Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book 1

E-book 1

Published by Ramphoei pimtakhop, 2021-10-16 09:36:51

Description: E-book 1

Search

Read the Text Version

สถาบันทางสังคม 1. สถาบนั ทางสังคม (social institution) คอื กระบวนการที่มนุษยใ์ นสงั คมไดจ้ ดั ต้งั ข้นึ อยา่ งมีระเบียบแบบแผน เพื่อสนองความตอ้ งการของสงั คม 2. องค์ประกอบของสถาบันทางสังคม 2.1 องค์การทางสังคม คอื กลุ่มคนท่ีจดั ระเบียบแลว้ - สถานภาพ คอื ตาํ แหน่งตา่ งๆท่ีไดจ้ ากการเป็นสมาชิกของกลุ่ม เช่น สถาบนั ครอบครัวกจ็ ะ มี บิดา มารดา บุตร - บทบาท คอื หนา้ ที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ติ ามสถานภาพ เช่น สถานบนั ครอบครัว มีหนา้ ทอ่ี บรม สง่ั สอนอบรมบตุ ร - การควบคุมทางสังคม คอื การควบคุมให้คนยอมรับปฏิบตั ิตามกฎเกณฑข์ องกลุ่ม - การจดั ระเบียบสูงตา่ํ ทางสังคม คอื การจดั ระดบั ความสาํ คญั ของบคุ คลตามสถานภาพ - ค่านยิ ม คอื ส่ิงท่ีกลุ่มเห็นว่าควรปฏิบตั ิ 2.2 หน้าทขี่ องสถาบันทางสังคม ในสงั คม - สนองความตอ้ งการของมนุษยใ์ นสงั คม เช่น สถาบนั การศึกษา มีหนา้ ที่ใหก้ ารศกึ ษาแก่มนุษย์ - เป็นแหลง่ พบปะกนั ระหว่างสมาชิกในสงั คม - เป็นเคร่ืองมือควบคุมคนในสงั คม โดยใชร้ ะเบียบแบบแผนของสถาบนั 3. ประเภทของสถาบัน 1. สถาบันครอบครัว 1.1 องค์การทางสังคม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื ครอบครัวเดีย่ วหรือครอบครัวหน่วย กลาง (nuclear family) คอื ครอบครัวที่ประกอบดว้ ย พอ่ แม่ ลกู และ ครอบครัวขยาย (extended family) คอื ครอบครัวที่ประกอบดว้ ย พ่อ แม่ ลูก และ วงศาคณาญาติ มีองคป์ ระกอบดงั น้ี 1. สถานภาพ คอื มีตาํ แหน่งต่างๆ คือ พอ่ แม่ ลูก ฯ 2. บทบาท คอื พอ่ แม่ มีหนา้ ท่เี ล้ียงดู อบรม สงั่ สอนลูก ลกู มีหนา้ ท่ีต้งั ใจเลา่ เรียนหนงั สือ

3. การควบคุมทางสงั คม คอื ควบคุมใหอ้ ยใู่ นกรอบประเพณีและศีลธรรมอนั ดีงาม ทาํ ผิดก็ มีการลงโทษ ทาํ ดีกใ็ หร้ างวลั 4. การจดั ระดบั สูงต่าํ ทางสงั คม คอื พอ่ แม่ มีฐานะทางสงั คมสูงกว่า ลูก พสี่ ูงกว่านอ้ ง 5. ค่านิยม คอื ลกู ควรมีความกตญั �ูกตเวทีตอ่ พอ่ แม่ 1.2 หน้าที่ 1. สร้างสมาชิใหม่มาทดแทนสมาชิกที่ตายไป ถา้ ไมม่ ีการสมาชิกใหม่ สงั คมน้นั กจ็ ะหายไป 2. เล้ียงดูและใหค้ วามอบอนุ่ ท้งั ร่างกายและจิตใจแก่สมาชิกใหม่ 3. อบรม สง่ั สอนใหร้ ูจกั กฎระเบียบของสงั คมและปรบั ตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มนอกบา้ นได้ 4. กาํ หนดสถานภาพว่าเราเป็นใคร เชน่ เป็นลูกครู ลกู แพทย์ เป็นหญิงเม่ือเปล่ยี นนามสกลุ ฯ 5. บาํ บดั ความตอ้ งการทางเพศ เช่น ความตอ้ งการมีบตุ ร ความตอ้ งการท่ีจะสมรส ฯ 1.3 แบบแผนปฏบิ ตั ิ คอื แนวทางในการปฏิบตั ิตอ่ กนั ในสถาบนั ครอบครัว เช่น กฎหมาย ครอบครัว การผิดสญั ญาหม้นั เง่ือนไขการสมรส ฯ 2. สถาบนั การเมืองการปกครอง สถาบนั การเมืองการปกครองน้นั จะมีฐานะทางสงั คมเหนือกวา่ สถาบนั อื่นๆ มีท้งั อาํ นาจในการ นาํ ประสาน ปกครองและค้าํ จุนสถาบนั อนื่ ๆ เรามีสถาบนั การเมืองการปกครองเพอ่ื ช่วยแกป้ ัญหาต่างๆ ช่วยวางแผน นโยบายต่าง ให้หลกั ประกนั เสรีภาพของแตล่ ะบุคคลให้เท่าเทียมกนั เพ่อื ความมน่ั คงต่อชีวิตของบุคคลในการดาํ รงชีวติ ใน สงั คม แบบแผนของการปฏิบตั ิของสถาบนั การเมืองการปกครองเกี่ยวกนั เรื่องความมนั่ คงและความปลอดภยั ของสงั คม 2.1 องค์การทางสังคม 1. สถานภาพ นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ฯ 2. บทบาท นายกรัฐมนตรีมีหนา้ ท่ีควบคุมดูแลคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีดูแล กระทรวงในความรับผิดชอบ ฯ 3. การควบคมุ ทางสงั คม ทกุ คนตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎหมาย เพื่อความสงบสุขของสงั คม รัฐมนตรี ฯ 4. การจดั ระดบั ความสูงต่าํ ทางสงั คม เช่น นายกรัฐมนตรีมีฐานะทางสงั คมสูงกวา่

พลเมืองดี 5. คา่ นิยม คอื ความยตุ ิธรรม ความซื่อสตั ยส์ ุจริต การปฏิบตั ิตามกฎหมาย การเป็น 2.2 หน้าทีข่ องสถาบันการเมืองการปกครอง 1. ระงบั ความขดั แยง้ ระหว่างบุคคลท่ีเกิดข้ึนเสมอในสังคม 2. คมุ้ ครองบคุ คลใหป้ ลอดภยั 3. รักษาความสงบเรียบร้อย ส่งเสริมความมนั่ คงและสวสั ดิการทางสังคม ปัจจบุ นั น้ีหนา้ ที่ของสถาบนั การเมอื งการปกรองมีแนวโนม้ ดงั น้ี 1. แกไ้ ขปัญหาของประชาชนมากข้ึน 2. ยตุ ิความขดั แยง้ ตา่ งๆ ตอ้ งทาํ ให้สงั คมดาํ เนินไปไดด้ ว้ ยดี และตดั สินปัญหาตา่ งๆ ปกครอง 3. จะตอ้ งใชค้ วามรู้ หลกั วชิ า และเหตุผล เพอ่ื เป็นประโยชน์ในการแกป้ ัญหาดา้ นการ 2.3 แบบแผนการปฏบิ ัติ จะมีกฎหมายเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิ เช่น ถา้ ฆ่าคนตาย มโี ทษต้งั แตป่ ระหารชีวิต จาํ คกุ ตลอดชีวติ หรือจาํ คุกต้งั แต่ 15 ปี หรือแมไ้ มเ่ จตนาท่ีจะฆ่าใคร มีโทษจาํ คกุ ต้งั แต่ 3 ปีถึง 25 ปี ถา้ ทาํ ร้ายร่างกาย มี โทษจาํ คุกไมเ่ กิน 2 ปี หรือปรับไมเ่ กิน 4000 บาท ทาํ ร้ายร่างกายจนบาดเจ็บสาหสั ตอ้ งไดร้ ับโทษต้งั แต่ 6 เดือน ถึง 10 ปี 3. สถาบนั เศรษฐกจิ สถาบนั เศรษฐกิจ เป็นสถาบนั ทเ่ี ก่ียวกนั การดาํ รงชีวติ ของมนุษย์ ดา้ นการผลิตของใช้ การ แลกเปลี่ยน การใหบ้ ริการต่างๆ ระหว่างสมาชิกของสงั คม 3.1 องค์การทางสังคม คอื กล่มุ คนที่ทาํ งานในธนาคาร บริษทั ห้างร้าน 1 สถานภาพ ผจู้ ดั การ นายธนาคาร กฎหมาย 2. บทบาท นายธนาคารมีหนา้ ที่จดั การเก่ียวกบั การเงินของธนาคารอยา่ งถูกตอ้ งตาม กาํ หนดไว้ 3. การควบคมุ ทางสงั คม นายธนาคารตอ้ งให้เงินกแู้ ละรับฝากเงินตามอตั ราที่กฎหมาย

4. การจดั ระดบั สูงต่าํ ทางสงั คม นายธนาคารมีฐานะทางสงั คมสูงกวา่ พนกั งานในธนาคาร 5. ค่านิยม มีความซื่อสตั ย์ การทาํ งานใหม้ ีประสิทธิภาพ การร่วมมือประสานงาน กนั ความยืดหยนุ่ การปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ 3.2 หน้าทีข่ องสถาบนั เศรษฐกจิ ตอ้ งการ 1. สนองความตอ้ งการทางเศรษฐกิจ เชน่ ผลิต แบง่ ปันวตั ถหุ รือบริการตามที่มนุษย์ เงินตรา ฯ 2. ให้ความสะดวกแก่มนุษยใ์ นการใชป้ ระโยชนท์ างเศรษฐกิจ เชน่ ระบบเงินเช่ือ การใช้ 3. พฒั นาและสร้างความเจริญกา้ วหนา้ ในทางเศรษฐกิจ เพอื่ ความอดุ มสมบูรณ์และความ มน่ั คงในดา้ นน้ีแก่สมาชิกในสงั คม 4. ช่วยเหลือในการบริโภคใหเ้ พยี งพอและไปทวั่ ถึงใหม้ ากท่ีสุด 3.3 แบบแผนการปฏบิ ตั ิ หรือจบั ตอ้ งไมไ่ ด้ 1. ทรัพย์สิน เป็นสิ่งมีคา่ ทส่ี ามารถเปลี่ยนมอื หรือถอื กรรมสิทธ์ิได้ อาจจะเป็นสิ่งท่ีจบั ตอ้ งได้ วา่ เป็นเจา้ ของทรัพยส์ ิน 2. สัญญา เป็นส่ิงท่ีช่วยให้ทรัพยส์ ินเปล่ียนมือกนั อยา่ งมีระเบียบและยงั เป็นหลกั ฐานยนื ยนั 3. อาชีพ เป็นสิ่งที่กาํ หนดบทบาทเศรษฐกจิ ของประชาชน 4. การแลกเปลยี่ น มีเงนิ เป็นสื่อในการแลกเปลี่ยน เป็นมาตรฐานในการแลกปล่ียนอกมา ในรูปเงินตรา เพอ่ื สะดวกในการดาํ รงชีพในสงั คม 5. ตลาด มี อาชีพ ทรัพยส์ ิน สัญญา ประกอบเขา้ ดว้ ยกนั ราคาของส่ิงของข้ึนอยกู่ บั ความสัมพนั ธข์ องการเสนอและสนอง ถา้ มีการเสนอราคาสูง ทาํ ใหร้ าคาของสิ่งอขงสูงดว้ ยเชน่ กนั และสินคา้ ราคาสูงก็ ข้นึ อยกู่ บั ปริมาณกาสนองของประชาชนดว้ ยเช่นกนั 4. สถาบนั การศึกษา เป็นสถาบนั ท่ีทาํ หนา้ ท่ีถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ใหมใ่ หแ้ ก่สมาชิกเพอื่ ให้สมาชิกมี ความรู้ ความสามารถ มีวฒั นธรรมและคุณธรรม ส่วนการศึกษา คือ การสร้างสมและการถ่ายทอดประสบการณ์ของ มนุษยจ์ ากรุ่นหน่ึงไปสู่อกี รุ่นหน่ึงเพือ่ แกป้ ัญหาและมีความเจริญทางดา้ นพทุ ธิปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคม และ พลานามยั และการศึกษาน้นั เป็นการเรียนเพอื่ ใหเ้ กิดความคิด และนาํ ไปพฒั นาความสามารถของบคุ คล

4.1 องค์การทางสังคม 1. สถานภาพ ครู นกั เรียน อาจารยใ์ หญ่ เป็นตน้ 2. บทบาท ครู อาจารยม์ หี นา้ ท่ีอบรมสง่ั สอนใหค้ วามรู้แก่นกั เรียนนกั ศกึ ษา 3. การควบคมุ ทางสงั คม นกั เรียนตอ้ งปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของโรงเรียน 4. การจดั ระดบั ความสูงต่าํ ทางสงั คม ครูอาจารยม์ ฐี านะสูงกวา่ นกั เรียนนกั ศึกษา 5. คา่ นิยม ความยตุ ิธรรม ความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิตามกฎเกณฑอ์ ขงกลุ่ม ใหค้ ุณค่า การศึกษาระดบั สูง ความซื่อสัตย์ รักความกา้ วหนา้ 4.2 หน้าที่ของสถาบนั การศึกษา 1. ให้ความรู้ความเขา้ ใจในสิ่งต่างๆแก่สมาชิก เพอ่ื เป็นรากฐานในการพฒั นา สติปัญญา ความรูส้ ึกนึกคดิ ในทางที่ดี 2. พฒั นาใหบ้ ุคคลมีคุณธรรม จริยธรรม 3. สอนแลฝึกอาชีพของบคุ คลเพอื่ ประกอบอาชีพในอนาคต ดีงามใหค้ งอยยู่ ืนยาว 4. ปลูกฝงั ให้บคุ คลมีความรักและสงเสริมในศิลปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั 5. เป็นแหลง่ ความรู้และวิทยาการท่ีเอ้อื อาํ นวยตอ่ ชุมชนและสงั คม 4.3 แบบแผนปฏบิ ัติ มีการแบ่งระดบั การศึกษาแนวโรงเรียนเป็น 4 ระดบั คอื ระดบั กอ่ นประถมศึกษา ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษา และระดบั อดุ มศึกษา ส่วนในระดบั อดุ มศึกษา แบง่ เป็น 3 ระดบั คือ การศึกษาต่าํ กวา่ ระดบั ปริญญาตรี การศึกษาระดบั ปริญญาตรี และการศึกษาสูงกวา่ ระดบั ปริญญาตรี 5. สถาบันศาสนา สถาบนั ศาสนาเป็นส่วนหน่ึงของวฒั นธรรม และก่อให้เกิดแบบความประพฤติ ประกอบดว้ ย 1. ความเชื่อ ศาสนาทกุ ศาสนายอ่ มตอ้ งการใหบ้ คุ คลมีความศรทั ธาและมีความเชื่อใน ศาสนา เหตแุ ละการพสิ ูจนถ์ ือว่าเป็นสิ่งท่สี นบั สนุนความเชื่อ และมกั จะเนน้ ความเชื่อจกั รวาล ธรรมชาติ มนุษยก์ บั หระเจา้ 2. ความรู้สึกทางอารมณ์ ศาสนาเช่ือมีส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิเขา้ มาเก่ยี วพนั กบั อารมณ์ เช่น ความ รัก ความกลวั เป็นตน้ ความรู้สึกทางอารมณ์จะเป็นลกั ษณะใดจะข้ึนอยกู่ บั ว่าศาสนาน้นั สอนอยา่ งไร

3. พฤตกิ รรมที่แสดงออก ศาสนามีส่วนสาํ คญั ในการสร้างแบบแผนพฤติกรรม วา่ ส่ิงไหน ดีหรือไม่ดี สิ่งไหนควรกระทาํ หรือไม่ และแลว้ แต่ศาสนาว่ามีแนวทางพฤติกรรมเป็นอยา่ งไร 5.1 องค์การทางสังคม 1. สถานภาพ พระพทุ ธเจา้ พระสงฆ์ เป็นตน้ 2. บทบาท พระสงฆส์ อนให้คนทาํ ความดี ละเวน้ ความชวั่ 3. การควบทางสังคม พระสงฆต์ อ้ งทาํ ตามกฎของสงฆแ์ ละระเบียบของวดั 4. การจดั ระเบียบสูงต่าํ ทางสงั คม เจา้ อาวาสมีฐานะทางสังคมสูงกวา่ พระ 5. คา่ นิยม มีศีลธรรม ทาํ ความดีละเวน้ ความชวั่ มีเมตตา เอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผ่ เป็นตน้ 5.2 หน้าที่ของสถาบันศาสนา 1. เช่ือกนั ว่าศาสนาสามารถปกป้องภยั พิบตั ิตา่ งๆได้ และเพิ่มพูนความอุดมสมบรู ณ์ 2. เป็นพน้ื ฐานสาํ คญั ของอาํ นาจรัฐ เพราะมีบางท่ีท่ีอาํ นาจรฐั ข้ึนอยกู่ บั ประมุขทาง ศาสนา นโยบายของสังคม 3. กอ่ ให้เกิดศีลธรรมทางสังคม และจริยธรรม ซ่ึงเป็นเครื่องกาํ หนดแนวทางและ 4. เป็นแบบอยา่ งในการประพฤติดี เช่น ความเอ้อื เฟ้ือเผ่อื แผ่ ความเมตตา เป็นตน้ 5.3 แบบแผนปฏบิ ตั ิ พระสงฆม์ ีกฎขอ้ บงั คบั 227 ขอ้ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิ ฆราวาสมีมีศลี 5 และ ศลี 8 และยงั หลกั ธรรมต่างๆ เช่น อริยสัจ 4 อทิ ธิบาท 4 เป็นตน้ Ref : http://www.dektriam.net/TopicRead.aspx?topicID=49256&start=0 07/06/2008


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook