บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การทาวิจยั คร้ังนี้มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่อื 1)เพือ่ สร้างและพัฒนาสอ่ื มัลติมีเดยี บนเว็บไซตเ์ รอ่ื ง การ แก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนด้วย อัลกอริทึม และการเขียนโฟลวชาร์ต ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 2)เพ่ือเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเม่ือใช้ สื่อมัลติมีเดียบนเว็บไซต์เรื่อง การ แก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนด้วย อัลกอริทึม และการเขียนโฟลวชาร์ต สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 กอ่ นเรยี นเทยี บกับหลังเรียน และ 3)เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของผเู้ รียนท่ีมีต่อสื่อ มลั ติมีเดยี บนเวบ็ ไซตเ์ ร่ือง การแก้ไขปัญหาอยา่ งเปน็ ขน้ั เป็นตอนด้วย อลั กอริทึม และการเขียนโฟลว ชารต์ สาหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ซึ่งผู้วจิ ัยได้นาเสนอผลการวิจยั ดงั ต่อไปน้ี ตอนท่ี 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียบนเว็บไซต์เร่ือง การแก้ไขปัญหา อย่างเป็นขั้นเป็นตอนด้วย อัลกอริทึม และการเขียนโฟลวชาร์ต เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของส่ือมลั ติมีเดยี บนเว็บ หน่วยการเรียนรู้การ แกไ้ ขปัญหา สาหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนเทียบกับหลงั เรยี น ตอนที่ 3 ศึกษาความพงึ พอใจของผูเ้ รยี นที่มีตอ่ สือ่ มลั ตมิ เี ดยี บนเว็บไซต์เรอื่ ง การแก้ไขปญั หา อยา่ งเป็นขน้ั เปน็ ตอนดว้ ย อลั กอริทมึ และการเขยี นโฟลวชารต์ สาหรับนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 สัญลักษณ์ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมลู ผู้ศึกษาได้กาหนดความหมายของสญั ลกั ษณ์ต่างๆ ดังนี้ x แทน ค่าเฉลย่ี ������. ������. แทน คา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน E1 แทน คะแนนเฉลีย่ ท่นี ักเรียนทาแบบฝกึ ได้ถูกต้องคิดเปน็ ร้อยละ E2 แทน คะแนนเฉลย่ี ที่นกั เรียนทาแบบทดสอบได้ถกู ต้องคดิ เปน็ ร้อยละ N แทน จานวนนกั เรียนในกลุม่ ประชากร T แทน การทดสอบความแตกตา่ งของคา่ เฉลีย่ ของกลมุ่ ตวั อย่าง
60 1. ผลการสร้างและหาประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียบนเว็บไซต์เรื่อง การแก้ไขปัญหา อย่างเปน็ ข้ันเปน็ ตอนดว้ ย อลั กอรทิ มึ และการเขียนโฟลวชารต์ สาหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ตารางที่ 3 แสดงผลพิจารณาความเหมาะสมสอดคล้องในองค์ประกอบต่างๆของส่ือ มลั ติมีเดยี บนเวบ็ หน่วยการเรยี นรู้ การแก้ไขปญั หา โดยผู้เชีย่ วชาญ ท่ี รายการประเมนิ N=3 1. ด้านเนอ้ื หา (content) x ������. ������. แปลความ 1.เนื้อหามีความชดั เจน ถูกต้อง นา่ เช่อื ถอื 4.00 0.00 มาก 2.ข้อมลู มีความทันสมยั นา่ สนใจ 4.33 0.58 มาก 3.การจดั ลาดบั เนือ้ หาเป็นขนั้ ตอนและตอ่ เนื่อง อ่านแลว้ เข้าใจงา่ ย 4.00 0.00 มาก 4.การจดั หมวดหมูข่ องข้อมลู สะดวกตอ่ การคน้ หา 3.67 0.58 มาก 5.จดั รปู แบบหนา้ จอ ได้แก่ รูปภาพ ตัวอกั ษรและสี มีความเหมาะสม 4.33 0.58 มาก รวมเฉลยี่ 4.07 0.35 มาก 2. ดา้ นตัวอกั ษร (Text) 4.33 0.58 มาก 6. ขนาดของตัวอกั ษรท่ีใช้มขี นาดอา่ นงา่ ยและชัดเจน 7. รูปแบบตวั อกั ษรทใี่ ช้ มคี วามสวยงาม 4.67 0.58 มากท่ีสุด 8. สีตวั อักษรและสขี องพ้นื หลังท่ใี ชม้ คี วามเหมาะสม 4.33 0.58 มาก 9. การจดั วางตวั อกั ษรหรอื ขอ้ ความมีความเหมาะสม 4.00 0.00 มาก 10. ข้อความมีความถูกตอ้ งเปน็ ไปตามหลักของภาษา 4.33 0.58 มาก รวมเฉล่ีย 4.33 0.46 มาก 3. ด้านภาพนงิ่ (Image) 4.67 0.58 มากที่สดุ 11. ขนาดของภาพทใ่ี ช้เหมาะสม 12. สีและความชดั เจนของภาพท่ใี ช้ 4.00 1.00 มาก 13. ความเหมาะสมของภาพท่ีใช้ในการส่อื ความหมาย 4.33 1.15 มาก 14. ความสมดุลของการจดั วางภาพในแตล่ ะกรอบ 4.33 0.58 มาก 15. ความเหมาะสมของจานวนภาพ 4.00 1.00 มาก รวมเฉลี่ย 4.27 0.86 มาก 4. ด้านภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) 16. ขนาดของภาพเคลอื่ นไหวท่ีใชเ้ หมาะสม 4.00 1.00 มาก
61 17. ความชัดเจนของภาพเคลอื่ นไหวทใี่ ช้ 4.67 0.58 มากทสี่ ดุ 18. ความเหมาะสมของภาพทใี่ ชใ้ นการสือ่ ความหมาย 4.00 1.00 มาก 19. ความเหมาะสมของการจดั วางภาพเคลอ่ื นไหว 4.33 0.58 มาก 20. ความเหมาะสมของจานวนภาพท่ีใชป้ ระกอบเนอ้ื หา 4.00 0.00 มาก รวมเฉลยี่ 4.20 0.63 มาก รวมเฉล่ยี ทกุ รายการ 4.22 0.58 มาก จากตารางที่ 3 พบว่า ผลการประเมนิ ความเหมาะสมสอดคล้องในองค์ประกอบต่างๆ ของ ส่ือมัลติมเี ดยี บนเว็บ หนว่ ยการเรียนรู้ การแกไ้ ขปญั หา ตามความคิดเห็นของผู้เชยี่ วชาญ โดยภาพรวม มคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งในระดับ มาก มีค่าเฉลีย่ เทา่ กับ 4.07 เม่ือพจิ ารณาแตล่ ะด้าน พบว่าดา้ นที่ มีความพึงพอใจสูงสุดคือด้านตัวอักษร อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 รองลงมาคือด้าน ภาพน่ิง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.27 รองลงมาคอื ด้านภาพเคลือ่ นไหว อยู่ในระดับมาก มี ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.20 และ ดา้ นทีม่ ีค่าเฉลี่ยต่าท่ีสุดคอื ดา้ น เนอ้ื หา อยใู่ นระดบั มาก ซ่งึ มีคา่ เฉล่ียเทา่ กับ 4.07 ตารางท่ี 4 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียบนเว็บ หน่วยการเรียนรู้ การแก้ไขปัญหา ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 แบบหนึง่ ตอ่ หนงึ่ (จานวน3คน) ระหวา่ งเรียน หลงั เรยี น คา่ N A ∑X E1 B ∑y ประสทิ ธิภาพ E2 E1/E2 3 30 74 82.22 30 75 83.33 82.22/83.33 จากตารางที่ 4 พบว่าเมื่อนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นอนุบาลเถนิ ทา่ นางอปุ ถมั ภ์ ห้อง1 ผา่ นกระบวนการเรยี นการสอนดว้ ยส่ือมลั ติมเี ดียบนเว็บ หน่วยการเรยี นรู้ การแก้ไขปญั หา เพอื่ พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 นกั เรยี นทัง้ 3 คน ทาแบบทดสอบ ระหว่างเรียน E1 (คิดเป็นร้อยละ) 82.22 และทาแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน E2 (คดิ เปน็ ร้อยละ) 83.33 ซึง่ ส่ือมัลตมิ เี ดียบนเวบ็ หน่วยการเรียนรู้ การแก้ไขปญั หา มปี ระสทิ ธิภาพ 82.22 /83.33 ซงึ่ เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนด และผู้วจิ ัยไดด้ าเนนิ การหาประสทิ ธิภาพแบบกลมุ่ เล้ก อกี 1 รอบเพ่ือให้สอื่ มีประสิทธภิ าพ และ ความสมบูรณเ์ พ่มิ มากข้ึน
62 ตารางที่ 5 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียบนเว็บ หน่วยการเรียนรู้ การแก้ไขปัญหา ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 แบบกลมุ่ เลก็ (จานวน9คน) ระหว่างเรียน หลงั เรยี น คา่ N A ∑X E1 B ∑y ประสทิ ธิภาพ E2 E1/E2 9 30 218 80.74 30 236 87.41 80.74/87.41 จากตาราง 5 พบว่าเม่ือนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนุบาลเถินท่านางอุปถัมภ์ ห้อง1 ผ่านกระบวนการเรียนการสอนดว้ ยสือ่ มัลติมีเดียบนเวบ็ หน่วยการเรยี นรู้ การแก้ไขปญั หา เพือ่ พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 นักเรียนทั้ง 9 คน ทาแบบทดสอบ ระหว่างเรียน E1 (คิดเป็นร้อยละ) 80.74 และทาแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน E2 (คิดเปน็ รอ้ ยละ) 87.41 ซ่งึ สื่อมัลติมเี ดียบนเวบ็ หน่วยการเรียนรู้ การแก้ไขปญั หา มปี ระสทิ ธภิ าพ 80.74 /87.41 ซง่ึ เป็นไปตามเกณฑ์ท่กี าหนด
63 2. ผลการวิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรยี นเทยี บกับหลังเรียน ด้วยส่อื มัลติมีเดียบนเว็บไซตเ์ รอ่ื ง การแกไ้ ขปัญหาอย่างเป็นขนั้ เปน็ ตอนด้วย อัลกอริทมึ และการ เขยี นโฟลวชารต์ สาหรบั นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 หลังจากที่ผู้วิจัยได้หาประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียบนเว็บ หน่วยการเรียนรู้ การแก้ไข ปญั หา เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จากนน้ั ได้นาไปใช้จริง กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบ้านเวียง ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2561 จานวน 21 คน แล้วทาการวิเคราะห์เปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นก่อนเรยี น เทียบกบั หลงั เรียน ดว้ ยส่อื มัลตมิ ีเดยี บนเว็บ หนว่ ยการเรียนรู้ การแก้ไขปญั หา ดังกลา่ ว ซ่งึ ได้นาเสนอ ผล ดังตารางท่ี 6 ตารางท่ี 6 แสดงผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนเทียบกับหลังเรียน ดว้ ยสื่อมัลติมีเดียบนเว็บ หน่วยการเรียนรู้ การแก้ไขปญั หา เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 คะแนนสอบ จานวน ค่าเฉล่ยี สว่ นเบ่ยี งเบน ผลต่าง t-test นกั เรยี น มาตรฐาน คะแนน กอ่ นเรียน 21 14.57 1.03 9.62 21.65 หลังเรียน 21 24.19 1.78 t (.05,20) = 1.7247 * มีนัยสาคัญทีท่ างสถิติระดับ .05 จากตาราง 6 พบว่า นักเรียนชั้นปรถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบ้านเวียง ท่ีเรียนด้วยส่ือ มลั ติมีเดียบนเวบ็ ไซตเ์ ร่ือง การแกไ้ ขปัญหาอย่างเปน็ ขน้ั เป็นตอนด้วย อัลกอริทึม และการเขียนโฟลว ชาร์ต สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ค่าวกิ ฤตของ t จากการเปิดตารางค่าวิกฤต t df= 20 ท่ี ระดับนัยสาคัญ .05 เท่ากับ 1.7247 ค่า t ท่ีคานวณได้ คือ 21.65 มีค่ามากกว่าค่า t วิกฤตของ t ดงั กล่าว สรุปได้วา่ นกั เรียนทีเ่ รียนดว้ ยสื่อมัลติมเี ดยี บนเวบ็ ไซต์เรอ่ื ง การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็น ตอนด้วย อัลกอริทึม และการเขียนโฟลวชาร์ต มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลงั เรยี นสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .05 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสื่อแบบมัลตมิ ีเดยี บนเว็บน้ันมีประสิทธิภาพ และยงั สามารถพฒั นากระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรียนให้สูงขน้ึ ได้
64 3.ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียบนเว็บไซต์เร่ือง การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนด้วย อัลกอริทึม และการเขียนโฟลวชาร์ต สาหรบั นักเรียน ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่4 โรงเรียนบ้านเวียง จานวน 21 คนเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียบน เวบ็ ไซต์เรือ่ ง การแก้ไขปญั หาอย่างเปน็ ขั้นเปน็ ตอนด้วย อัลกอรทิ มึ และการเขียนโฟลวชารต์ ผูศ้ กึ ษา ไดใ้ หน้ กั เรียนทาแบบสอบถามความพึงพอใจ และนาเสนอผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจ ดังตารางที่ 7 รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น x ������. ������. แปลความ 1.ด้านเนื้อหา 1.1 เน้ือหามีความเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น 4.43 0.87 มาก 1.2 ปรมิ าณของเน้อื หามีความเหมาะสม 4.33 0.80 มาก 1.3 การจัดลาดบั เนอ้ื หาเปน็ ข้ันตอน มีความต่อเนอื่ ง 3.90 1.14 มาก อ่านแล้วเข้าใจ 1.4 การจดั วางเรยี งลาดับเนอื้ หาในบทเรยี นมีความ 4.19 0.98 มาก เหมาะสม 1.5ภาษาทีใ่ ช้ในบทเรยี นออนไลนม์ ีความเข้าใจง่าย 3.95 1.12 มาก รวมเฉลีย่ 4.16 0.98 มาก 2. ดา้ นส่อื 2.1 การออกแบบการจดั วางเนอื้ หา ภาพน่งิ ภาพเคล่อื นไหว ต่าง ๆ มคี วามเหมาะสม 4.19 0.93 มาก 2.2 บทเรยี นออนไลน์มคี วามสดวกในการเรียน 4.10 1.09 มาก 2.3 ความเหมาะสมภาพ+เนื้อหาสอดคลอ้ ง 4.00 1.18 มาก 2.4 เสยี งภายในส่อื มีความชัดเจน 4.81 1.29 มาก 2.5ความชดั เจนและสีของFont 4.00 1.30 มาก รวมเฉลีย่ 4.22 1.16 มาก 3. ด้านแบบทดสอบ 3.1 ขอ้ สอบมีความสอดคลอ้ งกับเนื้อหา 4.14 0.85 มาก 3.2 ความยากง่ายของขอ้ สอบ 3.81 1.12 มาก 3.3 การตง้ั คาถามของแบบทดสอบครอบคลมุ เน้ือหา 4.00 1.05 มาก 3.4 คาถามมีความชดั เจนเขา้ ใจงา่ ย 3.57 1.40 มาก
65 3.5 แบบทดสอบมีความสามารถวดั ความรู้ ความ 4.00 1.18 มาก เขา้ ใจ 3.90 1.12 มาก 4.09 1.09 มาก รวมเฉลี่ย รวมเฉล่ยี ทุกรายการ จากตารา 7 แสดงให้เห็นวา่ นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยสื่อมัลติมีเดียบนเว็บไซต์เรื่อง การแก้ไขปัญหาอย่างเปน็ ข้ันเปน็ ตอนด้วย อัลกอริทึม และ การเขยี นโฟลวชารต์ สาหรับนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 โดยภาพรวมอยใู่ นระดับ มาก มคี ่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.09 และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า พบว่าด้านท่ีมีความพึงพอใจสูงสุดคือด้านการ ออกแบบสือ่ อยู่ในระดับมาก มีคา่ เฉลีย่ เท่ากบั 4.42 รองลงมาคอื ด้านเน้ือหาการจดั การเรยี นรู้ อยใู่ น ระดบั มาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.16 และด้านท่ีมีค่าเฉล่ยี ต่าที่สุดคือดา้ นแบบทดสอบมีความเหมาะสม สอดคลอ้ ง อยู่ในระดบั มาก มคี า่ เฉลีย่ เทา่ กับ 3.90
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: