามารถแตกตางอกเป็นต้นใหม่จากเส้นกลางใบได ้ ใบสรา้ งสปอร์ ยาวกวา่ ใบไม่สรา้ งสปอร์ ยาว 30-50 เซนติเมตร เปน็ ใบประกอบแตก เปน็ เสน้ ๆ กลุ่มอบั สปอร์ เรยี งตวั เปน็ แถวยาวอยบู่ นเส้นใบ รมิ ใบพับลงมาปิด แหล่งทีพ่ บ พบในนำ้ ทั่วไปหรือชายขอบแหลง่ นำ้ ทีม่ ีแสงส่องไดเ้ ต็มท่ ี การขยายพันธ์ุ สปอร์ ลักษณะเดน่ ทรงตน้ และใบ

25 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

26 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา ช้องนางคล่ี ชื่อวิทยาศาสตร์ Lycopodium phlegmaria L. ชอ่ื วงศ์ LYCOPODIACEAE ชือ่ อ่นื ชอ้ งนางคลี่ พรู่ ะโหง (จนั ทบรุ )ี ระยา้ (นครศรธี รรมราช) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นพชื ใกล้เคยี งเฟนิ ลำต้น อ่อนแตกเป็นกอ ห้อยลง กว้าง 1.0-5.0 มิลลิเมตร ยาว 0.5-1.0 เมตร แตกก่งิ เปน็ คู่ๆ ใบ เปน็ ใบเดยี่ ว เรยี งเวยี นสลบั ใบไมช่ ดิ กนั มาก มองเหน็ ลำตน้ ชดั เจน ใบรปู ร ี หรือรูปหอก กว้าง 0.2-0.5 เซนติเมตร ยาว 1.2-1.5 เซนติเมตร แผ่นใบหนา ขอบใบเรยี บ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ใบสเี ขียวแก่เป็นมนั ก้านใบสัน้ สโตรบิลัส อยู่ตอนปลายสุดของต้นลักษณะเป็นเส้นกลมเล็กแตกสาขา เป็นคู่ ๆ 2-3 ใบ ขนาดยาว 6.0-10.0 เซนติเมตร ดูเป็นระย้า มีกลีบเล็ก ๆ ติดอยู่ โดยรอบ เหน็ ได้ชัดเจน ทำหนา้ ทเี่ ปน็ ถงุ เก็บสปอร ์ แหลง่ ท่ีพบ พบบนตน้ ไม้ หรอื บนก้อนหินที่มรี ม่ เงา การขยายพนั ธ์ุ สปอร ์ ลกั ษณะเดน่ ทรงต้น

27 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

28 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา ชือ่ วิทยาศาสตร์ ชายผา้ สีดา Platycerium holttumii De Jonch. & Hennipman. ชอ่ื วงศ ์ POLYPODIACEAE ชอ่ื อน่ื - ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เฟินอิงอาศัยบนต้นไมข้ นาดใหญ่ ไรโซม เปน็ เหง้าเปน็ แท่ง เล้อื ยสัน้ ยึดเกาะต้นกบั สิ่งทเี่ กาะอาศยั ใบปกคลุม ดว้ ยขนรูปดาว ใบ มีสองแบบ คือ ใบไม่สร้างสปอร์ เป็นใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 45-60 เซนติเมตร ยาว 80-120 เซนติเมตร แผ่นใบหนากรอบ ผิวใบเรียบเห็นเส้นใบชัดเจน ขอบใบหยักแฉก โคนใบมนหรือเบ้ียว ก้านใบสั้นติดกับลำต้น ใบสร้างสปอร์ มีขนาด ยาวกวา่ ใบไมส่ รา้ งสปอร์ กวา้ ง 25-30 เซนตเิ มตร ยาว 100-150 เซนตเิ มตร แผน่ ใบหนา ขอบใบหยกั เวา้ ลึก ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ก้านใบแขง็ กลุ่มอับสปอร์ เกิดท่ีโคนก้านใบ เป็นแผ่นหนาสีน้ำตาล รูปเกือบกลม กว้าง 10-30 เซนติเมตร ยาว 10-20 เซนตเิ มตร แหล่งท่ีพบ ป่าดบิ ชนื้ ท่ัวไป ที่มีแสงสอ่ งถึง การขยายพนั ธ์ุ สปอร ์ ลักษณะเดน่ ทรงต้น

29 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

30 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา เชอื กผูกรองเท้า ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Vittaria angustifolia (L.) Blume. ชื่อวงศ์ VITTARIACEAE ชื่ออนื่ - ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เปน็ เฟนิ อิงอาศยั ไรโซม เป็นเหง้าสั้นๆ มีขนาดเล็กเลื้อยตามคาคบไม้ สูงจากพื้นดิน 4-5 เมตร เหง้าสนี ้ำตาลแก่ เส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 2-3 มิลลิเมตร มเี กล็ดปกคลุม ใบ ใบเด่ียว ใบกระจายไม่แน่น รูปแถบยาว ใบกว้าง 1.5-3.0 มิลลิเมตร ยาว 6.0-25.0 เซนติเมตร ใบเรียวยาวโค้งห้อยลง แผ่นใบหนา ผิวใบด้านบนเป็นมัน มีขนสีน้ำตาลปกคลุม ขอบใบเรียบ ปลายใบและโคนใบเรียวแหลม เส้นกลางใบเห็น ไมช่ ดั เสน้ ใบย่อยจดั เรียงตัวตามความยาวของใบ ก้านใบสนั้ สีดำ กลมุ่ อบั สปอร์ เกดิ ตรงขอบใบ เรียงเป็นแถวต้ังแตก่ ลางใบถงึ ปลายใบ สปอร์ สนี ำ้ ตาล แหล่งท่ีพบ พบข้ึนบนต้นไม้บริเวณเปลือกไม้สูงจากพ้ืนดิน 4-5 เมตร หรอื ท่รี ม่ ใกลล้ ำธาร การขยายพันธุ์ สปอร์ แยกหน่อ ลกั ษณะเดน่ ทรงตน้

31 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

32 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา โชน ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Pteridium aquilinum (L.) Kuhn ชอ่ื วงศ ์ DENNSTAEDTIACEAE ชื่ออ่นื หญา้ รงั ไก่ (นราธวิ าส) ลอื แซบอื ซา (มลาย-ู นราธวิ าส) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นเฟินดนิ ไรโซม เป็นเหง้ายาวเล้ือยอยู่ใต้ดินค่อนข้างลึก เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1.0 เซนติเมตร ปกคลุมด้วยขนสนี ำ้ ตาลแดง ใบ ใบประกอบแบบขนนก 3 ชน้ั อาจพบ 4 ช้ันบริเวณโคนใบ ใบย่อยคูล่ า่ งมี ขนาดใหญ่ท่ีสุด ใบย่อยรูปแถบยาว กว้าง 3.0-5.0 เซนติเมตร ยาว 10-30 เซนตเิ มตร ปลายใบมน ขอบใบย่อยเป็นแฉกหยักลึกเกอื บถงึ เส้นกลางใบ แผ่นใบแขง็ ผิวใบด้านบนสีเขียวอ่อน ด้านล่างสีเขียวขุ่น มีขนประปราย ก้านใบสีเขียวเข้ม แขง็ ยาว 0.8-1.2 เมตร แตกกิ่งสาขาเป็นคหู่ ลายชัน้ ทีต่ าใบ ท่ีตาใบมีหใู บ 1 ค ู่ กลุม่ อับสปอร์ เกดิ ใตใ้ บ ทรงกลม สเี ขยี วออ่ น เรยี งเปน็ แถว 2 แถว ทงั้ สองข้าง ของเสน้ กลางใบยอ่ ย แหลง่ ทีพ่ บ พบข้นึ บนดนิ ทล่ี าดชนั แสงแดดสอ่ งถงึ ตลอดวัน การขยายพนั ธ ์ุ สปอร ์ ลกั ษณะเดน่ ทรงต้นและใบ

33 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

34 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา ตาลมังกร ชื่อวิทยาศาสตร์ Myrmecophila sinuosa Wall. ex Hook ชื่อวงศ์ POLYPODIACEAE ชอ่ื อน่ื ตาลมังกร ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เฟนิ องิ อาศัยตามต้นไม้ ไรโซม แขง็ แรง ทอดเลอ้ื ย บนตน้ ไมอ้ น่ื ๆ มเี กลด็ หมุ้ สดี ำ และสขี าวทปี่ ลายเหง้า ข้างในกลวงพบเปน็ ท่อี าศัยของมด เส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 0.3-0.4 เซนตเิ มตร ใบ มีสองแบบ คือ ใบไม่สร้างสปอร์ เป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 3.0-4.0 เซนติเมตร ยาว 20-26 เซนติเมตร แผ่นใบหนา ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีขน สีขาวปกคลุม ขอบใบเรียบ ปลายใบมีทั้งแหลมและเป็นแฉก ก้านใบแข็งยาว 4-6 เซนติเมตร สีน้ำตาลเกือบดำ ใบสร้างสปอร์ มีขนาดเล็กกว่าแต่ยาวกว่าใบ ไม่สร้างสปอร์ เห็นรอยบุ๋มด้านหลังใบอย่างชัดเจน กว้าง 1.0-1.5 เซนติเมตร ยาว 30-40 เซนติเมตร แผ่นใบหนา ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเรียวแหลม กา้ นใบแขง็ ยาว 4-6 เซนตเิ มตร กลุ่มอับสปอร์ เกิดใต้ใบ รูปกลมรี เส้นผ่าศูนย์กลาง 3.0-3.5 มิลลิเมตร เรยี งเปน็ แถวขนานไปกบั เส้นกลางใบ แหลง่ ที่พบ บนต้นไม้ใหญ่ มแี สงสอ่ งถึง การขยายพันธุ์ สปอร ์ ลกั ษณะเดน่ ใบ

35 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา

36 ไม้ดอกไมป้ ระดับปา่ ในหุบเขาลำพญา ผกั กูดกนิ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Diplazium esculentum (Rrtz.) Sw. ชื่อวงศ ์ WOODSIACEAE ช่อื อืน่ ผักกดู ปโู จ๊ะปากู (มลาย-ู ยะลา) ดกู ู (มลาย-ู ใต้) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นเฟินดิน ไรโซม เปน็ เหง้าตง้ั ตรงเตยี้ สงู 6.0-18.0 เซนติเมตร โคนต้นพองออก มีขน สนี ำ้ ตาลแดงโดยรอบ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกสองถึงสามชั้น เรียงแบบสลับ แผ่นใบบาง ใบย่อยรูปขอบขนาน ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่างมีขนปกคลุมเล็กน้อย ขอบใบเรียบ หรอื หยักเลก็ น้อย ปลายใบแหลม โคนใบมน กวา้ ง 1.0-4.0 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร เส้นใบแตกแบบโค้งจรดกัน เส้นกลางใบเห็นชัดเจน ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ม้วนงอ ใบแก่สีเขียว ก้านใบย่อยยาว 10-25 เซนติเมตร ก้านใบยาว 70-100 เซนติเมตร กลุม่ อับสปอร์ อยู่ใต้ใบ แหล่งท่ีพบ บนพืน้ ดินท่มี คี วามชน้ื สงู หรือใกลแ้ หล่งน้ำ การขยายพนั ธุ์ สปอร์ ลกั ษณะเดน่ ทรงต้น ใบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook