งานเพิ่มคะแนน เรื่องพลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล จัดทําโดย นางสาว กฤติกา คาํ กันธา ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6/3 เลขท่ี 25 เสนอ คุณครู วิชัย สิงหนอย โรงเรียนสันกาํ แพง
พลเมอื งดจิ ทิ ัลและ ความฉลาดทางดิจทิ ลั ทกั ษะดิจทิ ลั กา วสู พลเมอื งในศตวรรษที่ 21กอ นจะทราบถงึ ทักษะดานดจิ ทิ ลั ขอใหคํานิยามความหมายของ ประโยคที่วา \"ความเปนพลเมืองดจิ ิทัล\" ทท่ี ุกประเทศทัว่ โลกคาดหวงั ใหเกิดขนึ้ ในประชากรของตน คือ \"พลเมืองผูใชง านสื่อดจิ ทิ ลั และสื่อสงั คมออนไลนอ ยางเขา ใจบรรทัดฐาน ของการปฏิบัติตัวใหเ หมาะสม และ มคี วามรบั ผิดชอบในการใชเ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยางย่งิ การสื่อสารในยุคดจิ ิทลั เปนการส่อื สารที่ไรพรมแดน จาํ เปน ตอ งมีความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ: Digital Intelligence) \"ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (Digital Intelligence Quotient : DQ) คือ กลมุ ของความสามารถทางสงั คม อารมณ และการรบั รู ทจ่ี ะทําใหค นคนหน่งึ สามารถ เผชญิ กับความทาทายบนเสนทางของชีวิตในยคุ ดจิ ิทลั และสามารถปรบั ตัวใหเขากบั ชีวิตดจิ ทิ ลั ได ความ ฉลาดทางดิจทิ ลั ครอบคลุมทั้งความรู ทักษะ ทัศนคตแิ ละคานิยมทีจ่ าํ เปน ตอการใชช วี ิตในฐานะสมาชกิ ของ โลกออนไลน กลา วอีกนัยหน่งึ คอื ทกั ษะการใชส่ือและการเขาสังคมในโลกออนไลน
พลเมอื งดจิ ทิ ัล จงึ หมายถงึ สมาชกิ บนโลกออนไลน ท่ใี ชเ ครอื ขา ยอินเทอรเน็ต ซึ่งมีความหลาก หลายทางเช้อื ชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม ดงั น้ัน พลเมอื งดิจทิ ัลทุกคนจึงตอ งมี ‘ความเปน พลเมอื งดจิ ทิ ลั ’ ท่มี ีความฉลาดทางดิจิทัลบนพ้ืนฐานของความรับผิดชอบ การมจี รยิ ธรรม การ มีสว นรว ม ความเห็นอกเห็นใจและเคารพผอู น่ื โดยมงุ เนนความเปนธรรมในสงั คม ปฏบิ ัติและ รักษาไวซ ึง่ กฎเกณฑ เพือ่ สรา งความสมดลุ ของการอยูรวมกันอยา งมีความสุขการเปนพลเมือง ดจิ ทิ ัลนนั้ มที ักษะสําคญั 8 ประการ
ทักษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ตอ งมคี วามสามารถ ในการสรางสมดลุ บริหารจัดการ รกั ษาอัตลักษณท ่ีดขี องตนเองไวใ หได ทงั้ ในสว นของโลก ออนไลนแ ละโลกความจรงิ โดยตอนนีป้ ระเดน็ เรอื่ งการสรา งอตั ลักษณอ อนไลนถ ือเปน ปรากฏการณใหม ท่ีทําใหบุคคลสามารถแสดงออกถงึ ความเปน ตวั ตนตอ สังคมภายนอก โดยอาศัยชอ งทางการสอ่ื สารผานเวบ็ ไซตเ ครือขา ยสงั คมในการอธบิ ายรปู แบบใหมของการ ส่ือสารแบบมปี ฏิสัมพนั ธทางอนิ เทอรเน็ต ซ่ึงเปน การแสดงออกเกยี่ วกับตัวตนผา นเวบ็ ไซต เครือขายสงั คมตา งๆ
ทกั ษะในการรกั ษาขอ มูลสว นตัว (Privacy Management) ดลุ พินิจในการบรหิ ารจัดการ ขอมูลสว นตวั โดยเฉพาะการแชรขอ มูลออนไลนเ พ่อื ปองกนั ความเปน สวนตวั ทั้งของตนเอง และผอู ่ืนเปน ส่ิงสาํ คญั ทีต่ อ งประกอบอยใู นพลเมืองดจิ ิทัลทุกคน และพวกเขาจะตองมี ความตระหนักในความเทา เทียมกันทางดจิ ทิ ัล เคารพในสทิ ธขิ องคนทุกคน รวมถงึ ตอ งมี วิจารณญาณในการรักษาความปลอดภัยของขอมลู ตนเองในสังคมดิจิทลั รวู าขอ มลู ใดควร เผยแพร ขอ มลู ใดไมค วรเผยแพร และตอ งจัดการความเสี่ยงของขอ มลู ของตนในสอื่ สงั คม ดิจทิ ลั ไดด ว ย
ทักษะในการคิดวเิ คราะหม วี ิจารณญาณท่ีดี (Critical Thinking) ความสามารถในการ วิเคราะหแ ยกแยะระหวางขอ มูลที่ถูกตองและขอมลู ทผี่ ดิ ขอมลู ท่มี ีเนอื้ หาดีและขอมูล ท่เี ขา ขายอนั ตราย รูว าขอ มูลลกั ษณะใดท่ถี กู สง ผานมาทางออนไลนแ ลว ควรต้งั ขอ สงสัย หาคาํ ตอบใหช ดั เจนกอ นเชอื่ และนาํ ไปแชร ดวยเหตนุ ี้ พลเมอื งดจิ ทิ ัล จงึ ตองมี ความรูความสามารถในการเขาถึง ใช สรา งสรรค ประเมนิ สังเคราะห และสือ่ สาร ขอ มูลขาวสารผานเคร่อื งมอื ดจิ ิทลั ซงึ่ จาํ เปน ตอ งมคี วามรดู านเทคนิคเพื่อใชเ ครอื่ งมือ ดจิ ทิ ลั เชน คอมพิวเตอร สมารตโฟน แท็บเล็ต ไดอยา งเช่ยี วชาญ รวมถงึ มีทกั ษะใน การรคู ิดข้ันสูง เชน ทกั ษะการคิดอยางมวี ิจารณญาณ ทจี่ าํ เปน ตอการเลือก จดั ประเภท วิเคราะห ตคี วาม และเขา ใจขอมูลขา วสาร มีความรแู ละทักษะในสภาพแวดลอมดิจิทัล การรดู ิจิทัลโดยมงุ ใหเปน ผูใชท่ีดี เปนผเู ขา ใจบริบททีด่ ี และเปนผสู รา งเนอื้ หาทาง ดิจทิ ลั ที่ดี ในสภาพแวดลอมสังคมดิจทิ ัล
ทักษะในการจดั สรรเวลาหนา จอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการบริหารเวลากบั การใชอ ุปกรณยคุ ดิจิทลั รวมไปถึงการควบคมุ เพ่ือใหเกิดสมดุลระหวางโลกออนไลนและโลก ภายนอก นบั เปนอีกหนง่ึ ความสามารถท่บี งบอกถงึ ความเปน พลเมอื งดจิ ิทัล ไดเปน อยางดี เพราะเปนทรี่ กู นั อยแู ลววาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศท่ขี าดความเหมาะสมยอ มสง ผลเสยี ตอสุขภาพโดยรวม ทง้ั ความเครียดตอสขุ ภาพจติ และเปน สาเหตุกอ ใหเกดิ ความเจ็บปว ยทาง กาย ซ่งึ นําไปสกู ารสูญเสยี ทรพั ยสนิ เพ่อื ใชร กั ษา และเสียสขุ ภาพในระยะยาวโดยรเู ทา ไมถ งึ การ
ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน (Cyberbullying Management) จาก ขอมลู ทางสถติ ิลา สุด สถานการณในเรอื่ ง Cyber bullying ในไทย มคี าเฉลย่ี การกล่ันแกลง บนโลกออนไลนในรปู แบบตางๆ ทีส่ ูงกวา คา เฉล่ียโลกอยูท่ี 47% และเกิดในรปู แบบทหี่ ลาก หลาย อาทิ การดาทอกันดว ยขอความหยาบคาย การตดั ตอ ภาพ สรางขอ มลู เท็จ รวมไปถึง การตงั้ กลมุ ออนไลนกดี กันเพอ่ื นออกจากกลมุ ฯลฯ ดังนนั้ วาที่พลเมอื งดิจทิ ัลทกุ คน จงึ ควร มคี วามสามารถในการรับรแู ละรบั มอื การคกุ คามขมขูบ นโลกออนไลนไ ดอ ยางชาญฉลาด เพอื่ ปองกนั ตนเองและคนรอบขางจากการคุกคามทางโลกออนไลนใหได
ทักษะในการบริหารจัดการขอ มลู ทผี่ ูใชง านทิ้งไวบนโลกออนไลน (Digital Footprints) มี รายงานการศึกษาวิจยั ยืนยนั วา คนรุน Baby Boomer คือ กลุม Aging ที่เกิดตั้งแตป พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใชง านอปุ กรณคอมพิวเตอรห รอื โทรศัพทเคลื่อนท่ีของผอู ืน่ และเปดใช งาน WiFi สาธารณะ เสร็จแลวมกั จะละเลย ไมลบรหสั ผา นหรือประวตั ิการใชงานถึง 47% ซึ่ง เสี่ยงมากทจ่ี ะถูกผอู ่นื สวมสิทธิ ขโมยตวั ตนบนโลกออนไลน และเขาถงึ ขอ มูลสว นบุคคลได อยา งงายดาย ดงั นั้น ความเปนพลเมอื งดจิ ิทัล จงึ ตองมที ักษะความสามารถที่จะเขา ใจ ธรรมชาติของการใชชีวิตในโลกดจิ ทิ ัล วา จะหลงเหลอื รองรอยขอ มูลทิง้ ไวเ สมอ รวมไปถงึ ตอ ง เขา ใจผลลัพธท อ่ี าจเกิดขน้ึ เพอื่ การดแู ลสิง่ เหลา น้ีอยางมคี วามรับผดิ ชอบ
ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน (Cybersecurity Management) ความสามารถในการปองกนั ขอ มูลดว ยการสรา งระบบความปลอดภยั ทเี่ ขมแขง็ และปอ งกนั การโจรกรรมขอ มูลไมใ หเ กดิ ขนึ้ ได ถาตอ งทาํ ธุรกรรมกับธนาคารหรือซอื้ สนิ คาออนไลน เชน ซอ้ื เสื้อผา ชุดเดรส เปนตน ควรเปลย่ี นรหสั บอ ยๆ และควรหลกี เล่ยี งการใชคอมพิวเตอร สาธารณะ และหากสงสัยวาขอมลู ถกู นาํ ไปใชหรอื สูญหาย ควรรบี แจง ความและแจงหนวย งานทีเ่ กยี่ วขอ งทนั ที
ทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางมจี ริยธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเห็น อกเห็นใจและสรา งความสมั พันธทด่ี ีกับผอู ่นื บนโลกออนไลน พลเมืองดิจิทัลทีด่ จี ะตอ งรูถงึ คณุ คาและจรยิ ธรรมจากการใชเทคโนโลยี ตองตระหนกั ถึงผลพวงทางสงั คม การเมือง เศรษฐกจิ และวัฒนธรรม ทีเ่ กิดจากการใชอนิ เทอรเนต็ การกดไลก กดแชร ขอมูล ขาวสาร ออนไลน รวมถึงรูจกั สทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบออนไลน อาทิ เสรภี าพในการพูด การเคารพ ทรัพยสินทางปญญาของผอู ื่น และการปกปองตนเองและชมุ ชนจากความเสยี่ งออนไลน เชน การกล่ันแกลงออนไลน ภาพลามกอนาจารเด็ก สแปม เปน ตน
แหลงอา งอิง https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge- base/article-pr/1355-goto-citizens21st
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: