แนวทางการพฒั นาความสามารถในการอ่านวิเคราะหโ์ ดยใช้เทคนิควงจรคาถามของฮลั เบิร์ต The Development of Analytical Reading by Using Holbert’ s Circle Question Technique นพรัตน์ รตั นวชิ ยั 1 บทคัดยอ่ บทความน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอแนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิควงจรคาถามของฮัลเบิร์ต ซึ่งเป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะการอ่านวิเคราะห์ของ นกั เรยี นใหด้ ยี ิง่ ขึน้ อกี ทงั้ ยังชีใ้ ห้เหน็ ความสาคัญของการจัดการเรยี นรู้ก่อนเขา้ ช้ันเรยี น โดยให้นกั เรยี น ศกึ ษาเนอ้ื หาและตอบคาถามลว่ งหน้าก่อนเข้าช้ันเรียน รวมถึงการจดั กิจกรรมในชั้นเรียนหลงั การอ่าน ทาให้มีเวลาเพียงพอต่อการจัดกิจกรรมในช้ันเรียนได้อย่างหลากหลาย ดังนั้น แนวทางการพัฒนา ความสามารถการอ่านวิเคราะห์โดยใช้เทคนิควงจรคาถามขอ งฮัลเบิร์ตจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วย เสริมสร้างความเปน็ ครมู อื อาชีพในยุค 4.0 และทาให้การสอนภาษาไทยมนี ่าสนใจยิ่งข้ึน คาสาคัญ: การอา่ นวเิ คราะห์, เทคนิควงจรคาถามของฮลั เบิร์ต บทนา การอ่านเป็นทักษะพ้ืนฐานที่เป็นส่ือกลางในการรับรู้ข่าวสารระหว่างผู้คนท่ัวโลก ท้ังยังเป็น เคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และการแก้ปัญหา ที่เป็นประโยชน์ต่อ การดาเนินชีวิตของมนุษย์ ดังน้ัน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ึนพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกาหนดให้ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์ เป็นเกณฑ์หนึ่งในการตัดสินเลื่อนชั้นและ จบการศึกษาแต่ละระดับการศึกษา นักเรียนต้องมีความสามารถในการอ่านสามารถคิดวิเคราะห์ นาไปส่กู ารแสดงความคิดเหน็ การสังเคราะห์ สรา้ งสรรค์ การแก้ปญั หา แล้วถ่ายทอดความคดิ น้ันด้วย การเขียนท่ีมีสานวนภาษาถูกต้อง (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ, 2555 : 1) การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาการกระบวนการอ่านวิเคราะห์ของนักเรียนจึงมีความสาคัญ เป็นอยา่ งยิง่ ทจ่ี ะช่วยพัฒนาทักษะความสามารถด้านการอ่านวเิ คราะห์ให้มีประสิทธิภาพ การนาเสนอ แนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านวิเคราะห์โดยใช้เทคนิควงจรคาถามของฮัลเบิร์ต จึงเป็น แนวทางหน่ึงทีจ่ ะช่วยแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาการอ่านวเิ คราะห์ของนักเรียนใหด้ ีย่ิงข้ึนได้ 1 ครูกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนทวีธาภิเศก สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
การอ่านวิเคราะห์: ความหมายและความสาคัญ การอ่านวิเคราะห์ (analytical reading) เป็นการอ่านที่ต้องใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ มาสร้างความเข้าใจบทอ่านให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของผู้เขียน โดยกระตุ้นให้ผู้อ่าน แยกแยะ รายละเอียดของบทอ่านออกเป็นส่วน ๆ เช่ือมโยงความสมั พันธ์ระหว่างสว่ นตา่ ง ๆ ของข้อความอย่าง มีเหตุผลทาใหเ้ ข้าใจลักษณะสาคัญของรายละเอยี ดในเนื้อเรือ่ งนน้ั เช่น ขอ้ เทจ็ จรงิ ข้อคดิ เห็น ข้อสนับ สนับสนุน ข้อสรุป ข้อคิด ทรรศนะ การลาดับเหตุการณ์สาคัญของเร่ือง การเปรียบเทียบ ความเหมือนกับความต่างของบทอ่าน (PARCC, 2012 : 7; the University of Sydney, 2014; Leslie, n.d.; จิรวัฒน์ เพชรรัตน์ และ อัมพร ทองใบ, 2556 : 205 ; คณะกรรมการวิชาภาษาไทย เพือ่ การส่ือสาร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2555 : 138) ในปัจจุบันการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารมีเพิ่มมากข้ึนหลายช่องทาง เช่น ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือสังคม ออนไลน์ ส่ือโทรศัพท์ ฯลฯ หากผู้อ่านขาดการคิดวิเคราะห์ พิจารณา ในเนื้อสารจากการอ่าน อย่างละเอียด อาจทาให้ไม่เข้าใจในการส่อื สารและไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของการส่งสารระหวา่ งผู้อา่ น และผู้รับตามไปด้วย ดังนั้น การอ่านวิเคราะห์จึงมีส่วนสาคัญท่ีทาให้ผู้อ่านได้พินิจพิเคราะห์ การนาเสนอข้อเท็จจริง ขอ้ คดิ เหน็ ทรรศนะ ข้อดีขอ้ เสีย ท่ปี รากฏในสว่ นต่าง ๆ ของบทอา่ น สามารถ เชอื่ มโยงความสมั พันธไ์ ด้อย่างมีเหตุผล สอดคล้องกับ Bosnak (2011: 196-200), Long (2012 : 10- 11), จริ วัฒน์ เพชรรตั น์ และอัมพร ทองใบ (2556 : 206) และดวงใจ ไทยอบุ ญุ (2554 : 47) กลา่ วถึง ความสาคัญของการอ่านวิเคราะห์สรุปได้ว่า เป็นการแยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของบทอ่านท่ีมี ความเช่ือมโยงสัมพันธ์กันกับองค์ประกอบเหล่าน้ัน ทาให้เข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูล ประเด็นปัญหา ประเด็นสาคญั ข้อสรปุ ทฤษฎี มมุ มอง และการประยุกตใ์ ช้ทาใหน้ ักเรียนเข้าใจสิ่งท่ีอา่ นได้อย่างลึกซึ้ง ซง่ึ จะตอ้ งใช้ความรู้ สติปัญญา ถ่ายทอดเป็นความคดิ หรือแสดงความคดิ เหน็ ได้ การอ่านวิเคราะห์มีข้ันตอนที่สามารถให้นักเรียนอ่าน คิดวิเคราะห์ แยกแยะ ประเด็น รายละเอียดของเน้ือหาได้อย่างละเอียดมากย่ิงข้ึน ดังท่ี กุสุมา รักษมณีและคณะ (2533: 133) สมบัติ จาปาเงิน และสาเนียง มณีกาญจน์ (2548: 101-102) ทิพย์สุเนตร อนัมบุตร (2542: 8) Miller (1990: 5) Teacherthought (2015 อ้างถึงในพชั ราวลยั อินทรส์ ุข, 2560: 37) สรปุ ไวด้ งั น้ี 1. จาแนกรปู แบบของเรือ่ งทีอ่ ่าน เชน่ เรื่องสน้ั บทความ นวนยิ าย สารคดี ข่าว รายงาน จดหมายเหตุ บนั ทึก บทกวี วรรณกรรม ฯลฯ 2. ระบสุ าระสาคญั ของบทอา่ น โดยพิจารณาจากโครงเร่อื งและเชอ่ื มโยง ความสมั พนั ธ์เกี่ยวกับการลาดบั เหตุการณ์ในเรื่อง 3. วเิ คราะหร์ ายละเอียดสาคัญของบทอ่าน เช่น จดุ ประสงค์ ข้อเทจ็ จรงิ
ข้อคดิ เหน็ ทรรศนะของผู้เขยี น ขอ้ สนับสนนุ ขอ้ สรปุ คณุ ค่า ขอ้ วนิ จิ ฉัยและข้อคิด 4. วิเคราะหร์ ายละเอียดของคา วลีหรือน้าเสยี ง รวมถงึ การคาดคะเนเหตุการณ์ การเปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกตา่ งทีส่ ัมพันธก์ บั เน้ือเรื่อง ข้ันตอนการสอนอา่ นวเิ คราะหเ์ ป็นขน้ั ตอนสาคัญท่นี ักเรียนจะต้องทาความเข้าใจก่อนเร่ิมอ่าน เนอ้ื หาและวิเคราะห์รายละเอียดของเน้ือหาเป็นลาดับต่อไป ซง่ึ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2555 : 4) ได้เสนอข้ันตอนการสอนอ่านวิเคราะห์ท่ีต่างจากขน้ั ตอนข้างต้น เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการ จดั การเรียนการสอนอ่านวเิ คราะห์ให้เกดิ ประโยชน์แก่นกั เรียน ไวด้ งั นี้ 1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คือ นักเรียนตอ้ งร้จู กั สังเกต ค้นคว้าหาความรจู้ าก การสนทนา ซักถาม อา่ นเนอื้ เรือ่ ง หรือศึกษาบรบิ ทของเนอ้ื หานนั้ ๆ เป็นเบอ้ื งต้น 2. การวิเคราะห์ คอื นกั เรยี นตอ้ งแยกแยะองค์ประกอบสาคัญของเรื่องที่อ่าน เชน่ จุดประสงค์ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ทรรศนะของผู้เขียน ข้อสนับสนุน ข้อสรุป คุณค่า ข้อวินิจฉัยและ ขอ้ คดิ ท่ีได้ 3. สรุปเรื่อง คือ นักเรียนต้องประเมินความน่าจะเป็น ความน่าเช่ือถือ สืบค้น ข้อมูลเพมิ่ เตมิ หาเหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ 4. การประยุกต์และนาไปใช้ คอื นาผลจากการอ่าน เชน่ ขอ้ คดิ ความรู้ ประโยชน์ ทีไ่ ดร้ บั ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม สรุปว่า การอ่านวิเคราะห์มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อนักเรียน เพราะนอกจากจะได้รับความรู้ จากการอ่านแล้ว ยังช่วยให้นักเรียนอ่านหนังสือได้ละเอียด รอบคอบ และครบถ้วนมากย่ิงขึ้น โดยสามารถแยกแยะรายละเอียดต่าง ๆ ของเน้ือเรื่อง แก้ปัญหา ประเมินค่า ตัดสินใจและแสดง ความคดิ เหน็ ได้อย่างเหมาะสม การอ่านในระดับน้ีจึงต้องรู้จักตั้งคาถามและจัดระเบยี บเร่ืองราวท่ีอ่าน เพื่อให้เข้าใจเน้ือเรื่องและความคิดของผู้เขียนได้ลึกซ้ึงย่ิงข้ึน การฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์จึงมี ความสาคัญอย่างย่ิงเพื่อนาไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้ ความคิด การตัดสินใจแก้ปัญหา ทั้งยังเป็นระดับ การอา่ นที่สามารถตอ่ ยอดไปสกู่ ารอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณในขั้นสงู ต่อข้นึ ไปได้ ปัญหาการจัดการเรยี นการสอนอ่านวิเคราะห์ ความสามารถในการอ่านวิเคราะห์ มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาระดับสติปัญญาและ ทักษะการแสวงหาความรู้ของนักเรียน เน่ืองจากเป็นการอ่านระดับสูงท่ีมีความซับซ้อนและต้องอ่าน อย่างละเอียด (Adler Mortimer J. and Doren Charles Van, 2014: 19) ดังน้ัน สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2550: 10-11) จึงได้กาหนดนโยบายในการพัฒนาการอ่านว่า
จะต้องให้นักเรียนอ่านเนื้อเร่ือง แล้ววิเคราะห์เรื่องที่อ่าน ซ่ึงจะทาให้นักเรียนได้รับประโยชน์จากการ อ่านอย่างแท้จริง การจัดการเรียนรู้สาระการอ่านจึงจาเป็นต้องให้นักเรียนใช้การวิเคราะห์ ซึ่ง กระทรวงศึกษาธกิ ารไดเ้ นน้ ทกั ษะสองประการนี้ โดยบรรจุไวใ้ นสาระการอ่านของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย และกาหนดเกณฑ์การผ่านช่วงชั้นและจบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานว่า นักเรียนทุกคน ต้ อ ง ผ่ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร อ่ า น แ ล ะ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ใ ห้ ไ ด้ ต า ม เ ก ณ ฑ์ ท่ี ส ถ า น ศึ ก ษ า ก า ห น ด (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551: 30) อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีการกาหนดสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ท่ีเก่ียวกับการอ่าน วิเคราะห์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แต่จากผลการประเมิน PISA 2015 ของนักเรียนไทยท่ีมี อายุ 15 ปี คะแนนเฉลย่ี ด้านการรับรูเ้ รื่องการอ่าน ท่ีมีความร้แู ละทักษะการอ่านในระดับตน้ กลา่ วคือ สามารถอ่านและจับใจความจากเร่ืองที่อ่านได้ เมื่อข้อความค่อนข้างง่ายและมีความหมายตรง แต่ไม่ สามารถอ้างอิงหรือเปรียบเทียบได้ ซ่งึ มคี ่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลย่ี นานาชาติ (OECD) โดยประเทศไทย อยู่ในลาดับที่ 55 จาก 72 ประเทศ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2559 : 9) และจากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561 พบว่า วิชาภาษาไทย สาระการอ่าน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 58.55 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยนร้อยละ 57.48 ซ่ึงเป็นค่าเฉล่ียที่ยังต่ากว่ามาตรฐาน การเรียนรขู้ องบางสาระ (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2562) จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นวา่ การจดั การเรียนรใู้ ห้นักเรียนมีทักษะการอ่านวเิ คราะหไ์ ด้ นั้นเป็นเร่ืองยาก ซ่ึงจะต้องหาวิธีแก้ไขปัญหาและพัฒนาการอ่านวิเคราะห์อย่างเร่งด่วน โดยปัญหาท่ี เกดิ ขน้ึ น้นั อาจมเี หตุและปจั จยั หลายประการทีท่ าให้นกั เรยี นไม่สามารถอ่าน คดิ วเิ คราะหไ์ ด้ จากประสบการณ์ในการสอนวิชาภาษาไทย ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย โรงเรียนทวีธาภิเศก กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 2 ปี ได้ประสบกับปัญหาการจัดการเรียนการ สอนอ่านวิเคราะห์ ดังน้ี 1) นักเรียนอ่านเน้ือหาไม่ละเอียด กล่าวคือ เม่ือให้นักเรียนอ่านเนื้อหาแล้ว นักเรียนจะอ่านเพียงรอบเดียว เช่น ให้นักเรียนอ่านบทความสารคดีนักเรียนจะอ่านไปเร่ือย ๆ โดย ไม่มีการทาเครื่องหมายเน้นประเด็นสาคัญของบทอ่าน จึงทาให้ไม่สามารถวิเคราะห์ความสาคัญหรือ สรปุ สาระสาคญั ของเรอ่ื งท่อี า่ นได้
2) นักเรียนขาดความเข้าใจในกลวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา เช่น เม่ือนักเรียนอ่าน เนื้อหาที่ครูกาหนดให้แล้วไม่สามารถแยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ข้อสนับสนุน ข้อสรุป รวมถึง ไม่สามารถวนิ ิจฉยั บอกคณุ คา่ และข้อคิดของเรื่องที่อ่านได้ 3) นักเรียนไม่สามารถตีความจากบทอ่านได้ ซ่ึงมีสาเหตุมาจากนักเรียนไม่เข้าใจ ความหมายโดยตรง ความหมายโดยนัย การใช้ถ้อยคาท่ีเป็นสานวนโวหาร ภาพพจน์ การใช้น้าเสียง จุดประสงค์ของผู้เขยี น รวมถงึ การอนุมานหรือคาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรื่องที่อ่าน เช่น เม่ือใหน้ กั เรียน อ่านบทเสภาขุนช้างขุนแผน ท่ีว่า “กาลวงว่าหงส์ให้ปลงใจ ด้วยมิได้ดูหงอนแต่ก่อนมา” คาว่า “กา” กับ คาว่า “หงส์” นักเรียนไม่สามารถตีความหรือเข้าใจความหมายที่แท้จริงของคาน้ันว่าเป็น คาเปรียบเทียบถงึ ใครบ้าง 4) ข้อจากัดเร่ืองระยะเวลา เน่ืองจากการอ่านวิเคราะห์ต้องใช้เวลาในการพินิจ พิเคราะห์บทอ่านอย่างละเอียดซ่ึงมีข้ันตอนรายละเอียดสาคัญที่นักเรียนจะต้องวิเคราะห์ แยกแยะ เช่น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ข้อสนับสนุน ข้อสรุป ข้อวินิจฉัย คุณค่า และข้อคิดของเรื่อง ซึ่งถ้าหากไม่ บรหิ ารจดั การเวลาในการจดั กจิ กรรมอาจจะทาให้มเี วลาไม่เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมได้ 5) สภาพห้องเรียน เปน็ ปจั จยั หนึง่ ทที่ าให้การจัดกิจกรรมการสอนอา่ นวิเคราะห์ ไม่ประสบผลสาเร็จ เน่ืองจากการจัดโต๊ะ เก้าอ้ี ควรให้เหมาะสมกับนักเรียนได้แสดงความคิดเชิง สร้างสรรค์กับเร่ืองที่อ่านได้ เช่น การสอนอ่านวิเคราะห์ที่ต้องให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายกลุ่มต้องจัด โต๊ะเป็นกลุ่มหรอื วงกลมเวียนกันไปได้ จากปญั หาการจดั การเรยี นการสอนที่มีผลต่อการสอนอา่ นวเิ คราะหน์ ั้นสอดคล้องกบั จิรวัฒน์ เพชรรตั น์ และ อัมพร ทองใบ (2555), ศิวกานท์ ปทุมสตู ิ (2554 : 17-21), ฮง ชุนแมน (2556 :125- 130), Nakanishi (2014 : 149-153) ซ่ึงสรุปว่า สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน อ่านวิเคราะห์มีผลมาจากปัจจยั หลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านการจัดการเรยี นการสอน ด้านระยะเวลา ด้าน เพศและวัยของนักเรียน ด้านทักษะการสอนของครู ด้านทัศนคติของนักเรียน ด้านความพร้อมของ นกั เรยี น ครู ด้านสภาพแวดล้อมของห้องเรยี น ปัจจัยเหล่านลี้ ว้ นเป็นตวั แปรท่ีมผี ลต่อการจดั การเรียน การสอนเพื่อพัฒนาความสามารถการอา่ นวิเคราะห์ของนักเรยี นท้ังสิ้น รูปแบบเทคนคิ วงจรคาถามของฮลั เบิรต์ การพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ได้นาเสนอแนวทางการใช้เทคนิควงจร คาถามของฮัลเบิร์ตมาใชพ้ ัฒนาความสามารถการอ่านวเิ คราะห์ของนักเรียน โดยได้ออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกับบริบทของการศึกษาไทย ซ่ึงรูปแบบของการจัดกิจกรรมโดยใช้วงจรคาถาม เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้อ่านล่วงหน้า (Pre-reading) และต้ังคาถามก่อนเข้าช้ันเรียน ช่วยส่งเสริมให้นกั เรยี นมีการเตรยี มความพร้อมก่อนที่จะเรมิ่ เรยี นในชั้นเรยี น และช่วยใหน้ ักเรียนถาม คาถามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูได้พัฒนารูปแบบการสอนอ่านเชิงวิเคราะห์โดยใช้เทคนิควงจร คาถามของฮัลเบิร์ต ดงั น้ี เทคนคิ วงจรคาถาม (The Circle Question Format) เป็นเทคนคิ ที่พัฒนาขึ้นโดย Romena M. G. Holbert แห่ง Wright State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเทคนคิ นชี้ ว่ ยให้นักเรียนได้ ตอบคาถามการอ่านเนื้อหาท่ีได้รับมอบหมายก่อนเข้าช้ันเรียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ในการอ่านเนื้อหาก่อนเข้าชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการตอบคาถามก่อนเข้าช้ันเรียนได้ กาหนดให้นักเรียนแบ่งกลุ่มการอ่านเพ่ือศึกษาเน้ือหาทแ่ี ตกต่างกันในแตล่ ะกลุ่ม เช่น บทความ บทกวี ข่าว สารคดี เร่ืองส้ัน ฯลฯ มาล่วงหน้า เมื่อนักเรียนอ่านเนื้อหาจบครูผู้สอนนาคาถามทั้ง 3 ระดับ ถามนักเรียนโดยเว้นความห่างของระยะเวลาในการตอบคาถาม จนครบทั้ง 3 ชุดคาถาม ในการใช้ เทคนิควงจรคาถามครจู ะต้องเป็นผู้คิดคาถามท้ัง 3 ชุด และครบตามจานวนของเนื้อหาของแตล่ ะกลุ่ม ซึ่งวิธีนี้ยังช่วยแก้ปัญหาที่ไม่ชอบอ่านหนังสือมาล่วงหน้าได้ การนาเทคนิควงจรคาถามมาใช้ในการ อา่ นลว่ งหน้า ดังท่ี Holbert (2019: 1) กล่าวไว้ มีองค์ประกอบ 2 ประการ คอื องค์ประกอบที่ 1 การมอบหมายใหน้ ักเรียนอา่ นเน้ือหาและตอบคาถามจากการอ่าน เนอื้ หาลว่ งหนา้ โดยอาจสร้างเป็นกระดานสนทนาระหวา่ งครูและนักเรียน องคป์ ระกอบที่ 2 การจัดรปู แบบชดุ ข้อมลู คาถามสาหรับให้นักเรียนได้ตอบคาถามใน ระหวา่ งทมี่ อบหมายให้อา่ นกอ่ นเขา้ ช้ันเรยี น เทคนิควงจรคาถามของฮัลเบิร์ต ประกอบด้วยส่วนที่นาเสนอข้อมูลหรือสาระสาคัญจากเร่ือง ที่อา่ นและชุดคาถาม 3 ลักษณะ ดังน้ี 1. คาถามนาอย่างง่าย (Starter Question) คือ คาถามท่ีเชื่อมโยงกับเรื่องที่อ่าน ควรเป็นคาถามท่ีง่าย ๆ เก่ียวกับคาถามนา ความรู้ ความจา ความหมาย หรือคาตอบ 1-2 คา ซึ่ง คาถามนาอย่างง่าย จะใช้ถามนักเรียนเมื่อนักเรียนอ่านเนื้อหาล่วงหน้าแล้ว 1 วัน ครูจะนาคาถามนา อยา่ งงา่ ยใหน้ ักเรยี นตอบคาถาม ตวั อยา่ งคาถาม เช่น - พระมหาชนกกล่าวถงึ การบาเพญ็ บารมดี ้านใดของพระพุทธเจา้ - ใครคือผ้ใู ห้พระเจ้าอชาตศตั รเู ฆยี่ นก่อนจะหนีเขา้ เมืองลจิ ฉวี - บทความสารคดเี รื่อง แมวน้า เพราะเหตุใดแมวน้าจงึ ชอบมารวมตวั กัน ตามชายหาด
- บทกวขี อบฟ้าขลิบทองของอุชเชนี คาวา่ มง่ิ มติ ร หมายถึงใคร - บทความเรือ่ งปัญหาอบายมุข ปัญหาใดรนุ แรงมากทสี่ ุด - บทกวเี ปิบข้าว ของจติ ร ภมู ิศักดิ์ คาว่า “ระยะทางนน้ั เหยียดยาว” มคี วามหมายว่าอะไร - ขวญั สงฆ์ เปน็ เรอื่ งเกย่ี วกบั อะไร - สภาพวิถีชวี ติ ของผู้คนในเรื่อง ลูกอีสาน เปน็ เช่นไร 2. คาถามขยายความคิด (Elaboration Question) คือ คาถามจากประสบการณ์ ของผู้อ่านที่สะท้อนความคิดเห็น เป็นคาถามเชิงเปรียบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือประเมินค่า ทใ่ี หผ้ ู้อ่านไดใ้ ชค้ วามรู้ ความคดิ ประสบการณ์ ขอ้ เทจ็ จริง ข้อคดิ เห็น รวมทั้งเหตผุ ล มาใชต้ อบคาถาม ซึ่งคาถามขยายความคิด ใช้หลังจากนักเรียนได้ตอบคาถามนาอย่างง่าย (Starter Question) ผ่านไป แลว้ 1 วัน ตวั อยา่ งคาถามเชน่ - พระมหาชนกว่ายน้าขา้ มพระมหาสมทุ รทงั้ ที่มองไมเ่ หน็ ฝ่งั เป็นเพราะพระองค์ยดึ คุณธรรมข้อใด จงอธิบาย - นางวนั ทองมีคุณธรรมท่ีโดดเด่นในตวั เองดา้ นใด จงอธบิ าย - บทกวี ปน้ั มากบั มอื ผเู้ ขยี นมจี ุดประสงค์ทต่ี อ้ งการสื่อถึงเรื่องใด - บทความสารคดเี รอื่ ง “โลกในอดุ มคติ” ถา้ สัตว์ต่าง ๆ ในโลกน้ีพดู ภาษา มนุษยไ์ ด้ อะไรจะเกิดขนึ้ - เรื่องขวัญสงฆ์ คุณธรรมที่โดดเด่นของ “ขวัญสงฆ”์ มดี า้ นใดบ้าง - เร่อื งความสขุ ของกะทิ กะทิมีลกั ษณะนสิ ัยอย่างไร - การปกครองในเมอื งลิจฉวีใช้หลักอปริหานยิ ธรรมทเี่ หมอื นหรอื แตกต่าง จากการปกครองแบบประชาธิปไตยอย่างไร - เหตทุ ่ีทาให้นางวนั ทองไม่สามารถเลอื กอยู่กบั ใครได้ เพราะอะไร - พฤติกรรมของวสั สการพราหมณท์ ีว่ างแผนทาลายความสามัคคขี อง เมอื งลิจฉวี ตรงกบั สานวนใด 3. คาถามนาเสนอวิธีคิด (Prompt to Further Action) คือ คาถามท่ีส่งเสริมให้ ผู้อ่านได้นาเสนอข้อคิดเห็น ประโยชน์ ข้อคิด การหาเหตุผล การแก้ปัญหาและการนาไปใช้ เมื่อนักเรียนตอบคาถามขยายความคิด (Elaboration Question) ผ่านไปแล้ว 1 วัน ครูจึงนาคาถาม นาเสนอวิธีคิด (Prompt to Further Action) ให้นักเรียนตอบคาถามเป็นชุดสุดท้ายก่อนเข้าสู่ การจดั กิจกรรมในชน้ั เรยี น ตวั อยา่ งคาถาม เชน่
- นกั เรยี นสามารถนาข้อคดิ ท่ีไดจ้ ากเร่ืองพระมหาชนกไปใชใ้ น ชีวติ ประจาวนั ได้อย่างไร จงอธิบาย - นกั เรียนจะมีวิธีคดิ อยา่ งไร เพื่อไม่ใหต้ ้นมะมว่ งในเรื่องพระมหาชนก ตอ้ งถกู โค่น จงอธิบาย - นักเรียนคดิ วา่ มีวิธีใดบา้ งท่ีจะทาให้นางวันทองไมถ่ กู ประหารชวี ติ - บทกวีเปิบข้าว ของจติ ร ภูมศิ ักด์ิ สะทอ้ นถงึ คุณค่าของข้าวและชาวนา ไทยอย่างไร จงอธบิ าย - บทความ “รกั ในวัยเรียน” นักเรียนมีความคดิ เหน็ อย่างไรเกี่ยวกับรัก ในวยั เรียนดีกว่าเรยี นแลว้ ไรร้ ัก จงอธิบาย - พฤติกรรมตัวละครใดในเร่ือง ขวัญสงฆ์ ที่ควรยกย่องและควรปรับปรุง แก้ไขมากท่ีสุด เพราะเหตใุ ด ตัวอย่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนคิ วงจรคาถามของฮลั เบริ ต์ การจดั กิจกรรมการอา่ นกอ่ นเข้าช้นั เรียน กิจกรรมการอ่านก่อนเข้าช้ันเรียน เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้เตรียมความพร้อม การอ่านเนื้อหาล่วงหน้าก่อนเข้าชั้นเรียนซึ่งต้องมีเน้ือเร่อื งท่ีให้นักเรียนได้ศึกษามาก่อน โดยครูอาจใช้ กิจกรรมนาให้นักเรียนได้มีข้อมูลบางส่วนเพ่ือช่วยสร้างความเข้าใจในบริบทของเน้ือหา ก่อนเร่ิมต้น การอภิปรายและอ่านเชิงวเิ คราะห์ในเน้ือหาสาระที่กาหนดให้ การอ่านล่วงหน้าก่อนเข้าชัน้ เรียนเปน็ กระบวนการที่ให้นักเรียนได้เตรียมความพร้อมก่อนที่จะเร่ิมเรียนในชั้นเรียน ซึ่งจะทาให้นักเรียน มีความแม่นยาในเนื้อหาและเตรียมพร้อมสาหรับการรับรู้เน้ือหาส าระในชั้นเรียนได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ การสร้างห้องเรียนออนไลนจ์ งึ เปน็ แนวทางหนง่ึ ทีต่ อบสนองการอ่านลว่ งหนา้ ก่อนเขา้ ช้นั เรียน ของนักเรียน เปน็ การเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นได้เตรียมพร้อมก่อนเข้าชนั้ เรียนผ่านการเรยี นล่วงหน้าแบบ ออนไลน์ จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันมีแอปพลิเคชันท่ีตอบสนองต่อการสร้างห้องเรียนออนไลน์อยู่หลาย รู ป แ บ บ เ ช่ น Web Board, Class Start, Blogger, Line, Wix, Facebook, Google Classroom ส่ิงท่ีครูเห็นว่าเป็นประโยชน์และสามารถนามาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้เพื่อตอบสนองการ อ่านล่วงหน้าก่อนเข้าช้ันเรียนได้นั้นคือแอปพลิเคชัน Google Classroom ซึ่งข้อดีของ Google classroom เป็นการบริการสาหรับทุกคนท่ีใช้ Google Apps for Education ซ่ึงเป็นชุดเคร่ืองมือ
เพ่ือประสิทธิภาพการทางานท่ีให้บริการฟรี ประกอบด้วย Gmail, เอกสาร และไดร์ฟ โดยได้รับ การออกแบบมาเพื่อชว่ ยให้ครสู ามารถสร้างและเก็บงานไดโ้ ดยไม่ตอ้ งสิ้นเปลืองกระดาษ มคี ณุ ลักษณะ ที่ช่วยประหยัดเวลา เช่น สามารถทาสาเนาของ Google เอกสารสาหรับนักเรียนแต่ละคนได้โดย อัตโนมัติ โดยระบบจะสร้างโฟลเดอร์ของไดร์ฟสาหรับแต่ละงานและนักเรียนแต่ละคนเพ่ือช่วย จัดระเบียบ ให้ทุกคนสามารถติดตามว่ามีอะไรครบกาหนดบ้างในหน้างาน และเร่ิมทางานได้ด้วย การคลิกเพียงคร้ังเดียว ครูสามารถดูได้อย่างรวดเร็วว่าใครทางานเสร็จหรือไม่เสร็จบ้าง ตลอดจน สามารถแสดงความคดิ เห็นและให้คะแนนได้ มีตัวอย่างข้นั ตอนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดังน้ี 1. นักเรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมการอา่ นล่วงหน้าโดยใช้ห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom 2. นกั เรียนอา่ นเน้อื เร่อื งท่คี รูกาหนดให้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom 3. เมื่อระยะเวลาผ่านไป 1 วัน ครูตั้งคาถามนาอย่างง่าย (Starter Question) คาถามขยาย ความคิด (Elaboration Question) และ คาถามนาเสนอวิธีคิด (Prompt to Further Action) ตามลาดบั โดยเวน้ ระยะหา่ งชุดคาถามละ 1 วนั 4. นักเรียนศึกษาคาตอบของเพื่อนในห้องเรียนออนไลน์ เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลก่อน เข้าชัน้ เรยี น การจดั กิจกรรมการอา่ นในชนั้ เรียน หลังจากท่ีนักเรียนได้อ่านเนื้อหาล่วงหน้ามาแล้ว กิจกรรมการอ่านในชั้นเรียนจึงเป็นการจัด กจิ กรรมท่ีให้นักเรียนได้มารว่ มกนั อภิปราย คน้ หาวิธีแก้ปัญหา รวมทั้งข้อเสนอแนะจากเน้ือหาสาระที่ นักเรียนได้ร่วมกันอ่านและตอบคาถามก่อนเข้าเรียน เมื่อนักเรียนได้มาร่วมกันอ่านเนื้อหาในชั้นเรียน และนาเสนอประเด็นจากการอ่านอาจมีข้อคิดเห็นในประเด็นน้ัน ๆ แตกต่างกันไป การจัดการเรียนรู้ ในช้ันเรียนจึงเป็นการตอบสนองให้นักเรียนได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็น ถกประเด็นปัญหา พร้อมท้ัง หาขอ้ สรุปของเนื้อหาสาระนั้น ซ่งึ จะทาใหน้ ักเรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ พฒั นาความสามารถการอ่าน วิเคราะห์ คุณค่าของเน้ือหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการจัดกิจกรรมการอ่านในช้ันเรียนมีตัวอย่าง การจดั กิจกรรมดงั น้ี 1. การจัดกิจกรรมโต้วาทีในช้ันเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้ร่วมกันอภิปรายข้อคิดเห็น แสดง ทรรศนะ โตแ้ ยง้ เก่ียวกับเน้อื หาสาระท่ีนกั เรียนไดอ้ า่ นมาลว่ งหน้า 2. แผนท่ีความคิด (Mind Mapping) เป็นการจัดระบบความคิดของนักเรียน โดยการ วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของเนื้อหา แล้วสร้างสรรคอ์ อกมาเปน็ แผนทค่ี วามคิด
3. การแสดงละคร เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้นกั เรียนได้ใช้กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานโดย สมมตเิ หตกุ ารณ์จากเรื่องทน่ี ักเรียนอ่านออกมาเปน็ การแสดงละครหรือบทบาทสมมติในชั้นเรยี น 4. การเลน่ เกม เป็นกิจกรรมท่ใี ห้นกั เรียนไดฝ้ ึกทักษะความคดิ สร้างแรงจูงใจใหน้ กั เรียนสนใจ อยากอ่านมากขึ้น เช่น เกมปริศนาอักษรไขว้ เกมปริศนาผะหมี เกมทายปัญหา เกมต่อภาพ เกมบัตรคา เกมเตมิ คา เกมใบค้ า เกมถอดรหัสภาพ เกมบิงโก ฯลฯ 5. สมุดเล่มเล็ก เป็นกิจกรรมท่ีนักเรียนได้สร้างสรรค์ผลงานจากเน้ือหาท่ีนักเรียนศึกษามา อาจจะแตง่ เป็นนิทาน เรอื่ งสน้ั บทละคร บทกวี โดยอาศยั เค้าโครงเดิมจากท่นี กั เรยี นไดศ้ ึกษาเน้ือเร่ือง นั้น ๆ มาแล้ว ข้อดแี ละขอ้ จากัดของเทคนิควงจรคาถามของฮลั เบิร์ต การจัดกิจกรรมการอ่านวิเคราะห์โดยใช้เทคนิควงจรคาถามของฮัลเบิร์ต เป็นการนารูปแบบ คาถาม 3 รูปแบบมาใช้ตอบถามก่อนเข้าช้ันเรยี น (Pre-reading) ซึ่งเป็นแนวทางในการจัดการเรยี นรู้ ท่มี ขี ้อดีและข้อจากดั ดงั นี้ ขอ้ ดี 1) นักเรียนไดต้ อบคาถามตามลาดับความยากง่ายของชดุ คาถาม 2) นกั เรยี นกระตือรอื ร้นในการอา่ นเนื้อหาและตอบคาถามในระยะเวลาที่กาหนด 3) ครแู ละนักเรยี นสามารถออกแบบกิจกรรมการอ่านในชั้นเรียนได้อย่างหลากหลาย 4) เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนได้เตรียมตัวอ่านเน้ือหาล่วงหน้า ซ่ึงจะทาให้มี เวลาในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการอ่านวิเคราะห์รูปแบบอ่ืน ๆ ในช้ันเรียนได้อย่าง หลากหลาย 5) นักเรียนได้ใช้เทคโนโลยีท่ีน่าสนใจ ในการตอบคาถามผ่านกระดานสนทนา จะช่วยให้ ตรวจสอบความคืบหน้าในการทางานของนักเรยี นได้ง่ายขน้ึ และครสู ามารถให้คาแนะนา ผา่ นกระดานสนทนาได้ทนั ที ข้อจากัด 1) ใช้เวลาในการจัดกจิ กรรมกอ่ นเข้าช้นั เรยี นมาก 2) การจัดกจิ กรรมในรปู แบบน้ีเหมาะสาหรบั ห้องเรียนทม่ี นี ักเรียนจานวนไม่มากจนเกินไป 3) มขี ้อจากัดในเรือ่ งสญั ญาณอนิ เตอรเ์ นต็ ทใ่ี ห้นกั เรยี นใชง้ านส่อื เทคโนโลยีต่าง ๆ
4) เน้ือหาที่ให้นักเรียนอ่านควรเป็นเนื้อเร่ืองส้ัน ๆ เพราะมีระยะเวลาจากัดในการตอบ คาถาม การนาเทคนคิ วงจรคาถามของฮัลเบิรต์ ไปใช้เปน็ แนวทางในการอ่านวเิ คราะห์ของนักเรียน มี ท้ังข้อดีและข้อจากัด ดังน้ัน การที่จะนาเทคนิคนี้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ครูจะต้องคานึงถึง ประโยชน์ทน่ี ักเรยี นจะพึงได้รบั อีกทงั้ ระบบสง่ เสรมิ การเรียนรู้ เชน่ สอื่ เทคโนโลยี ทีจ่ ะตอ้ งได้รับการ สนับสนุน เพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างหลากหลายและมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขนึ้ บทสรุป การนาเทคนิควงจรคาถามของฮัลเบิร์ตมาใช้ในการสอนอ่านวิเคราะหเ์ ป็นแนวทางหนึ่งท่ีช่วย เสริมสรา้ งทักษะการอา่ นวิเคราะห์ของนักเรียนให้พัฒนาข้นึ ท้ังยงั ชว่ ยแก้ปัญหานักเรยี นท่ีไมช่ อบอ่าน หนังสือก่อนเข้าช้ันเรียนได้ ดังนั้น การนาเสนอแนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิควงจรคาถามของฮัลเบิร์ต จึงเป็นเพียงตัวอย่างหรือแนวทางของการสอนอ่านวิเคราะห์ ให้กับนักเรียนโดยใช้ชุดคาถาม 3 ชุดในการตอบคาถามหลังการอ่าน และร่วมกันจัดกิจกรรมกรรม หลังการอ่านในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม แม้ว่าการสอนอ่านวิเคราะห์จะมีเทคนิค วิธีการสอน แนวคิด ทฤษฎีที่หลากหลายในการเลือกใช้แต่ “แต่ละวิธีไม่มีแบบใดเป็นแบบท่ีดีท่ีสุดแต่ละแบบย่อม เหมาะสมกับจุดประสงค์และเนื้อหา รวมทั้งเหตุการณ์สภาพแวดล้อมอย่างหน่ึง ผู้สอนย่อมเป็นผู้ ตัดสินใจได้ดีท่ีสุดว่า วิธีการใดจะเหมาะกับตน วิชาของตน และกับลูกศิษย์ของตน” (ไพฑูรย์ สินลา รัตน์, 2550 : 212-213) ดังน้ัน การเรียนรู้เทคนิควงจรคาถามของฮัลเบิร์ตนี้จึงเป็นทางเลือกหน่ึงที่ นา่ สนใจสาหรบั ครูภาษาไทยมอื อาชพี
รายการอ้างอิง ภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. _______. (2546). ปแี หง่ การสง่ เสรมิ การอ่านและการเรยี นรเู้ ฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในมงคลวโรกาส ทรงเจรญิ พระชนมายุ 48 พรรษา. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพรา้ ว. กุสุมา รักษมณีและคณะ. (2533). หนงั สือเรยี นภาษาไทย ทกั ษะสอื่ สาร 1. กรุงเทพมหานคร: อักษร เจริญทัศน์ เกรียงศักด์ิ เจริญวงศศ์ ักดิ์. (2546). การคดิ เชิงวิเคราะห.์ (พิมพค์ รัง้ท่ี 6). กรงุ เทพมหานคร: ซคั เซส มีเดยี คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพ่อื การสอื่ สาร ศูนยว์ ิชาบรู ณาการ. (2555). ภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ จิรวัฒน์ เพชรรัตน์ และอัมพร ทองใบ. (2555). ภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร. กรงุ เทพมหานคร: โอเดยี นสโตร.์ ________. (2556). การอ่านเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ติ . กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์. ดวงใจ ไทยอุบญุ . (2554). ทักษะการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ทิพยส์ ุเนตร อนัมบุตร (2542). การอ่านเพอ่ื การวิเคราะห์. (พิมพ์ครงั้ ท่ี 4). กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. พชั ราวลัย อนิ ทรส์ ุข. (2560). การพัฒนารปู แบบการเรียนการสอนอ่านภาษาองั กฤษโดยบรู ณาการ แนวคิดการอ่านแบบช้ีแนะกับกลวิธีความสัมพันธ์ของคาถามและคาตอบเพื่อเสริมสร้าง ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น.์ (2550). หนว่ ยการพัฒนาคณาจารย์ : แนวคดิ และวิธีการดาเนนิ การ อาจารย์ มอื อาชีพ แนวคิด เคร่ืองมอื และการพฒั นา. กรงุ เทพมหานคร : โรงเพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ศิวกานท์ ปทมุ สตู ิ. (2554). เด็กอ่านไมอ่ อกเขยี นไม่ไดแ้ กง้ า่ ยนดิ เดียว. (พมิ พค์ ร้ังที่ 11). กรงุ เทพมหานคร : นวสาส์นการพมิ พ.์
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ. (2562). รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2561. เข้าถึงเมื่อ 5 เมษายน 2562, เข้าถึงได้จาก http://www.niest.or.th. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). ผลการประเมิน PISA 2015 คณติ ศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ บทสรุปสาหรับผู้บริหาร. บรษิ ทั แอดวานซ์ พริ้นต้ิง เซอรว์ สิ จากัด. สมบัติ จาปาเงิน และสาเนยี ง มณีกาญจน.์ (2548). กลเมด็ การอ่านใหเ้ ก่ง. กรงุ เทพมหานคร : สถาพรบุ๊คส์. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน. (2550). แนวทางพัฒนานักเรยี นทม่ี ปี ัญหาทางการ เรียนรู้. กรงุ เทพมหานคร: องคก์ ารรับสง่ สินคา้ และพัสดภุ ัณฑ์. สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (2555). แนวทางการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ นิสัยรักการอา่ น. กรุงเทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. ฮง ชุนแมน. (2556). ผลสัมฤทธิก์ ารอ่านเชิงวเิ คราะห์หนงั สือพิมพ์ไทยของนกั ศึกษาชาวจีนโดย เรียนรู้แบบร่วมมือ. วิทยานพิ นธป์ ริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสูตรและ การสอน มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์. ภาษาอังกฤษ Adler Mortimer J. and Doren Charles Van. (2014). How to Read a Book: The Classic Guide to Intelligent Reading. New York: Touchstone. Bosnak, A. (2011). Fostering the development of analytical and critical thing skills in an undergraduate reading course. Istanbul: Department of America Culture and Literature Fatih University. Holbert Romena M. G. .(2019). Quick Fix: Using the circle Question Format to Promote Pre-reading for Individual and Collaborative Critical Thinking. Ohio: Wright state university. Leslie O'Flahavan. (n.d.). Why Analytical Reading Is a Must-Have Skill. Retrieved from https://www.helpscout.com/helpu/analytical-reading. [2019, April 2].
Long, M. (2012). The effects of explicit analytical reading skills instruction on the ability to solve mathematical problem in a written format in a third- grade classroom. USA.: University of Arkansas. T. G. Smith. The University of Sydney. (2014). How can I think, read or write more analytically? Sydney: Learning Center, the University of Sydney. Miller, W. H. (1990). Reading comprehension activities kit: Ready-to-use techniques and worksheets for assessment and instruction. West Nyack, N.Y.: Center for Applied Research in Education. Nakanishi, T. (2014). A meta-analysis of extensive reading research. Doctor of Education, Temple University. Partnership for Assessment of Readiness for College and Careers (PARCC). (2012). PARCC model content frameworks: English language arts/literacy. Retrieved from www.parcconline.org/sites/parcc/files/ PARCCMCFELALiteracyAugust2012_FINAL.pdf. [2019, April 2].
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: