Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระอัจฉริยภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9

พระอัจฉริยภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9

Description: พระอัจฉริยภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9 โดยจะเน้นที่โครงการในพระราชดำริ "ฝนหลวง"

Keywords: ฝนหลวง

Search

Read the Text Version

พระอจั ฉริยภาพดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีและ โครงการพระราชดารฝิ นหลวงThe Alleviating of King Bhumibol Adulyadej in Science and Technology and The Royal Project “Royal Rain”นางสาว ณัฐณิชา แสงเพชร รหสั 60460316นาย ณฐั ดนยั กิจกรรณิการ์ รหสั 60460323นาย ณัฐพงษ์ รัตนสาเนยี ง รหัส 60460330นาย ณัฐภทั ร บญุ สิงห์ รหสั 60460347นาย ณฐั สทิ ธ์ิ โชตยนั ดร รหสั 60460354นางสาว ณิชาภทั ร พลเหิม รหัส 60460361นาย ทรงกลด เพียแก้ว รหสั 60460378นางสาว ทวินันท์ หงสย์ สี่ ิบเอด็ รหัส 60460385นาย ทวภี ทั ร ใจยะสทิ ธ์ิ รหสั 60460392นางสาว ทวีรตั น์ วงศ์สุทธิ์ รหสั 60460408รายงานนเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของ รายวิชา สารสนเทศศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาคน้ คว้า มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560

คานา รายงานนี้เป็นสว่ นหนึ่งของรายวิชาสารสนเทศศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาคน้ คว้า โดยมจี ุดประสงค์เพื่อการศึกษาเร่ืองพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฝนหลวง) ซ่ึงในรายงานฉบับนี้ มีเน้ือหาซึ่งประกอบด้วย ประวัติความเป็นมาของโครงการฝนหลวง, ปัจจัยและองค์ประกอบของฝนหลวง, ข้ันตอนการทาฝนหลวง และประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ฝนหลวง ทางคณะผู้จัดทา ขอขอบพระคุณอาจารย์ประจารายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาคน้ คว้า ท่ใี หโ้ อกาสในการจดั ทารายงานในครงั้ นี้ คณะผจู้ ัดทาหวงั วา่ รายงานฉบับนีจ้ ะเปน็ ประโยชน์ต่อผทู้ ่ีสนใจศึกษาคน้ คว้า ทุกๆท่าน หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใด คณะผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรบั ไว้และขออภัยมา ณ ทนี่ ้ี คณะผู้จดั ทา

ขสารบัญ หน้าคานา................................................................................................................................ ..................กสารบัญ............................................................................................................................... ................ขสารบญั รปู ...........................................................................................................................................งบทคัดยอ่ บทคดั ยอ่ ภาษาไทย (Thai Abstract)..................................................................................จบทคดั ย่อภาษาอังกฤษ (English Abstract).......................................................................................ฉบทท่ี 1 บทนา....................................................................................................................................1 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั .........................................................................................1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์..................................................................................................................1 1.3 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั .............................................................................................1 1.4 ขอบเขตการทางาน........................................................................................................2 1.5 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน...................................................................................................2 1.6 แผนการดาเนนิ งาน........................................................................................................3 1.7 รายละเอยี ดงบประมาณตลอดโครงงาน.........................................................................3บทท่ี 2 หลกั การและทฤษฎที ่เี กี่ยวข้อง...............................................................................................4 2.1 พระอจั ฉริยภาพด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี ..........................................................4 2.2 ความเป็นมาของโครงการพระราชดารฝิ นหลวง.............................................................4 2.3 กลยทุ ธการพฒั นาโครงการพระราชดารฝิ นหลวง...........................................................6 2.4 ขั้นตอนการทาฝนหลวง..................................................................................................7 2.5 ประโยชนข์ องการทาฝนหลวง........................................................................................8 2.6 เครอื่ งบินฝนหลวง..........................................................................................................9 2.7 สถานีเรดารต์ รวจกล่มุ ฝน..............................................................................................13 2.8 การขอรบั บรกิ ารฝนหลวง.............................................................................................14 2.9 การทาฝนหลวงในอนาคต.............................................................................................14 2.10 ข้อควรรูเ้ ก่ยี วกบั ฝนหลวง...........................................................................................15บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ งาน........................................................................................................................18 3.1 ขน้ั ตอนและวิธีการดาเนินการ.......................................................................................18บทท่ี 4 ผลการศึกษาและการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ....................................................................................19

คสารบัญ (ต่อ) หน้าบทท่ี 5 สรปุ อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ............................................................................................20 5.1 สรปุ ผลการประเมนิ ......................................................................................................20 5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการค้นควา้ ................................................................................20 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแก้ไข..............................................................................20บรรณานกุ รม.....................................................................................................................................21ประวตั ิผู้ดาเนินงาน............................................................................................................................22

งสารบญั รปูรูปที่ หน้า1 แสดงพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงใช้เวลาอกี 14 ปี ในการวเิ คราะหว์ ิจยั ทบทวนเอกสาร รายงานผลการศึกษาและขอ้ มลู ต่างๆ พระราชทานให้ หมอ่ มราชวงศ์ เทพฤทธ์ิ เทวกุล เพือ่ ประกอบการคน้ คว้าทดลองมาโดยตลอด.............52 แสดงการทดลองในท้องฟา้ เป็นครงั้ แรก..........................................................................53 แสดงพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวรัชกาลที่ 9 กับเครอ่ื งบนิ ฝนหลวง...........................64 แสดงแผนที่การทาฝนหลวง............................................................................................85 แสดงเครอ่ื งบนิ แบบ Porter PC-6/B2H2 (1 เคร่ืองยนต)์ ..............................................96 แสดงเครอ่ื งบินแบบ Cessna Caravan (1 เครอื่ งยนต์).................................................97 แสดงเครื่องบินแบบ Casa C-211 (2 เครอื่ งยนต)์ ..........................................................108 แสดงเครอ่ื งบนิ แบบ CN-235-220 (2 เครอื่ งยนต์).........................................................109 แสดงเครื่องบินแบบ Super King Air 350B (2 เคร่ืองยนต์)..........................................1110 แสดงเครอ่ื งเฮลิคอปเตอรแ์ บบ Ecureuil AS350B (1 เครอื่ งยนต์)................................1111 แสดงเครื่องเฮลิคอปเตอร์แบบ BELL 206B (1 เครอ่ื งยนต์)...........................................1212 แสดงเครื่องเฮลิคอปเตอรแ์ บบ BELL 412 EP (2 เครื่องยนต์).......................................1213 แสดงเคร่อื งเฮลิคอปเตอร์แบบ BELL 407 EP (1 เคร่อื งยนต์).......................................1314 แสดงแผนท่สี ถานีเรดารต์ รวจกลมุ่ ฝนในประเทศไทย.....................................................1315 แสดงเว็บไซต์กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร................................................................14

จชือ่ หวั ข้อโครงการ พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ละ โครงการพระราชดารฝิ นหลวงผู้ดาเนินโครงการ นางสาวณฐั ณิชา แสงเพชร รหสั 60460316 นายณัฐดนยั กิจกรรณิการ์ รหสั 60460323 นายณฐั พงษ์ รตั นสาเนยี ง รหสั 60460330 นายณฐั ภทั ร บุญสิงห์ รหสั 60460347 นายณัฐสทิ ธิ์ โชตยันดร รหสั 60460354 นางสาวณชิ าภัทร พลเหมิ รหสั 60460361 นายทรงกลด เพียแก้ว รหสั 60460378 นางสาวทวนิ ันท์ หงส์ยสี่ ิบเอ็ด รหสั 60460385 นายทวภี ทั ร ใจยะสทิ ธ์ิ รหสั 60460392 นางสาวทวีรัตน์ วงศส์ ุทธิ์ รหสั 60460408คณะ แพทยศาสตร์ปกี ารศึกษา 2560……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บทคัดยอ่ รายงานเล่มน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพระอัจฉริย ภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวภูมิพลอดลุ ยเดช ในดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เร่อื งฝนหลวงซึ่งศึกษาดา้ นประวัติความเป็นมาของโครงการฝนหลวง, ปัจจัยและองค์ประกอบของฝนหลวง, ข้ันตอนการทาฝนหลวง และประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากโครงการฝนหลวง จากการศึกษาได้ข้อมูลว่าโครงการฝนหลวงเกิดขึ้นจากพระอัจฉรยิ ภาพของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดชท่ที รงตอ้ งการแกไ้ ขปัญหาดา้ นความเดอื ดรอ้ นของราษฎรและเกษตรกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ขาดแคลนน้าในการอุปโภค บริโภคและทาการเกษตร โดยการคิดค้นฝนเทยี มหรือฝนหลวงเปน็ กรรมวธิ กี ารเหน่ียวนาน้าจากฟา้ ซึง่ ใช้เครอื่ งบินบรรจสุ ารเคมขี นึ้ ไปโปรยบนท้องฟ้า โดยมีขั้นตอนทั้งหมด 6 ขั้นตอน คือ ก่อกวน เลี้ยงให้อ้วน โจมตี เสริมการโจมตีเมฆอ่นุ เพือ่เพม่ิ ปรมิ าณนา้ ฝน โจมตเี มฆเย็นดว้ ยพลซุ ิลเวอรไ์ อโอไดด์และโจมตีแบบซเู ปอรแ์ ซนวชิ ซ่ึงโครงการฝนหลวงนี้ยังช่วยป้องกัน, บาบัดภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อม ,ช่วยเพ่ิมปริมาณน้าในเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์เพ่ือการผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อการใช้งานของประชาชน และกระตุ้นเศรษฐกจิดา้ นการเกษตรและอุตสาหกรรมอยา่ งย่งั ยนื

ฉProject title The Alleviating of King Bhumibol Adulyadej in Science and Technology and The Royal Project “Royal Rain”Name Miss Natnicha Saengphet ID. 60460316 Mr. Natdanai Kitkannika ID. 60460323 Mr. Nattapong Rattanasamniang ID. 60460330 Mr. Nuttaphat Boonsing ID. 60460347 Mr. Nattasit Chotyandorn ID. 60460354 Miss Nichaphat Ponherm ID. 60460361 Mr. Songklod Piakaew ID. 60460378 Miss Tawinan Hongyeesib-ed ID. 60460385 Mr. Taweepat Jaiyasit ID. 60460392 Miss Thawirat Wongsut ID. 60460408Faculty MedicineAcademic year 2560……………………………………………………………………………………………………………………………………………… Abstract The main objective of this report is to study about the alleviating of KingBhumibol Adulyadej in science and technology and the Royal Project “Royal rain”.The report attempts to determine the history of the Royal rain, the factors andelements of the rain, the process of the rain. And benefits from the Royal rain project. The results from the study is that Royal rain is occurred from the alleviating ofKing Bhumibol Adulyadej to solving the problems of suffering people and Northeasternagriculturist who lack of water for consumption. Royal rain is to change clouds to rainby the plane that contain chemicals to scatter in the sky. There are 6 steps tomake Royal rain: Agitation, Fattening, Attacking, attacking warm cloud, Attack theclouds with cool silver iodide and super sandwich attacks. The Royal rain also helppreventing the environmental pollution, Increase the amount of water in BhumibolDam and Sirikit Dam to generate enough electricity for public use and stimulate theagricultural and industrial economy sustainably.

บทที่ 1 บทนา1.1 ความเป็นมาและความสาคญั พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ได้ทรงมีพระราชดาริ และได้พระราชทานแนวคิด แนวทางการปฏิบตั ิตา่ ง ๆ ทั้งในดา้ นการศกึ ษา การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ศาสนา การเกษตรและการยกระดับสภาพชีวิตความเปน็ อยู่ของประชาชน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และอ่ืนๆ ให้กับปวงชนชาวไทย เพ่ือเปล่ียนการดาเนินชีวิตทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ระดับชุมชน ระดบัองค์กร และระดบั ภาครฐั ให้รอดพน้ จากวิกฤตและดาเนินชีวิตอยใู่ นสงั คมได้อย่างสมดุล ม่ันคง และย่ังยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ และการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ซ่ึงได้มีการน้อมนาแนวพระราชดาริต่าง ๆ มาจัดทาเป็นโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ อันมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน โดยเฉพาะการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดาริ ที่เป็นต้นแบบของการนาแนวคิด และวิธีการพัฒนาชนบทอย่างครบวงจรหรือที่เรียกว่า “บริการรวมที่จุดเดียว (ONE STOPSERVICES)” เพื่อยกระดบั ชีวติ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนผู้ยากไร้ ใหส้ ามารถพงึ่ พาตนเองได้อยา่ งยั่งยืนในทุกพ้ืนทีท่ ่ัวทุกภูมภิ าคของประเทศ โดยเน้นการพัฒนาด้านแหล่งน้า การเกษตร ส่ิงแวดลอ้ ม และการส่งเสรมิ อาชพี กลุ่มของข้าพเจา้ รสู้ ึกซาบซ้ึงในพระมหากรณุ าธิคณุ ท่ีพระองคท์ รงทาเพ่อื ปวงชนชาวไทย จึงได้จัดโครงงานเพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของพระองค์ โดยทางกลุ่มมุ่งเน้นสนใจในเร่ืองเก่ียวกับน้า ซึ่งเป็นส่ิงท่ีจาเป็นต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนษุ ย์ เพราะคนส่วนใหญ่ในประเทศประกอบอาชพี เกี่ยวกับเกษตรกรรม ซึง่ ปัญหาที่พบกค็ ือ ปญั หาขาดแคลนนา้ ในการอปุ โภคบรโิ ภค พระองค์จงึ ได้รเิ ร่มิ ทาโครงการ “ฝนหลวง” ข้นึ มา เพือ่ ชว่ ยราษฎรในภาวะท่ีขาดแคลนน้าที่ใช้ในการอุปโภคบรโิ ภค โดยท่ีพระองค์ได้ทรงคิดค้นและทาการทดลองจนประสบความสาเรจ็ ทางกลมุ่ จงึ อยากทจ่ี ะถ่ายทอดข้อมลู โครงการพระราชดารฝิ นหลวง เก่ียวกบั ความเป็นมาของโครงการ และวธิ ีการกระบวนการที่ทาใหเ้ กดิ ฝนในช่วงท่ไี มม่ ีฝนในภาวะแหง้ แลง้

21.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพือ่ ศึกษาพระอัจฉรยิ ภาพทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภูมพิ ลอดุยเดช 1.2.2 เพอ่ื ศึกษาทม่ี าและความสาคัญของโครงการฝนหลวง 1.2.3 เพอ่ื ศกึ ษาวิธกี ารทาฝนหลวง 1.2.4 เพ่อื ศกึ ษาประโยชนจ์ ากโครงการฝนหลวง1.3 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั 1.3.1 ทราบถงึ พระอัจฉรยิ ภาพทางดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวภูมิพลอดยุ เดช 1.3.2 ทราบถึงท่ีมาและความสาคญั ของโครงการฝนหลวง 1.3.3 ทราบถงึ วธิ ีการทาฝนหลวง 1.3.4 ทราบถงึ ประโยชนจ์ ากโครงการฝนหลวง 1.3.5 สามารถเผยแพร่ความรทู้ ไ่ี ด้จากการศึกษาแกบ่ คุ คลอ่นื ได้ 1.3.6 เพิ่มความสามารถในการจัดสรรเวลาในการทางานอย่างเปน็ ระบบของสมาชิก1.4 ขอบเขตการทางาน 1.4.1 ศกึ ษาพระอัจฉรยิ ภาพทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมพิ ลอดยุ เดช 1.4.2 ศกึ ษาทีม่ าและความสาคญั ของโครงการฝนหลวง 1.4.3 ศึกษาวธิ กี ารทาฝนหลวง 1.4.4 ศึกษาประโยชนจ์ ากโครงการฝนหลวง 1.4.5 ระยะเวลาการทางานตงั้ แตว่ นั ที่ 9 ตลุ าคม – 20 พฤศจิกายน 2560 (7 สัปดาห์)1.5 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1.5.1 สืบค้นขอ้ มลู เก่ียวกบั พระอจั ฉริยภาพด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยเน้นท่โี ครงการฝนหลวง 1.5.2 เรียบเรยี งข้อมลู ที่ไดจ้ ากการสบื คน้ 1.5.3 จดั ทารปู เล่มรายงาน 1.5.4 ประชมุ หารอื เพอื่ ออกแบบรูปแบบการนาเสนองาน 1.5.5 จดั ทาสือ่ ทใ่ี ช้ในการนาเสนอรายงาน 1.5.6 ซักซอ้ มการนาเสนอรายงาน

31.6 แผนการดาเนนิ งาน กิจกรรม ระยะเวลาในการดาเนินการ (1 สปั ดาห)์ 1234567สบื ค้นข้อมลูเรยี บเรียงขอ้ มลูจดั ทารปู เล่มรายงานประชมุ หารอื เพอื่ ออกแบบรปู แบบการนาเสนอรายงานจัดทาสอ่ื ท่ีใชใ้ นการนาเสนอรายงานซกั ซอ้ มการนาเสนอรายงานนาเสนอรายงาน1.7 รายละเอยี ดงบประมาณตลอดโครงงาน งบประมาณทใ่ี ชป้ ระมาณ 200 บาท เปน็ คา่ ส่อื สงิ่ พมิ พ์

บทที่ 2 หลกั การและทฤษฎที ่ีเก่ียวขอ้ ง2.1 พระอจั ฉริยภาพดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภูมิพลอดุยเดช ทรงสนพระราชหฤทัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาต้ังแต่ทรงศึกษาในต่างประเทศ เห็นได้จากการที่ทรงเลือกศึกษาแผนกวิทยาศาสตร์สาขา สหวทิ ยาศาสตร์ ในระดับอดุ มศึกษา พระองค์ทรงใช้ประสบการณ์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม ตลอดจนเทคโนโลยีต่างๆ ในการประยุกต์ใช้ เข้ามาพัฒนาประเทศ ผ่านโครงการพระราชดาริต่าง ๆ เช่น โครงการฝนหลวง แกม้ ลงิ กงั หันชัยพัฒนา หญา้ แฝก ฯลฯ เพอ่ื ปรับปรงุ ความเป็นอยขู่ องพสกนกิ รใหอ้ ย่ดู ีกนิ ดีตามวิถีแหง่ ความพอเพยี ง2.2 ความเปน็ มาของโครงการพระราชดารฝิ นหลวง “...แตม่ าเงยดูท้องฟ้า มีเมฆ ทาไมมเี มฆอยา่ งนี้ ทาไมจะดงึ เมฆน่ลี งมาให้ได้ ก็เคยไดย้ นิ เร่อื งการทาฝน ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธ์ิ ฝนทาได้ มีหนังสือ เคยอา่ นหนงั สอื ทาได.้ ..” ในปี พ.ศ. 2498 ในวโรกาสท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดาเนินโดยพระราชพาหนะเคร่ืองบินพระที่นั่ง เพื่อทรงเย่ียมเยียนทุกข์สขุ องพสกนิกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือยา่ นบริเวณเทือกเขาภูพาน ทรงพบเห็นว่าภาวะแห้งแล้งได้ทวีความถี่ และมีแนวโน้มว่าจะรุนแรงยง่ิ ข้ึนเปน็ ลาดับน้นั นา่ จะมีสาเหตุเกิดขนึ้ จากการผันแปรและคลาดเคลือ่ นของฤดูกาลตามธรรมชาติ อีกทั้งการตัดไมท้ าลายปา่ อาจจะเป็นอกี สาเหตหุ น่ึงท่ีทาให้สภาพแวดล้อมมีการเปลีย่ นแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งทาให้สภาพอากาศจากพื้นดินถึงระดับฐานเมฆไม่เอื้ออานวยต่อการกล่ันตัวของไอน้า ท่ีจะก่อตัวเกิดเป็นเมฆ และทาให้ยากต่อการเหน่ียวนาให้ฝนตกลงสู่พ้ืนดิน จึงมีฝนตกน้อยกว่าเปน็ ปกติหรือไม่ตกเลย ทรงสังเกตว่ามีเมฆปริมาณมากปกคลุมเหนือพื้นที่ระหว่างเสน้ ทางบินแต่ไม่สามารถก่อรวมตัวจนเกิดเป็นฝนตกได้ เป็นเหตุให้เกิดสภาวะฝนทิ้งช่วงเป็นระยะเวลายาวนานท้ังๆ ท่ีเป็นชว่ งฤดมู รสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ ซง่ึ เปน็ ฤดฝู น เกิดสภาพความแห้งแล้งทั่วพ้ืนที่ทั้งๆ ท้องฟ้ามีเมฆมาก ซึ่งส่งผลให้ปริมาณน้าต้นทุนจากทรัพยากรนา้ ท่มี อี ยูไ่ ม่เพยี งพอ ตัวอยา่ งนีเ้ ห็นได้ชัด คอื ปรมิ าณน้าในเข่อื นภมู ิพลลดลงอย่างน่าตกใจ โครงการพระราชดาริฝนหลวง เป็นโครงการท่ีก่อกาเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ท่ีทรงหว่ งใยในความทกุ ข์ยากของพสกนิกรในท้องถนิ่ ทรุ กันดาร ซึง่ ตอ้ ง

5ประสบปัญหาขาดแคลนน้า เพื่ออปุ โภคบรโิ ภค และใช้ในการเกษตรกรรม อันเนือ่ งมาจากภาวะ แหง้แล้ง พระองค์ทรงสังเกตเห็นวา่ มีเมฆปริมาณมากปกคลมุ ทอ้ งฟ้า แต่ไม่สามารถกอ่ รวมตัวกนั จนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุใหเ้ กิดภาวะฝนทงิ้ ช่วงระยะยาวท้งั ๆ ท่ีเป็นช่วงฤดูฝน ทรงคิดว่าน่าจะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ ทจ่ี ะช่วยใหเ้ มฆเหล่าน้นั กอ่ รวมตัวกนั จนเกิดเปน็ ฝนได้ ทฤษฎตี ้นกาเนิด “หลกั การแรก คือ ใหโ้ ปรยสารดดู ซบั ความชน้ื (เกลือทะเล) จาก เครื่องบนิ เพื่อดดู ซบั ความชืน้ ในอากาศ แล้วใช้สารเยน็ จัด (น้าแขง็ แหง้ ) เพื่อให้ความช้นื กลน่ั ตัวและรวมตัวเปน็ เมฆ” ความคิดเริม่ แรกในการดัดแปรสภาพอากาศ เพ่ือใหเ้ กดิ ฝน รูปที่ 1 แสดงพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงใช้เวลาอกี 14 ปี ในการวเิ คราะหว์ จิ ยั ทบทวนเอกสาร รายงานผลการศึกษาและข้อมลู ตา่ งๆ พระราชทานให้ หมอ่ มราชวงศเ์ ทพฤทธ์ิ เทวกลุ เพือ่ ประกอบการคน้ คว้าทดลองมาโดยตลอด รปู ท่ี 2 แสดงการทดลองในทอ้ งฟ้าเป็นครง้ั แรก

6 เลือกพืน้ ที่วนอทุ ยานเขาใหญ่เปน็ พนื้ ท่ีทดลองเป็นแหง่ แรกโดยทดลองหยอดกอ้ นน้าแขง็ แห้ง(dry ice หรือ solid carbon dioxide) ขนาดไม่เกิน 1 ลูกบาศก์นิ้ว เข้าไปในยอดเมฆสูงไม่เกิน10,000 ฟุต ท่ีลอยกระจัดกระจายอยู่เหนือพื้นท่ที ดลอง ในขณะน้ัน ทาให้กลุ่มเมฆ ทดลองเหล่านัน้มกี ารเปล่ียนแปลงทางฟิสกิ สข์ องเมฆอย่างเหน็ ไดช้ ัดเจนเกดิ การกล่ันรวมตวั กันหนาแน่น และก่อยอดสงู ขนึ้ เป็นเมฆฝนขนาดใหญ่ในเวลาอันรวดเรว็2.3 กลยุทธการพฒั นาโครงการพระราชดาริฝนหลวง 1. ทรงเน้นถึงความจาเป็นในด้านพัฒนาการและการดาเนินการปรับปรุงวิธีการทาฝนในแนวทางของการออกแบบปฏบิ ัตกิ าร การตดิ ตามและการประเมินผลท่มี ีลกั ษณะเป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึน้ ตลอดจนความเปน็ ไปไดใ้ นการใช้ประโยชนข์ องเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ เพือ่ ศกึ ษารูปแบบของเมฆและการปฏิบัติการทาฝนใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. ทรงยา้ ถงึ บทบาทของการดดั แปรสภาพอากาศหรอื การทาฝนว่าเปน็ องค์ประกอบท่ีสาคัญอนั หนึง่ ในกระบวนการจัดการทรพั ยากรแหล่งนา้ เชน่ การเพิม่ ปรมิ าณนา้ ให้แก่แหล่งเก็บกักน้าต่างๆการบรรเทาปญั หามลภาวะและการเพมิ่ ปริมาณนา้ เพอ่ื สาธารณปู โภค เป็นต้น 3. ทรงเน้นว่า ความร่วมมือประสานงานอย่างเต็มที่ระหว่างหน่วยงานและส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องเทา่ น้ัน ท่ีเป็นกุญแจสาคัญในอันท่ีจะทาใหบ้ รรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการไดด้ จุ สิง่มหศั จรรย์เพาะเมฆและบังคบั เมฆใหเ้ กดิ ฝน รูปท่ี 3 แสดงพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวรชั กาลท่ี 9 กับเคร่ืองบินฝนหลวง

72.4 ขนั้ ตอนการทาฝนหลวง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ทรงวเิ คราะห์การทาฝนหลวงว่ามี 6 ขั้นตอน ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 ก่อกวน เป็นการกระตุ้นใหเ้ มฆรวมตัวเป็นกลมุ่ แกน เพื่อใช้เปน็ แกนกลางในการสร้างกลุ่มเมฆฝนในระยะตอ่ มา สารเคมีทีใ่ ช้ ได้แก่ แคลเซยี มคลอไรด์ แคลเซียมคาร์ไบด์ แคลเซียมออกไซด์ หรือสารผสมระหวา่ ง เกลอื แกงกับสารยูเรีย หรอื สารผสม ขั้นตอนที่ 2 เล้ยี งใหอ้ ้วน ข้ันตอนนี้ใช้สารเคมี คือ เกลือแกง สารประกอบสตู ร ท.1 สารยูเรยี สารแอมโมเนียไนเตรทน้าแขง็ แห้ง และอาจใช้สารแคลเซยี มคลอไรด์รว่ มดว้ ยเพื่อเป็นการเพิ่มแกนเมด็ ไอน้า (Nuclii) ใหก้ ลุ่มเมฆฝน มีความหนาแน่นมากขึน้ ขนั้ ตอนที่ 3 โจมตี สารเคมที ี่ใช้ในขัน้ ตอนนเ้ี ป็นสารเย็นจดั คือ ซิลเวอร์ไอโอได น้าแขง็ แหง้ เพ่อื ทาใหเ้ กิดภาวะความไม่สมดุลมากท่ีสุด ซึ่งจะเกิดเป็นเม็ดน้า ท่ีมีขนาดใหญ่มาก และตกกลายเป็นฝนในท่ีสุดถึงอย่างไรทุกข้ันตอนจะต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ในการตัดสินใจที่จะเลือกใช้สารเคมีในปริมาณท่พี อเหมาะ ขั้นตอนท่ี 4 เสรมิ การโจมตเี มฆอุ่นเพ่ือเพ่มิ ปริมาณน้าฝน เป็นการเสริมการโจมตีเมฆอุ่นในขั้นตอนท่ี 3 โดยโปรยสารสตู รเย็น คือน้าแข็งแห้ง (สูตร 3)ที่ใต้ฐานเมฆ เพื่อทาให้อุณหภูมิใต้ฐานเมฆลดต่าลงไปอีก และชักนาให้กลุ่มเมฆเคล่ือนที่ต่าลงสู่เปา้ หมาย เกดิ ปริมาณฝนตกหนาแน่นและนานข้นึ ขน้ั ตอนท่ี 5 โจมตีเมฆเย็นด้วยพลซุ ลิ เวอรไ์ อโอไดด์ เป็นการโจมตเี มฆทกี่ ่อตัวสูงขึน้ ในขน้ั ตอนท่ี 2 จนยอดเมฆโตสงู เกนิ ระดับเยือกแข็ง คอื ตัง้ แต่18,000 ฟุตขึ้นไป เรียกว่าเมฆเย็น โดยการยิงพลุสารเคมีซิลเวอร์ไอโอไดด์ (Agl) ที่ระดับความสูง21,500 ฟุต ซ่งึ มีอุณหภมู ิเฉลีย่ อย่ทู ี่ -8 ถงึ -12 องศาเซลเซยี ส เพ่ือใหไ้ อนา้ ท่ีมาเกาะสารเคมีเกิดเป็นผลึกน้าแข็ง เม่ือร่วงลงสู่ระดับเมฆอุ่นจะเปล่ียนสถานะเปน็ เม็ดน้ารวมกบั เม็ดน้าเดิมในเมฆอุ่น และรว่ งหล่นลงเป็นสายฝนในท่ีสดุ ข้ันตอนที่ 6 โจมตแี บบซเู ปอรแ์ ซนวิช (Super Sandwich) เป็นการประสานประสิทธิภาพการโจมตีทั้งเมฆอุ่น ในข้ันตอนท่ี 3 และ 4 และเมฆเย็นในข้ันตอนท่ี 5 พร้อมกัน ซง่ึ จะทาให้ปริมาณฝนตกมากขนึ้ และตกอยา่ งรวดเรว็ ข้นึ อกี ด้วย

8 รูปที่ 4 แสดงแผนท่กี ารทาฝนหลวง2.5 ประโยชนข์ องการทาฝนหลวง 1. เพ่ือแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้าในการเกษตรในช่วงท่ีเกิดภาวะฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วงยาวนานเพือ่ เพิ่มปรมิ าณน้า ใหก้ ับพนื้ ท่ลี ่มุ รบั นา้ ของแมน่ ้าสายตา่ งๆ ทีม่ ปี รมิ าณนา้ ตน้ ทนุ ลดน้อยลง 2. เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้าเพื่อการอปุ โภคบริโภค เสรมิ สร้างเสน้ ทางคมนาคมทางน้าเป็นการเพม่ิ ปรมิ าณน้าโดยเฉพาะในบรเิ วณแมน่ า้ ทตี่ ้ืนเขินใหส้ ามารถใช้เปน็ เส้นทางคมนาคมได้ 3. เพ่ือป้องกันและบาบดั ภาวะมลพิษของสง่ิ แวดล้อม \"ฝนหลวง\" ได้บรรเทาภาวะแวดลอ้ มเป็นพิษอันเกิดจากการระบาย น้าเสีย และขยะมูลฝอยลงสู่แม่น้าเจา้ พระยา ปริมาณน้าจากฝนหลวงจะทาใหภ้ าวะมลพษิ จากน้าเสยี เจอื จางลง 4. เพ่อื เพ่มิ ปริมาณนา้ ในเข่อื นภมู ิพลและเขอ่ื นสิรกิ ติ ์ิเพอ่ื ผลติ กระแสไฟฟ้าฝนหลวงในอนาคตพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวได้พระราชทานแนวความคดิ ให้ทาการศกึ ษาวิจัยพฒั นาฝนหลวงหลายประการ คอื สร้างจรวดฝนเทยี มบรรจสุ ารเคมีจากพ้ืนดินเข้าสูเ่ มฆหรอื ยงิ จากเคร่ืองบิน การใชเ้ ครือ่ งพ่นสารเคมีอัดแรงกาลังสูงจากยอดเขาสู่ฐานของก้อนเมฆโดยตรง เพ่ือช่วยให้เมฆที่ลอยปกคลุมอยู่เหนือยอดเขาสามารถรวมตัวหนาแนน่ จนเกิดฝนตกลงสู่บรเิ วณภูเขาหรือพ้นื ทีใ่ ตล้ มของภเู ขา

92.6 เคร่ืองบนิ ฝนหลวง 2.6.1 เครอื่ งบินปีกตรึงทใี่ ช้งานในปัจจุบัน (ภารกิจปฏิบตั กิ ารฝนหลวง) 2.6.1.1 เคร่ืองบินแบบ Porter PC-6/B2H2 (1 เครอื่ งยนต์) มีจานวน 3 เคร่ืองใชส้ าหรบั ปฏบิ ัตกิ ารฝนหลวงเมฆอนุ่ น้าหนกั บรรทกุ สารฝนหลวง 500 - 550 กิโลกรัม รปู ที่ 5 แสดงเครื่องบนิ แบบ Porter PC-6/B2H2 (1 เครอื่ งยนต)์ 2.6.1.2 เคร่ืองบินแบบ Cessna Caravan (1 เคร่อื งยนต)์ มจี านวน 10 เครื่องใชส้ าหรบั ปฏบิ ตั ิการฝนหลวงเมฆอุน่ น้าหนกั บรรทกุ สารฝนหลวง 700 - 800 กโิ ลกรมั รูปท่ี 6 แสดงเครอ่ื งบินแบบ Cessna Caravan (1 เครื่องยนต)์

10 2.6.1.3 เคร่อื งบินแบบ Casa C-212 (2 เครอ่ื งยนต์) มจี านวน 13 เคร่ือง ใชส้ าหรับปฏบิ ัติการฝนหลวงเมฆอุ่น นา้ หนักบรรทกุ สารฝนหลวง 1,000 - 1,200 กิโลกรมั รูปที่ 7 แสดงเคร่ืองบนิ แบบ Casa C-211 (2 เคร่ืองยนต์) 2.6.1.4 เครอ่ื งบินแบบ CN-235-220 (2 เครือ่ งยนต)์ มจี านวน 2 เครือ่ ง ใชส้ าหรบัปฏิบัติการฝนหลวงเมฆอุ่น และใช้สาหรับการบินสนับสนุนการตรวจราชการของผู้บังคับบัญชาระดบั สูง น้าหนกั บรรทกุ สารฝนหลวง 2,000 - 2,500 กโิ ลกรัม รปู ท่ี 8 แสดงเคร่ืองบินแบบ CN-235-220 (2 เคร่ืองยนต)์

11 2.6.1.5 เครอื่ งบนิ แบบ Super King Air 350B (2 เครอื่ งยนต์) มจี านวน 3 เคร่อื งใช้สาหรับปฏิบัติการฝนหลวงเมฆเย็น โดยติดต้ังอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ตรวจวัดสารประกอบทางอตุ นุ ยิ มวิทยา ใช้ในการทาฝนเมฆเย็น และสนับสนนุ การตรวจราชการของบังคบั บญั ชาระดบั สงู รูปที่ 9 แสดงเครอื่ งบนิ แบบ Super King Air 350B (2 เครอ่ื งยนต)์ 2.6.2 เคร่อื งบนิ ปกี หมนุ ทใ่ี ช้งานในปจั จบุ นั (เคร่ืองเฮลิคอปเตอร)์ 2.6.2.1 เครื่องเฮลิคอปเตอร์แบบ Ecureuil AS350B (1 เคร่อื งยนต)์มีจานวน 2 เคร่ือง ใช้สาหรับบินสนบั สนนุ ราชการของหน่วยงานในสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และสนบั สนุนการตรวจราชการของผู้บงั คบั บญั ชาระดับสงู และบนิ สารวจประเมินผลเพอ่ื สนบั สนนุการปฏบิ ัตกิ ารฝนหลวง รปู ที่ 10 แสดงเครอ่ื งเฮลคิ อปเตอร์แบบ Ecureuil AS350B (1 เครื่องยนต์)

12 2.6.2.2 เครื่องเฮลคิ อปเตอร์แบบ BELL 206B (1 เครือ่ งยนต์) มีจานวน 3 เครือ่ งใชส้ าหรับบนิ สนับสนุนราชการของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสนบั สนนุ การตรวจราชการของผู้บังคับบัญชาระดับสูง และบินสารวจประเมินผลเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวง รปู ที่ 11 แสดงเครอ่ื งเฮลคิ อปเตอร์แบบ BELL 206B (1 เครอ่ื งยนต์) 2.6.2.3 เคร่อื งเฮลคิ อปเตอรแ์ บบ BELL 412 EP (2 เครื่องยนต)์ มีจานวน 1 เครอ่ื งใชส้ าหรับบนิ สนบั สนุนราชการของหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสนับสนุนการตรวจราชการของผูบ้ ังคบั บัญชาระดับสูง รูปที่ 12 แสดงเครอ่ื งเฮลคิ อปเตอรแ์ บบ BELL 412 EP (2 เคร่อื งยนต์)

13 2.6.2.4 เครื่องเฮลิคอปเตอรแ์ บบ BELL 407 EP (1 เครอื่ งยนต์) มีจานวน 1 เครอ่ื งใช้สาหรับบินสนับสนุนราชการของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสนับสนุนการตรวจราชการของผู้บงั คับบัญชาระดับสูง และบินสารวจประเมนิ ผลเพ่ือสนับสนุนการปฏิบตั ิการฝนหลวง รูปท่ี 13 แสดงเครอื่ งเฮลคิ อปเตอร์แบบ BELL 407 EP (1 เครื่องยนต์)2.7 สถานีเรดารต์ รวจกล่มุ ฝน รปู ที่ 14 แสดงแผนทสี่ ถานเี รดารต์ รวจกลมุ่ ฝนในประเทศไทย

142.8 การขอรบั บรกิ ารฝนหลวง สามารถติดต่อขอรับบรกิ ารฝนหลวงไดท้ ี่เวบ็ ไซตก์ รมฝนหลวงและการบนิ เกษตรwww.royalrain.go.th รปู ที่ 15 แสดงเวบ็ ไซตก์ รมฝนหลวงและการบนิ เกษตร2.9 การทาฝนหลวงในอนาคต การทาฝนหลวงในปัจจุบันโดยใช้วิธีการโปรยสารเคมีจากเครื่องบินเพ่ือเร่งหรือเสริมการก่อตัวและการเจริญเติบโตของเมฆ และโจมตีกลุ่มเมฆฝนให้เกิดฝนตกลงสู่พื้นท่ีเป้าหมายทตี่ อ้ งการนน้ั บางครั้งก็ประสบปญั หาท่ีไม่สามารถปฏบิ ตั ติ ามขัน้ ตอนกรรมวธิ ีใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ์ เช่นในข้ันโจมตีใหฝ้ นตกลงสู่พ้นื ทเี่ ป้าหมายไม่สามารถกระทาได้ เน่อื งจากฝนตกปกคลุมสนามบิน เกดิ ลมพายุป่ันป่วนและรุนแรง เครื่องบินไม่สามารถขึ้นปฏิบัติการได้ ทาให้กลุ่มเมฆเคล่ือนท่ีพ้นพื้นท่ีเปา้ หมาย จากปัญหาต่างๆ เหล่านี้จึงได้มีการค้นคว้าวิจัยทดลองกรรมวิธีทาฝนขึ้น เพื่อพัฒนาให้กา้ วหนา้ ยง่ิ ขน้ึ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงกรุณาพระราชทานแนวทางคิดในการวจิ ัยพัฒนาฝนหลวงเพือ่ เกษตรกรหลายประการ คอื ประการแรก สร้างจรวดฝนเทียมบรรจุสรรเคมีจากพื้นดินเข้าสู่เมฆหรือยิงจากเครื่องบินซง่ึ ได้มกี ารทดลองแลว้ มคี วามก้าวหน้าขึ้นมาเปน็ ลาดับ ขณะนีก้ าลังอยใู่ นขั้นทาการผลติ จรวด เชิงอตุ สาหกรรมและคาดวา่ อกี ไมน่ านเกินรอ ประเทศไทยคงไดเ้ ปน็ ผู้นาของการทาฝนหลวงในภูมิภาค พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณาพระราชทานแนวความคดิ ในการวจิ ยั เพือ่ แก้ไขปญั หาในการใชเ้ ครอ่ื งบนิ ทาฝนหลวง ด้วยการใหท้ าการวจิ ัยสรา้ งจรวดบรรจสุ ารเคมียิงจากพื้นดนิ เขา้สู่ก้อนเมฆ หรือยิงจากเครื่องบิน จึงได้มีการเร่ิมวิจัยประดิษฐ์จรวดทาฝนร่วมกับกรมสรรพาวุธทหารบก เมอ่ื พ.ศ. 2515-2516 จนกา้ วหนา้ ถงึ ระดับทดลองประดิษฐจ์ รวด เพ่อื ทาการยงิ ในเบื้องตน

15แล้ว แต่ต้องหยุดชะงักด้วยความจาเป็นบางประการของกรมสรรพาวุธ ทหารบกจนถึง พ.ศ. 2524คณะกรรมการสภาวิจยั แห่งชาติไดแ้ ต่งตั้งคณะทางานพัฒนาและวิจยั จรวดฝนเทียมขึ้นประกอบด้วยผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นจรวดของกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ นักวชิ าการจากสภาวจิ ยั แหง่ ชาติและนกั วิชาการฝนหลวง ซ่งึ ไดร้ ่วมทาการวจิ ัยค้นควา้ และพฒั นาจรวดตน้ แบบขั้นเพ่ือทาการทดลองยงิ และถึงขึ้นบรรจุสารเคมีเพอื่ ทดลองยิงเข้าสู่ก้อนเมฆจริงแลว้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 ในขณะน้ีจึงอยู่ระหว่างข้นั ทาการผลติ จรวดเชงิ อตุ สาหกรรมในลาดบั ตอ่ มา ประการท่ีสอง คือ การใช้เคร่ืองพ่นสารเคมีอัดแรงกาลังสู่จากยอดเขาสู่ฐานของก้อนเมฆโดยตรงเพอื่ ชว่ ยให้เมฆทตี่ ามปกติมกั ลอยปกคลมุ อยูเ่ หนอื ยอดเขาสามารถรวมตัวหนาแน่นจนเกิดฝนตกลงสูบ่ รเิ วณภูเขาหรือพื้นที่ใตล้ มของภูเขา หากผลการทดลองลุลว่ งเรียบรอ้ ยเมอื่ ใดก็คงได้นาไปใช้กันอยา่ งท่ัวถงึ ประการสุดท้าย คือ การทาฝนในเมฆเย็นจัด (Super Cooled Cloud) โดยใช้สารท่ีทาให้เกิดฝนในกลุม่ เมฆเย็นจดั (ที่อยู่สูงเกินกว่า 18,000 ฟุต) ให้สารน้ีเป็นตัวเกิดหรือเร่งเรา้ กระต้นุ กลไกของการเกิดผลึกน้าแข็งในก้อนหรือกลุ่มเมฆน้ัน การวิจัยน้ีอยู่ภายใต้โครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศประยุกตซ์ ่ึงเปน็ โครงการรว่ มมือของรฐั บาลไทยและอเมริกาตงั้ แตป่ ี 2531 เปน็ ต้นมา2.10 ขอ้ ควรร้เู กีย่ วกบั ฝนหลวง - ฝนหลวงไม่ใช่ฝนเทียม แต่คือฝนธรรมชาติที่ตกลงมาจากก้อนเมฆจริงๆ การทาฝนหลวงแท้จริงแล้ว คือ การใช้ฟิสิกส์เพ่ือดัดแปรสภาพอากาศในบังคับให้หยดน้าในก้อนเมฆให้ตกลงมาเป็นฝน ในปริมาณท่ีมากขึ้น และในตาแหนง่ ทต่ี ้องการ - ฝนท่ีตกจากปฏิบัติการฝนหลวง มีโอกาสเกิดปรากฎการณ์ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง หรือฟ้าผ่าได้เหมือนกบั การเกดิ ฝนธรรมชาติ - กรรมวิธีในการดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดฝน ท่ีเรารู้จักกันว่าฝนหลวงน้ี ได้รับการจดสทิ ธบิ ัตรท้ังในและต่างประเทศกว่า 10 ประเทศ ถอื เปน็ เคร่ืองยืนยนั ว่าฝนหลวงเปน็ นวัตกรรมใหม่ที่ยังไม่เคยเกดิ ข้ึนจรงิ อย่างเปน็ รูปธรรมมากอ่ น - สาหรับการบนิ โดยท่ัวไป มีกฎการบนิ คือต้องบนิ หนีเมฆเพ่ือความปลอดภัย แต่ปฏิบัตกิ ารฝนหลวงกลบั เป็นการ “ล่า” หรือการบินพุง่ เข้าหาเมฆ ดังนั้น ปฏิบัติการฝนหลวงแต่ละครง้ั จึงไม่ใช่เร่ืองง่ายสาหรับผปู้ ฏบิ ัติการท่ีต้องเผชญิ กับทงั้ สภาพอากาศภายในก้อนเมฆท่มี ีความแปรปรวน ความกดอากาศตา่ หรือระดบั ออกซิเจนท่เี บาบาง ม.ร.ว.เทพฤทธิเ์ คยหบู อดจากการท่นี ้าแข็งปลวิ เข้าหูขณะทดลองครง้ั แรกทีเ่ ขาใหญ่ ความเยน็ จดั -78 องศาเซลเซยี สของน้าแข็งแหง้ ทาให้แก้วหไู หมแ้ ละทะลุ - “สายรงุ้ ” คอื ช่อื รหัสเรยี กขานขณะปฏบิ ัตกิ ารของม.ร.ว.เทพฤทธิ์ - ปฏิบัติการฝนหลวงท่ีจังหวัดพิจิตร และจังหวัดนครสวรรค์ ในปี พ.ศ. 2514 นับเป็นปฏิบตั ิการฝนหลวงแบบหวงั ผลเพอ่ื บรรเทาภยั แลง้ เป็นครั้งแรกในประเทศไทย ตามคาถวายฎกี าของราษฎรในพ้นื ที่

16 - นอกจากหน่วยปฏิบตั กิ ารฝนหลวง 10 แห่งทแี่ บง่ พืน้ ท่ีรบั ผิดชอบตามภมู ภิ าคแลว้ บอ่ ยคร้ังท่ที รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ต้งั หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวงพิเศษ ซึ่งเป็นหน่วยปฏบิ ัติการเฉพาะกจิ ท่ีมีเจ้าหนา้ ท่จี ากสานกั พระราชวงั รว่ มอยู่ในคณะทางานดว้ ย เชน่ ในปี พ.ศ. 2542 ซึง่ ประเทศไทยกาลังเผชิญวิกฤติภัยแล้งอย่างหนัก จนเป็นท่ีมาของแนวคิดการโจมตีเมฆแบบซูเปอร์แซนวิช เพื่อเพิ่มปริมาณน้าฝนรับมือกับภัยแล้งให้ได้มากท่ีสุด โดยคร้ังสุดท้ายที่มีการต้ังหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงพเิ ศษ คือในปี พ.ศ. 2558 - นอกจากเจ้าหน้าท่ีหน่วยปฏิบัติการฝนหลวง ยังมีอาสาสมัครฝนหลวง ซึ่งเป็นการฝึกประชาชนใหท้ าหนา้ ทีแ่ จง้ ปัญหาทีเ่ กิดขึ้นจริงในพื้นท่ี เพอ่ื ใหเ้ จ้าหน้าที่แก้ไขปัญหาไดต้ รงจุด ไปจนถึงช่วยติดตามผลหลังปฏิบัติการฝนหลวงเสร็จสิ้น โดยแต่ละปีมีชาวบ้านท่ีผ่านหลักสูตรพัฒนาอาสาสมัครประมาณ 500 คน ปัจจบุ นั มีอาสาสมคั รท้ังสน้ิ ประมาณ 5,000 คน - ค่าใช้จ่ายในการทาฝนหลวงต่อครั้งอยู่ท่ีประมาณ 200,000 บาท หรือคิดเป็นค่าใช้จ่ายประมาณสิบกว่าบาทตอ่ ไร่ ในกรณที ่ีปฏบิ ตั กิ ารสาเร็จ - ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการตัดสินใจปฏิบัติการ ได้แก่ ความชื้นสัมพันธ์ ค่าการยกตัวของอากาศ และความเร็วลม ในกรณีที่สภาพอากาศอานวยต่อการทาฝน (ความช้ืนสัมพัทธ์ในอากาศไม่นอ้ ยกวา่ 60 เปอรเ์ ซน็ ต์ และความเรว็ ลมชน้ั บนทรี่ ะดบั ความสูง 5,000 ฟตุ ถึง 10,000 ฟตุ ไม่เกนิ 25กิโลเมตรตอ่ ชว่ั โมง) โอกาสทจ่ี ะปฏบิ ัติการสาเร็จน้นั สงู เกือบ 100 เปอร์เซน็ ต์ - ในบางคราวท่ีแล้งมากและมีความชื้นสมั พัทธ์ไม่เพียงพอ ก็ต้องขึ้นบินท้ังท่ีไม่ผ่านเง่ือนไขทาใหค้ วามสาเร็จจากการปฏบิ ัตทิ ้ังหมดมีค่าเฉลี่ยอยทู่ ป่ี ระมาณ 95 เปอร์เซ็นต์ - ในปพี .ศ. 2558 เครือ่ งบินฝนหลวงบินปฏบิ ัติการเป็นจานวนท้ังสน้ิ กว่า 6,000 เท่ียว ในขณะทป่ี ีพ.ศ. 2559 ปฏิบตั กิ ารไปแลว้ กว่า 5,000 เทย่ี ว - ในฤดูเก็บเก่ียว ปฏิบัติการฝนหลวงจะตอ้ งหลกี เล่ียงพ้ืนท่ีการเกษตร ภารกิจของฝนหลวงนอกจากทาใหฝ้ นตกลงยงั พนื้ ที่การเกษตรแลว้ กค็ อื การเติมน้าเหนือเขอ่ื นสาหรบั หน้าแล้ง - นอกจากบรรเทาภัยแลง้ ฝนหลวงยังใช้จดั การกับพายุลกู เหบ็ (ชิงเปล่ยี นลกู เห็บใหเ้ ปน็ ฝนท้ังลดอันตรายตอ่ ประชาชนและสร้างประโยชน์ไปในตัว) ไปจนถึงการจัดการปญั หาไฟปา่ และหมอกควนั และโปรยเมล็ดพันธุพ์ ืชบนพน้ื ที่ป่าอีกดว้ ย - สงิ โปร์คือประเทศแรกท่ีขอพระราชทานความรใู้ นการทาฝนหลวง ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2515 โดยทรงเลือกพ้ืนท่ีสาธิตเป็นบรเิ วณอ่างเก็บน้าแก่งกระจาน เนื่องจากทรงเห็นว่าเปน็ พื้นที่ท่ีมีสภาพภูมิประเทศและภมู ิอากาศใกลเ้ คียงกับประเทศสงิ คโปร์ และเสด็จพระราชดาเนนิ มาทรงบญั ชาการการทาฝนหลวงด้วยพระองค์เอง โดยทรงใช้เวลาเพียง 5 ช่ัวโมงในการทาให้ฝนตก เป็นที่ตื่นเต้นและที่ประทับใจของผู้แทนจากสิงคโปร์เป็นอย่างยิ่ง หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับประจาวันพุธท่ี 18 ตุลาคมพ.ศ. 2515 บันทึกไว้ว่า “พอถึง 15.00 น. ก็ปรากฏสายฝนหลั่งลงแถบน้ันอย่างหนักราวปาฏิหารยิ ์ทุกคนต่างก็ตื่นเต้น แต่ชาวสิงคโปร์โดยเฉพาะนายหว่ัง เทียวสุย ผู้เชี่ยวชาญด้านอุตุนิยมวิทยาดูจะ

17ต่ืนเต้นกว่าคนอ่ืน พูดจาโขมงโฉงเฉงท้ังภาษาจีนท้ังภาษาอังกฤษ มือก็ช้ีให้เพ่ือนดูท้ังๆ ท่ีเพื่อนเหน็แลว้ บอกไม่เคยนกึ มากอ่ นว่าในหลวงจะทรงงานหนัก และทรงเกง่ กาจเช่นน้ี”

บทท่ี 3 วิธีดาเนินงาน3.1 ข้นั ตอนและวธิ ีการดาเนินการ 3.1.1 สืบค้นข้อมลู เกย่ี วกับพระอัจฉริยภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นท่ีโครงการฝนหลวง 3.1.1.1 สืบค้นข้อมูลผ่านสื่อสารสนเทศ ดังน้ี หนังสือ ตารา ผ่าน webOPAC ของมหาวทิ ยาลยั นเรศวร ตลอดจนเว็บไซต์ของภาคส่วนทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตรเปน็ ตน้ 3.1.2 เรยี บเรียงข้อมูลท่ีได้จากการสบื ค้น 3.1.2.1 นาขอ้ มูลทไี่ ด้มาประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือ 3.1.2.2 วเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของข้อมูล และมีเน้อื หาตรงกับประเดน็ เนื้อหาท่ีศึกษา 3.1.2.3 วเิ คราะหค์ วามถกู ตอ้ งแม่นยาของข้อมูลได้ 3.1.2.4 วเิ คราะหค์ วามทันสมัย ทันเหตกุ ารณ์ของขอ้ มลู 3.1.2.5 คัดเลือกข้อมูลเพื่อจดั ทารปู เลม่ รายงาน 3.1.3 จัดทารปู เล่มรายงาน 3.1.3.1 แบ่งหนา้ ท่ใี นการทารูปเล่มรายงาน 3.1.3.2 นาขอ้ มลู มาจัดเรียงตามความสอดคล้องของข้อมูล 3.1.4 ออกแบบรูปแบบการนาเสนองาน 3.1.3.3 ประชุมกลุ่มเพ่ือออกแบบรูปแบบการนาเสนอผลงาน โดยเลือกนาเสนอผ่านส่อืต่างๆ เชน่ พาวเวอรพ์ อ้ ย วดิ โี อคลปิ 3.1.5 จดั ทาสอ่ื ท่ีใชใ้ นการนาเสนอรายงาน 3.1.5.1 แบง่ หน้าทีใ่ นการทาสอื่ นาเสนอ โดยแบ่งเปน็ 2 ฝา่ ย คอื ฝา่ ยตัดตอ่ คลปิ วิดโี อ และฝ่ายทาสื่อพาวเวอรพ์ อ้ ย 3.1.6 ซกั ซอ้ มการนาเสนอรายงาน 3.1.6.1 เลอื กตวั แทนกลุ่มนาเสนอขอ้ มลู ของกลมุ่ 3.1.6.2 ซ้อมคิวในการนาเสนอเรือ่ งราวผา่ นละครสน้ั ของสมาชิกกลุ่มคนอนื่ ๆ

บทท่ี 4 ผลการศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูล จากการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับพระอัจฉริยะภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชในเร่ืองฝนหลวง ทาใหท้ ราบถงึ ความเป็นมา สาเหตุและทฤษฎที ่ที าให้เกิดโครงการฝนหลวงขน้ึ รวมถึงข้นั ตอนในการทาฝนหลวงโดยมีข้ันตอนดงั ตอ่ ไปนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 กอ่ กวน ขั้นตอนที่ 2 เลยี้ งใหอ้ ้วน ขนั้ ตอนที่ 3 โจมตี ข้ันตอนท่ี 4 เสริมการโจมตเี มฆอ่นุ เพ่อื เพิ่มปรมิ าณนา้ ฝน ขัน้ ตอนท่ี 5 โจมตีเมฆเยน็ ดว้ ยพลซุ ลิ เวอรไ์ อโอไดด์ ขั้นตอนที่ 6 โจมตีแบบซูเปอรแ์ ซนวิช (Super Sandwich) ซึ่งท้ัง 6 ขั้นตอนดังกล่าว เป็นการใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์และเคมี ในการดัดแปลงสภาพอากาศทาให้หยดนา้ รวมตัวกนั และกอ่ ให้เกิดฝนจากธรรมชาติขึ้นมา นอกจากนีเ้ รายังไดท้ ราบถึงประโยชน์และเครอื่ งบินท่ีใช้ในโครงการฝนหลวง ดงั ต่อไปน้ี ประโยชน์ของการทาฝนหลวง 1. แกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนน้าในการเกษตรในช่วงทีเ่ กิดภาวะฝนแลง้ หรอื ฝนทง้ิ ชว่ ง 2. แกป้ ัญหาการขาดแคลนน้าเพื่อการอปุ โภคบริโภค 3. ป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษของสิง่ แวดลอ้ ม 4. เพิ่มปรมิ าณนา้ ในเข่อื นภมู ิพลและเขือ่ นสิริกติ ์ิเพอ่ื ผลติ กระแสไฟฟา้ ฝนหลวงในอนาคต เคร่ืองบนิ ที่ใชใ้ นโครงการฝนหลวงแบง่ เป็น 2 ประเภท 1. เครือ่ งบินปีกตรงึ 2. เครอ่ื งบินปกี หมุน

บทท่ี 5 สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ5.1 สรุปผลการประเมนิ จากขอ้ มลู ท่ไี ดม้ าจากการศกึ ษาข้างต้น ได้ขอ้ สรปุ วา่ โครงการฝนหลวงในพระราชดาริใช้หลกั การทางวิทยาศาสตรท์ าใหเ้ กิดขึน้ มา ทงั้ การคดิ คน้ ดดั แปลง ทดลอง จนเกิดฝนหลวงข้นึ ซง่ึนับเป็นพระอัจฉรยิ ภาพ ทางด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวฯรชั กาลที่ 9 อย่างแทจ้ รงิ5.2 ปญั หาและอุปสรรคในการคน้ ควา้ 5.2.1 เวลาว่างของสมาชิกในกลุม่ ไม่ตรงกนั ทาให้ขอ้ มลู ในการศึกษาค้นควา้ อาจไม่ท่วั ถึง 5.2.2 สมาชิกในกลมุ่ ความคดิ เหน็ ไมต่ รงกนั5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแกไ้ ข ข้อมลู ทีไ่ ด้ทาการศกึ ษาคน้ คว้ามาน้ีบางอยา่ งอาจเปลี่ยนแปลงหรอื มีเพม่ิ เตมิ ในอนาคต

21 บรรณานกุ รมCreative Thailand. (1 ธนั วาคม 2559). ฝนหลวง. สบื ค้นเมื่อ 25 สงิ หาคม 2560. จาก http://www.tcdc.or.th/creativethailand/article/CoverStory/26656กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร. ความเปน็ มาของโครงการพระราชดารฝิ นหลวง. สบื คน้ เมือ่ 25 สิงหาคม 2560. จาก http://www.royalrain.go.thกลุ่มนักศกึ ษาฝกึ งาน งานพัฒนาและจัดการสารสนเทศ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศหอ้ งสมุด. (26 ธันวาคม 2549). ความเป็นมาของโครงการพระราชดาริฝนหลวง. สืบค้นเม่ือ 28 ตลุ าคม 2560. จาก www.lib.ru.ac.th/journal/nov/nov14-ArtificialRain.htmlณัฐกร เลศิ ธนาไพจิตร. (14 ตลุ าคม 2559). พระอัจฉรยิ ภาพดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี ถา้ มีนา้ คนอย่ไู ด้ ถ้าไม่มีนา้ คนอยไู่ ม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยไู่ ด้ แตถ่ า้ มีไฟฟา้ ไม่มีนา้ คน อยู่ไมไ่ ด.้ สืบค้นเมอ่ื 8 ตุลาคม 2560. จากhttps://soscity.co/article/ newhorizon/the-genius-of-king-bhumibol-in-water- systemทมี งาน kapook. (14 พฤศจิกายน 2555). วันพระบดิ าแห่งฝนหลวง 14 พฤศจิกายน. สืบค้นเมอ่ื 25 สิงหาคม 2560. จาก http://hilight.kapook.com/view/78415ทีมงานทรูปลูกปัญญา. (8 กมุ ภาพนั ธ์ 2560). พระอจั ฉรยิ ภาพด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวรัชกาลท่ี 9. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2560. จาก http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/32152-044729ปยิ ะณฐั อมรกติ ติพานิช. (2557). ฟา้ ของประชาชน. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.วรญั ญา ไทยเขยี ว. (5 ตุลาคม 2560). พระบิดาแห่งการประดษิ ฐ์ “ฝนหลวง” ของไทย. สบื ค้น เม่ือ 13 ตุลาคม 2560. จาก http://goo.gl/Tvum5iสานกั งานปฏบิ ตั ิการฝนหลวง. (2530). ในหลวงของเรากบั ฝนหลวง. กรงุ เทพฯ: ม.ป.พ.

22ประวตั ิผดู้ าเนินการชื่อ นางสาว ณัฐณชิ า แสงเพชรภมู ิลาเนา 55/1 หมู่ 1 ต.วงั ทอง อ.วงั ทอง จ.พษิ ณุโลก 65130ประวัตกิ ารศึกษา - จบระดบั มัธยมศึกษาจากโรงเรยี นเฉลมิ ขวญั สตรี - ปจั จุบันกาลังศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรีชน้ั ปที ่ี 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]ชื่อ นาย ณัฐดนัย กิจกรรณกิ าร์ภมู ิลาเนา 125/40 หมู่.2 ต.ทับมา อ.เมือง จ.ระยองประวตั ิการศึกษา - จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรยี นระยองวิทยาคม - ปจั จุบันกาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรีชน้ั ปีท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]ชอ่ื นาย ณัฐพงษ์ รัตนสาเนียงภมู ิลาเนา 35/17 ถ.ชาญเวชกจิ ต.ในเมอื ง อ.เมือง จ.พิษณุโลกประวตั ิการศึกษา - จบระดบั มัธยมศึกษาจากโรงเรยี นพษิ ณโุ ลกพทิ ยาคม - ปจั จบุ นั กาลังศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี ้นั ปที ี่ 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]ช่อื นาย ณฐั ภทั ร บญุ สงิ ห์ภูมิลาเนา 30/35 ถ.พระลอื ซ.3 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พษิ ณุโลกประวตั กิ ารศกึ ษา - จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรยี นนครสวรรค์ - ปจั จบุ ันกาลังศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรชี ้ันปที ี่ 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]

23ประวัติผดู้ าเนนิ การ (ตอ่ )ช่อื นาย ณฐั สทิ ธิ์ โชตยันดรภมู ิลาเนา 52 ถ.ร่มเกล้า อ.ตะพานหนิ จ.พจิ ติ ร 66110ประวัติการศกึ ษา - จบระดับมธั ยมศกึ ษาจากโรงเรียน มธั ยมสาธิตมหาวิทยาลยั นเรศวร - ปจั จบุ ันกาลงั ศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรชี ้นั ปีท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]ชอ่ื นางสาว ณิชาภทั ร พลเหิมภูมิลาเนา 6/13 หมู่ 1 ต.ปากแคว อ.เมือง จ.สุโขทัยประวัตกิ ารศกึ ษา - จบระดับมัธยมศกึ ษาจากโรงเรียนอดุ มดรุณี - ปจั จบุ นั กาลังศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรีชัน้ ปีท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]ชื่อ นาย ทรงกลด เพยี แกว้ภูมิลาเนา 57 ม.8 ต.หนองไขว่ อ.หล่มสกั จ.เพชรบรู ณ์ 67110ประวตั กิ ารศึกษา - จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรียนหล่มสกั วทิ ยาคม - ปจั จบุ ันกาลังศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี น้ั ปที ี่ 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]ชื่อ นางสาว ทวนิ ันท์ หงษ์ย่สี บิ เอ็ดภมู ลิ าเนา 189/63 หมู่.3 ต.ท่าเสา อ.เมือง จ.อตุ รดติ ถ์ประวตั ิการศกึ ษา - จบระดบั มธั ยมศกึ ษาจากโรงเรียนอตุ รดติ ถ์ดรณุ ี - ปจั จบุ ันกาลังศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรีช้นั ปีท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]

24ประวตั ิผ้ดู าเนนิ การ (ตอ่ )ชื่อ นาย ทวีภัทร ใจยะสิทธิ์ภมู ิลาเนา 386 หมู่.1 ต.พระธาตุผาแดง อ.แมส่ อด จ.ตาก 63110ประวัตกิ ารศึกษา - จบระดบั มัธยมศึกษาจากโรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณโุ ลก - ปัจจุบนั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรีช้ันปที ่ี 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]ชือ่ นางสาว ทวรี ตั น์ วงศส์ ุทธ์ิภมู ลิ าเนา 888/95 หมู่ 11 ต.หัวรอ อ.เมือง จ.พษิ ณโุ ลก 65000ประวัติการศึกษา - จบระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลยั พษิ ณุโลก - ปจั จบุ ันกาลังศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรีชั้นปที ี่ 1 คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]