Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุดยอดนักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของโลกกับ

สุดยอดนักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของโลกกับ

Published by wisawakorn kingjan, 2021-03-03 04:04:09

Description: สุดยอดนักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของโลกกับ

Search

Read the Text Version

สุดยอดนักวทิ ยาศาสตร์ผู้ยง่ิ ใหญ่ของโลกกบั ผลงานเด่นและวาทะเดด็

นักวิทยาศาสตรค์ ือผูท้ ่ีศึกษาคน้ ควา้ พัฒนา ค ว า ม รู ้ด้า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ซ่ึ ง มี ความสาคญั ต่อการดารงชีวิตของมนุษยอ์ ย่างย่ิง ช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในชีวิตประจาวนั และ ทาใหค้ ุณภาพชีวิตของผูค้ นดีขึน้ ในทุกดา้ น จาก สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันมีนักวิทยาศาสตรช์ ั้น ยอดมากมาย ผลงานของพวกเขาได้ทาให้ วิทยาศาสตรม์ ีความกา้ วหนา้ มาอยา่ งตอ่ เน่ืองและ สร้า ง คุณ ป ระ โ ยชน์น า นัป กา รต่อ ชา ว โ ล ก น อ ก เ ห นื อ จ า ก ผ ล ง า น อัน ย อ ด เ ย่ี ย ม แ ล้ว นกั วิทยาศาสตรผ์ ยู้ ่ิงใหญ่เหล่านีย้ งั มีวาทะเด็ดคา คมท่ีสะท้อนความคิดอันลึกซึง้ ให้เราได้ครุ่นคิด ตีความกนั อยเู่ สมอ

อริสโตเตลิ (Aristotle) อริสโตเตลิ (384 – 322 ก่อนคริสต์ศักราช) เป็ นนักปรัชญาคนสาคญั ในยุคกรีกโบราณ เป็ นศิษย์เอกของเพลโต เป็ นอาจารย์ของพระเจ้าอเลก็ ซานเด อร์มหาราช ในสมัยทอ่ี ริสโตเตลิ มีชีวติ อยู่น้ันวทิ ยาศาสตร์ไม่ค่อยได้รับความสนใจเพราะผ้คู นยงั ไม่เข้าใจว่าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถทาให้ ความเป็ นอย่ดู ขี ึน้ ได้อย่างไร แต่อริสโตเติลสนใจศึกษาและเจนจบในหลากหลายสาขาวชิ าท้งั ฟิ สิกส์ อภปิ รัชญา จริยธรรม ชีววทิ ยา และสัตววทิ ยา เป็ นผู้ ทศ่ี ึกษาเกย่ี วกบั ชีวติ สัตว์และจัดแบ่งประเภทสัตว์อย่างเป็ นระบบ แม้ทฤษฎขี องเขาบางอย่างทภ่ี ายหลงั ได้รับการพสิ ูจนว์ ่าผดิ เช่น ความเชื่อทวี่ ่าโลกเป็ น ศูนย์กลางของจักรวาล ซ่ึงกต็ ้องเข้าใจว่าในสมัยสองพนั กว่าปี ก่อนน้ันยงั ไม่มีกล้องโทรทรรศน์เลย แต่กเ็ ป็ นการแสดงให้เหน็ ว่าเขาเป็ นนักสังเกตและนัก คดิ ทย่ี ง่ิ ใหญ่ทสี่ ุดคนหนึ่ง โดยเฉพาะแนวคดิ ทางปรัชญาทไี่ ด้รับการยอมรับจากผู้คนจานวนมาก อริสโตเติลได้รับการยกย่องว่าเป็ นคนแรกทเ่ี ป็ นนักวทิ ยาศาสตร์อย่างแท้จริง เป็ นบดิ าแห่งวทิ ยาศาสตร์และบิดาแห่งชีววทิ ยา อริสโตเติลเขียนหนังสือไว้ มากมายเป็ น 1,000 เล่ม แนวคดิ และงานเขยี นของเขามีอทิ ธิพลต่อผ้คู นและความเชื่อในศาสนาคริสต์จนถงึ ยุคกลางเป็ นเวลานานถึง 1,500 ปี ผลงานเด่น : – ทฤษฎที างด้านชีววทิ ยาและการจาแนกสัตว์ออกเป็ น 2 พวกใหญ่คือพวกมกี ระดูกสันหลงั (Vertebrates) และพวกไม่มกี ระดูกสันหลงั (Invertebrates) – หนังสือทเี่ ขาเขียนในสรรพวชิ าทเ่ี ป็ นแนวคิดหลกั ให้แก่คนรุ่นหลงั วาทะเดด็ : – “Quality is not an act, it is a habit.” → คุณภาพไม่ใช่การกระทา หากแต่มนั เป็ นนิสัย – “The roots of education are bitter, but the fruit is sweet.” → รากของการศึกษาอาจจะขม แต่ผล ของมันน้ันหวานฉ่า

อารค์ มิ ดิ สี (Archimedes) อาร์คิมิดีส (287- 212 ก่อนคริสตศ์ กั ราช) เป็นนกั คณิตศาสตร์ นกั ดาราศาสตร์ นกั ปรัชญา นกั ฟิ สิกส์ และวศิ วกรชาวกรีก ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นหน่ึงในบรรดา นกั วทิ ยาศาสตร์ช้นั ยอดและเป็นนกั คณิตศาสตร์ท่ียง่ิ ใหญ่ท่ีสุดในยคุ โบราณ อาร์คิมิดีสมีผลงานดา้ นวทิ ยาศาสตร์มากมาย เป็นผูว้ างรากฐานใหแ้ ก่วชิ า สถิตยศาสตร์, สถิตยศาสตร์ของไหล และกลศาสตร์ เป็นผคู้ ิดคน้ นวตั กรรมเครื่องจกั รกลหลายชิ้น รวมท้งั อุปกรณ์เครื่องผอ่ นแรงท่ียงั ใชง้ านอยจู่ นถึงปัจจุบนั งานดา้ นคณิตศาสตร์อาร์คิมิดีสเป็นผคู้ ิดวธิ ีหาพ้ืนที่และปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิตมากมาย อาร์คิมิดีสแสดงใหเ้ ห็นวา่ ค่า π (pi) มีค่ามากกวา่ 223/71 แต่ นอ้ ยกวา่ 22/7 ตวั เลขหลงั น้ีถูกนามาใชเ้ ป็นคา่ ประมาณของ π มาตลอดจนถึงปัจจุบนั เร่ืองเล่าท่ีรู้จกั กนั แพร่หลายที่สุดเกี่ยวกบั อาร์คิมิดีสคือตอนท่ีเขาคน้ พบวธิ ีหาปริมาตรของมงกฎุ ทองของพระเจา้ เฮียโรที่ 2 เพือ่ พิสูจน์วา่ มีการผสมเงินเขา้ ไปดว้ ย หรือไม่ อาร์คิมิดีสคน้ พบตอนท่ีเขากาลงั อาบน้าแลว้ สงั เกตเห็นวา่ ระดบั น้าในอา่ งเพ่ิมสูงข้ึนขณะเขากา้ วลงไป จึงคิดวธิ ีหาปริมาตรของมงกุฎโดยวธิ ีแทนที่น้าได้ ซ่ึงนาไปสู่การพสิ ูจนไ์ ดว้ า่ มงกุฏทองมีเงินผสมอยจู่ ริงๆ ดว้ ยความตื่นเตน้ ดีใจอาร์คิมิดีสจึงวงิ่ ออกไปยงั ทอ้ งถนนท้งั ที่ยงั แกผ้ า้ แลว้ ร้องตะโกนวา่ “ยเู รกา้ !” (ภาษากรีกแปลวา่ ฉนั พบแลว้ ) ผลงานเด่น : – ประดิษฐป์ ๊ัมเกลียว (Screw Pump) ท่ีเรียกกนั วา่ เกลียวอาร์คิมิดีสซ่ึงยงั คงใชง้ านกนั อยใู่ นปัจจุบนั สาหรับในการขนถ่ายน้า ถ่านหิน และเมล็ดธญั พืช – ประดิษฐเ์ คร่ืองผอ่ นแรงหลายชนิด เช่น คานดีดคานงดั (Law of Lever) และลูกรอกใช้ สาหรับยกของหนกั ซ่ึงยงั ใชง้ านกนั อยถู่ ึงปัจจุบนั เช่นกนั – คิดคน้ สูตรคณิตศาสตร์ที่ใชใ้ นการหาพ้ืนที่และปริมาตรของทรงกลม ทรงกระบอก ทรงกรวย ภาคตดั กรวย ฯลฯ – คิดคน้ กฎของอาร์คิมีดีส (Archimedes Principle) ที่เป็นรากฐานของวชิ าสถิตยศาสตร์ของไหลและใชใ้ นการหาความถ่วงจาเพาะของวตั ถุ วาทะเด็ด : – “Eureka!” → ฉนั พบแลว้ – “Give me a place to stand, and a lever long enough, and I will move the world.” → หาท่ียนื กบั คานงดั ท่ียาวพอใหฉ้ นั สิ แลว้ ฉนั จะเคล่ือนโลกใหด้ ู

ชาลส์ ดารว์ นิ (Charles Darwin) ชาลส์ ดาร์วนิ (คศ. 1809 – 1882) เป็นนกั ธรรมชาติวทิ ยา นกั ธรณีวทิ ยา และนกั ชีววทิ ยาชาวองั กฤษ เป็นผทู้ ่ีมีผลงานโดดเด่นในเร่ือง ววิ ฒั นาการของส่ิงมีชีวติ ดาร์วนิ เป็นผทู้ าการปฏิวตั ิความเช่ือเดิมๆเกี่ยวกบั ท่ีมาของส่ิงมีชีวติ และเสนอทฤษฎีซ่ึงเป็นท้งั รากฐานของทฤษฎี ววิ ฒั นาการสมยั ใหม่ และหลกั การพ้นื ฐานของกลไกการคดั เลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ดาร์วนิ อธิบายววิ ฒั นาการของ ส่ิงมีชีวติ ที่ถูกกาหนดโดยธรรมชาติ ซ่ึงเป็นแนวคิดที่จุดชนวนใหเ้ กิดการโตเ้ ถียงข้ึนในสงั คมอยา่ งกวา้ งขวางจนถึงปัจจุบนั ดาร์วนิ สนใจเก่ียวกบั ธรรมชาติต้งั แต่วยั เดก็ ชอบการทดลองเก่ียวกบั สัตวแ์ ละพชื เขาศึกษาดา้ นธรรมชาติวทิ ยามาโดยตลอด จนกระทง่ั ไดร้ ับเชิญเขา้ ร่วมเดินทางสารวจทางทะเลทว่ั โลกกบั เรือบีเกิล (HMS Beagle) เป็ นเวลา 5 ปี ทาให้มีโอกาสไดเ้ รียนรู้กบั สิ่งมีชีวิตใน ภูมิภาคท่ีแตกต่างกนั เขาไดศ้ ึกษาอยา่ งละเอียดและทาวจิ ยั เพม่ิ เติมต่อเนื่อง และไดพ้ ิมพห์ นงั สือช่ือ The Origin of Species (กาเนิด ของสรรพชีวติ ) ซ่ึงเป็นผลงานท่ีมีชื่อเสียงท่ีสุดของเขา ช่วงแรกมีการโตแ้ ยง้ ตอ่ ตา้ นผลงานของเขาอยา่ งมากโดยเฉพาะจากฝ่ ายศาสนจกั ร อีก หลายสิบปี ต่อมาจึงเป็ นท่ียอมรับและให้การยกย่อง นอกจากน้ีเขายงั มีผลงานเร่ืองวิวฒั นาการของมนุษยแ์ ละการคดั เลือกทางเพศ และ ผลงานอ่ืนๆอีกมาก ดาร์วนิ ไดร้ ับยกยอ่ งวา่ เป็นหน่ึงในบุคคลผทู้ รงอิทธิพลที่สุดในประวตั ิศาสตร์มนุษยชาติ ผลงานเด่น : – ทฤษฎีการคดั เลือกโดยธรรมชาติ (Theory of natural selection) – หนงั สือการสืบเช้ือสายของมนุษยแ์ ละการคดั เลือกโดยสัมพนั ธ์กบั เพศ (The Descent of Man, and Selection in Relation to Sex) วาทะเดด็ : – “A man’s friendships are one of the best measures of his worth.” → มิตรภาพคือหน่ึงในวธิ ีวดั คุณคา่ ของมนุษยท์ ี่ดีท่ีสุด – “I love fools’ experiments. I am always making them.” → ผมชอบการทดลองโง่ๆนะ ผมมกั จะทามนั บอ่ ยๆดว้ ย

หลยุ ส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) หลุยส์ ปาสเตอร์ (ค.ศ. 1822 – 1895) นกั เคมีและนกั จุลชีววทิ ยาชาวฝร่ังเศส ผดู้ ารงตาแหน่งเป็นอาจารยใ์ นสถาบนั การศึกษาหลายแห่ง เป็นผทู้ ี่คน้ พบวา่ การเน่าเสียของอาหารเกิดจากสิ่งมีชีวติ เลก็ ๆท่ีเขาเรียกวา่ จุลินทรีย์ ปาสเตอร์พบวา่ จุลินทรียส์ ่งผลเสียมากมายทาใหเ้ ขา ทาการคน้ ควา้ เกี่ยวกบั จุลินทรียอ์ ยา่ งตอ่ เน่ืองจนคน้ พบวธิ ีการฆ่าเช้ือจุลินทรียไ์ ดด้ ว้ ยวธิ ีพาสเจอร์ไรส์(Pasteurization) การคน้ พบน้ีทาให้ สาขาวชิ าจุลชีววทิ ยาโดดเด่นกา้ วหนา้ ข้ึนอยา่ งรวดเร็ว ตอ่ มาปาสเตอร์ไดท้ าการศึกษาเก่ียวกบั โรคระบาดในสตั ว์ และไดค้ ิดคน้ วคั ซีนป้องกนั โรคท่ีร้ายแรงที่สุดตอนน้นั คือโรคแอนแทรกซ์ได้ สาเร็จ ตามดว้ ยการคน้ ควา้ หาวคั ซีนป้องกนั โรคอหิวาตกโรคในไก่ แตก่ ารคน้ พบวคั ซีนที่สร้างชื่อเสียงใหก้ บั เขามากที่สุดคือวคั ซีนป้องกนั พิษ สุนขั บา้ ซ่ึงเป็นโรคที่ทาใหค้ นตายไปพอสมควร และจากการพบวคั ซีนน้ีทาใหค้ น้ พบวคั ซีนป้องกนั โรคอีกมากมาย เช่น อหิวาตกโรค วณั โรค และโรคคอตีบ นบั วา่ เป็นประโยชนต์ ่อวงการแพทยเ์ ป็ นอยา่ งมาก ปี ค.ศ. 1888 ปาสเตอร์ไดก้ ่อต้งั สถาบนั ปาสเตอร์ (Pasteur Institute) ข้ึนท่ีกรุงปารีส จากน้นั สถาบนั ปาสเตอร์ก็ไดก้ ่อต้งั ข้ึนอีกหลายแห่งในประเทศตา่ งๆทวั่ โลก รวมถึงประเทศไทยภายใตช้ ่ือ “สถานเสาวภา” เพอ่ื ใชเ้ ป็นสถานที่ทดลองคน้ ควา้ เกี่ยวกบั วคั ซีนป้องกนั โรคติดต่อชนิดตา่ งๆ ผลงานเด่น : – คิดคน้ วคั ซีนป้องกนั พิษสุนขั บา้ – คน้ พบจุลินทรียเ์ ป็นสาเหตุท่ีทาใหเ้ กิดการเน่าเสีย – คิดคน้ วธิ ีการทาพาสเจอร์ไรซ์ วาทะเด็ด : – “Fortune favors the prepared mind.” → โชคชะตามีไวส้ าหรับคนท่ีเตรียมตวั เตรียมใจไวแ้ ลว้ – “Science knows no country, because knowledge belongs to humanity, and is the torch which illuminates the world.” → วทิ ยาศาสตร์ไมร่ ู้จกั ประเทศ เพราะความรู้เป็นของมนุษยชาติและเป็นไฟฉายท่ีส่องสวา่ งแก่ โลก

ทอมสั เอดสิ ัน (Thomas Edison) ทอมสั เอดิสนั (ค.ศ. 1847 – 1931) เป็นยอดนกั ประดิษฐค์ นสาคญั ของโลกชาวอเมริกา ผลงานของเขาหลายชิ้นไดเ้ ปลี่ยนวถิ ชี ีวติ ของผคู้ น ให้เป็ นสังคมสมยั ใหม่ เอดิสันเป็ นตวั อยา่ งของคนที่ประสบความสาเร็จดว้ ยความอุตสาหะขยนั หมนั่ เพียร เขาแทบจะไม่เคยไดเ้ รียนหนงั สือใน โรงเรียน แต่ทาการศึกษาคน้ ควา้ ทดลองดว้ ยตวั เองต้งั แต่วยั เด็กจนถึงบ้นั ปลายของชีวิต เอดิสันสามารถนาเงินที่ไดจ้ ากการขายสิทธิบตั รผลงานที่ เขาประดิษฐไ์ ดช้ ิ้นแรกมาสร้างโรงงานที่มีหอ้ งปฏิบตั ิการวจิ ยั ในตวั ซ่ึงกลายเป็นตน้ แบบของโรงงานอุตสาหกรรมสมยั ใหม่ดว้ ยวยั เพยี ง 23 ปี แมว้ ่าเอดิสันจะไม่ใช่คนแรกที่ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า แต่เขาเป็ นผูท้ ่ีคิดคน้ พฒั นาหลอดไฟฟ้าท่ีใชง้ านตามบา้ นเรือนไดส้ าเร็จ ไม่เพียงเท่าน้ีเขายงั เป็ นผูส้ ร้างโรงจ่ายกระแสไฟฟ้าที่เมืองนิวยอร์ก ลากสายไฟฟ้าไปทว่ั เมืองให้ทุกคนมีโอกาสใช้ไฟฟ้าอย่างทว่ั ถึงกัน และส่งผลให้การใช้ ชีวิตประจาวนั ของผคู้ นทว่ั โลกเปล่ียนไปโดยสิ้นเชิง เอดิสันเป็ นผูป้ ระดิษฐเ์ ครื่องบนั ทึกเสียง, เคร่ืองบนั ทึกภาพเคลื่อนไหว ซ่ึงต่อมาเขาไดน้ ามา รวมกนั กลายเป็ นเคร่ืองถ่ายทาภาพยนตร์ เขายงั เป็ นผูป้ ระดิษฐ์แบตเตอร่ี เครื่องผสมปูนซิเมนต์ และสิ่งประดิษฐ์อื่นๆอีกนับพนั ชิ้น เอดิสันมี สิทธิบตั รส่ิงประดิษฐ์ภายใตช้ ่ือของเขาเป็ นจานวนถึง 1,093 ชิ้น ก่อต้งั บริษทั ดา้ นไฟฟ้าอีกหลายบริษทั รวมท้งั เจเนอรัลอิเล็กทริก (General Electric) บริษทั เครื่องใชไ้ ฟฟ้าขนาดใหญข่ องโลก ผลงานเด่น : – ประดิษฐห์ ลอดไฟฟ้า – ประดิษฐเ์ คร่ืองบนั ทึกเสียง – ประดิษฐเ์ ครื่องถ่ายภาพเคลื่อนไหว – ประดิษฐแ์ บตเตอร่ี วาทะเดด็ : – “Genius is one percent inspiration and ninety-nine percent perspiration.” → อจั ฉริยะเกิด จากแรงบนั ดาลใจเพยี ง 1 เปอร์เซ็นต์ และอีก 99 เปอร์เซ็นตค์ ือความอุตสาหะ – “I have not failed. I’ve just found 10,000 ways that won’t work.” → ผมไม่ไดล้ ม้ เหลวนะ ผมเพง่ิ จะ พบ 10,000 วธิ ีที่มนั ใชไ้ มไ่ ด้

มารี คูรี (Marie Curie) มารี คูรี (ค.ศ. 1867 – 1934) นกั ฟิ สิกส์และนกั เคมีชาวโปแลนด์ เป็นผบู้ ุกเบิกงานวจิ ยั ดา้ นกมั มนั ตภาพรังสีและเป็นผคู้ น้ พบธาตุเรเดียมท่ีใชร้ ักษา โรคมะเร็งท่ีทาใหค้ นตายเป็ นอนั ดบั หน่ึงมาทุกยคุ สมยั เธอเป็นผหู้ ญิงคนแรกที่ไดร้ างวลั โนเบล เป็นคนแรกและผหู้ ญิงเพียงคนเดียวท่ีไดร้ างวลั โนเบล 2 คร้ัง และเป็นเพยี งคนเดียวที่ไดร้ างวลั โนเบลดา้ นวทิ ยาศาสตร์ 2 สาขา มารี คูรีเป็นหน่ึงในผหู้ ญิงที่เก่งที่สุดและไดร้ ับการยกยอ่ งมากที่สุดใน โลก แมจ้ ะขดั สนเร่ืองการเงินและถูกกีดกนั จากการเป็ นผูห้ ญิง มารีไดต้ ่อสู้ดิ้นรนโดยหยดุ เรียนเพอ่ื ทางานส่งใหพ้ ่ีสาวของเธอเรียนจนจบก่อน แลว้ ให้ พสี่ าวส่งเธอเรียนดา้ นฟิ สิกส์และคณิตศาสตร์ที่กรุงปารีสตามท่ีเธอต้งั ใจ มารีเริ่มคน้ ควา้ ดา้ นกมั มนั ตภาพรังสีร่วมกบั สามีคือปิ แอร์ คูรีจนคน้ พบวา่ มีพลงั งานถูกปล่อยออกมาจากแร่พติ ชเ์ บลนด์ และไดพ้ ยายามแยกธาตุใหม่ ออกจากแร่พติ ชเ์ บลนด์ หลงั จากใชเ้ วลาคน้ ควา้ ราว 7 ปี เธอกส็ ามารถแยกธาตุใหม่ท่ีเธอเรียกวา่ เรเดียมไดส้ าเร็จ ผลงานน้ีทาใหม้ ารีและสามีไดร้ ับ รางวลั โนเบลสาขาฟิ สิกส์ หลงั จากปิ แอร์เสียชีวติ จากอุบตั ิเหตุ มารียงั คงมุง่ มนั่ คน้ ควา้ ต่อไปโดยมุ่งไปท่ีการใชป้ ระโยชน์ของเรเดียมในทางการแพทย์ จนเธอไดร้ ับรางวลั โนเบลคร้ังท่ีสองในสาขาเคมี เม่ือเกิดสงครามโลกคร้ังที่ 1 มารีไดต้ ้งั หน่วยเอกซเรยเ์ คลื่อนที่ตระเวนรักษาทหารที่บาดเจบ็ ตามที่ ตา่ งๆ หลงั สงครามมารีไดก้ ลบั มาทางานวจิ ยั อีกคร้ัง แตผ่ ลกระทบจากการสมั ผสั กบั รังสีของเรเดียมเป็นเวลานานทาใหไ้ ขกระดูกเธอถูกทาลายและ เสียชีวติ การคน้ พบท่ีช่วยชีวติ ผคู้ นไดจ้ านวนมาก กลบั ตอ้ งแลกดว้ ยชีวติ ของเธอ ผลงานเด่น : – รางวลั โนเบลสาขาฟิ สิกส์จากผลงานการคน้ พบธาตุเรเดียม – รางวลั โนเบลสาขาเคมีจากผลงานการคน้ ควา้ หาประโยชนจ์ ากธาตุเรเดียม วาทะเดด็ : – “One never notices what has been done; one can only see what remains to be done.” → ไม่มีใครสนใจในส่ิงท่ีทาสาเร็จไปแลว้ ; เขามองเห็นแต่เพยี งสิ่งที่ยงั คงตอ้ งทาเทา่ น้นั – “You must never be fearful of what you are doing when it is right.” → คุณไมต่ อ้ งกลวั ในส่ิงท่ีคุณ กาลงั ทาอยเู่ ม่ือมนั ถูกตอ้ ง

นิโคลา เทสลา (Nikola Tesla) นิโคลา เทสลา (ค.ศ. 1856 – 1943) เป็นนกั ประดิษฐ์ นกั ฟิ สิกส์ และวศิ วกรไฟฟ้าชาวเซอร์เบียน-อเมริกนั เป็ นผูส้ ร้างนวตั กรรมล้ายคุ ที่ย่งิ ใหญ่ท่ีสุดคนหน่ึง สิทธิบตั ร ของเทสลาและผลงานเชิงทฤษฎีของเขากลายเป็ นพ้ืนฐานของระบบไฟฟ้ากระแสสลบั ท่ีใช้งานทวั่ โลกในปัจจุบนั ได้แก่ ระบบจ่ายกาลงั หลายเฟส และมอเตอร์ไฟฟ้า กระแสสลบั เป็ นผูป้ ระดิษฐแ์ ละคน้ พบเทคโนโลยใี หม่มากมาย เช่น ขดลวดเทสลา (Tesla coil) เครื่องวดั ความเร็วติดรถยนต์ เคร่ืองกระจายเสียงผา่ นวิทยุ วธิ ีการเปลี่ยน สนามแม่เหล็กเป็ นสนามไฟฟ้าซ่ึงเป็ นที่มาของหน่วยวดั สนามแม่เหล็กเทสลาซ่ึงวิศวกรรุ่นหลงั ต้งั ชื่อเพ่ือเป็ นเกียรติแก่เขา นอกจากน้ีเขายงั ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เทคโนโลยลี ้ายุค เรื่องการส่งผา่ นพลงั งานแบบไร้สายหรือเทคโนโลยี wireless ท่ีปัจจุบนั กาลงั เฟื่ องฟู เทสลาเป็ นนกั ประดิษฐย์ ุคเดียวกนั เอดิสันแถมยงั เป็ นคู่แข่งกนั เอดิสันสนบั สนุนการใชไ้ ฟฟ้ากระแสตรงส่วนเทสลาพฒั นาไฟฟ้ากระแสสลบั จนถึงกบั เกิดสงคราม กระแสไฟฟ้า (War of Currents) ซ่ึงส่งผลต่ออุตสาหกรรมในยคุ น้นั อยา่ งมาก เทสลามีแนวคิดล้ายคุ มีจินตนาการกา้ วไกลเกินกวา่ ผคู้ นยคุ เดียวกนั มาก เช่น เขามีแนวคิด จะทาโลกท้งั ใบใหเ้ ป็นสื่อนาไฟฟ้าเพื่อใหส้ ามารถส่งกระแสไฟฟ้าไปใหค้ นทุกคนในโลกไดใ้ ชก้ ระแสไฟฟ้าอยา่ งเสรี หรือคิดสร้างอาวธุ ลาแสงมหาประลยั ท่ีมีอานุภาพร้ายแรง ขนาดแยกโลกของเราใหแ้ ตกออกเป็นสองส่วนได้ จนถูกเรียกวา่ นกั วทิ ยาศาสตร์สติเฟื่ อง (mad scientist) หลงั จากเทสลาเสียชีวติ FBI ไดส้ ่ังทุกฝ่ ายวา่ เร่ืองราวทุกอยา่ ง ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เทสลาตอ้ งถูกจดั การอยา่ งลบั ท่ีสุด และตอ้ งรักษาความลบั ของส่ิงประดิษฐ์ของเขาให้เป็ นความลบั ตลอดไป นี่คือนกั วทิ ยาศาสตร์ผูย้ ิง่ ใหญ่แต่กลบั ไม่ค่อยเป็ นท่ี รู้จกั เทา่ กบั ผลงานของเขา เขาคือ ‘อจั ฉริยะที่โลกลืม’ ผลงานเด่น : – ประดิษฐข์ ดลวดเทสลา – ประดิษฐม์ อเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั – ประดิษฐห์ ลอดฟลูออเรสเซนต์ – คิดคน้ วธิ ีการส่ือสารแบบไร้สาย – คิดคน้ รีโมตคอนโทรล วาทะเด็ด : – “If your hate could be turned into electricity, it would light up the whole world.” → หากความเกลียดชงั ของคุณสามารถ เปล่ียนเป็นกระแสไฟฟ้าได้ มนั คงจะทาใหโ้ ลกท้งั ใบสวา่ งไสวเลยทีเดียว – “The scientists of today think deeply instead of clearly. One must be sane to think clearly, but one can think deeply and be quite insane.” → นกั วทิ ยาศาสตร์ในปัจจุบนั น้ีคิดแบบลึกซ้ึงแทนท่ีจะคิดอยา่ งชดั แจง้ คนเราตอ้ งมีสติที่จะคิดอยา่ งชดั แจง้ แตก่ ส็ ามารถคิดให้ ลึกซ้ึงและบา้ คลงั่ ได้

กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอี (Galileo Galilei) กาลิเลโอ กาลิเลอี (ค.ศ. 1564 – 1642) นกั คณิตศาสตร์ นกั ดาราศาสตร์ และนกั วทิ ยาศาสตร์ชาวอิตาลีผมู้ ีบทบาทสาคญั อยา่ งยง่ิ ในการปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์สมยั ใหม่ เป็นคนแรกท่ีนาคณิตศาสตร์และการทดลองมาใชเ้ ป็ นเครื่องมือในการพิสูจน์กฎเกณฑท์ างธรรมชาติอยา่ งเป็ นระบบอนั เป็ นรากฐานของกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ในปัจจุบนั กาลิเลโอคน้ พบและสร้างกฎเพนดูลมั (Pendulum) หรือกฎการแกวง่ ของนาฬิกาลูกตุม้ ที่นาไปสู่การสร้างนาฬิกาใหเ้ ที่ยงตรง เขาไดท้ ดลองปล่อยวตั ถุ สองอยา่ งที่มวลไม่เทา่ กนั จากหอเอนปี ซาแตต่ กถึงพ้ืนพร้อมกนั ที่ทุกคนจาไดด้ ี กาลิเลโอประดิษฐแ์ ละพฒั นากลอ้ งโทรทรรศน์ใหส้ ามารถส่องดูดวงดาวไดอ้ ยา่ งชดั เจน กาลิเลโอพบวา่ ผวิ ดวงจนั ทร์ขรุขระมีภูเขาและหุบเหว พบวา่ ทางชา้ งเผอื กอดั แน่นไปดว้ ยดาวฤกษจ์ านวนมาก พบวงแหวนของดาวเสาร์ พบจุดดบั บนดวงอาทิตย์ พบดวง จนั ทร์บริวารสาคญั ของดาวพฤหสั บดี 4 ดวง และจากการเฝ้าสงั เกตการณ์ดวงจนั ทร์ของดาวพฤหสั บดีน่ีเองที่ทาใหก้ าลิเลโอพสิ ูจนไ์ ดว้ า่ โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ การคน้ พบวา่ โลกโคจรรอบดวงอาทิตยส์ นบั สนุนทฤษฎีของโคเปอร์นิคสั ท่ีเสนอใหด้ วงอาทิตยเ์ ป็นจุดศูนยก์ ลางของจกั รวาล ไมใ่ ช่ดวงอาทิตยแ์ ละดาวอื่นๆ ท้งั หมดโคจรรอบโลกอยา่ งที่เช่ือกนั มานบั พนั ปี ไดท้ าใหเ้ กิดการตอ่ ตา้ นจากศาสนจกั รเพราะขดั แยง้ กบั คาสอนในสมยั น้นั กาลิเลโอถูกสั่งหา้ มพูดเกี่ยวกบั ทฤษฎีของโค เปอร์นิคสั แต่กาลิเลโอยงั คงมุ่งมน่ั คน้ ควา้ ดา้ นดาราศาสตร์ตอ่ ไปและมีผลงานเป็นหนงั สือออกมาอีก ทาใหเ้ ขาถูกต่อตา้ นอยา่ งหนกั หนงั สือกถ็ ูกหา้ มขายในอิตาลี และ ตวั เขาถูกกล่าวหาเป็นคนนอกรีตตอ้ งโทษจาคุก ตอ่ มาเขาถูกบงั คบั ใหก้ ล่าวคาขอโทษเพ่อื แลกกบั ชีวติ และอิสระ แตย่ งั ถูกควบคุมในบา้ นหลงั หน่ึงตลอดชีวติ ระหวา่ งถูก ควบคุมตวั เขาก็ยงั มีผลงานเขียนหนงั สือเล่มสาคญั กระทงั่ ช่วงบ้นั ปลายชีวติ แมต้ าของเขาบอดท้งั สองขา้ งกาลิเลโอกย็ งั ทางานวจิ ยั ตอ่ ไปโดยใหล้ ูกศิษยท์ าการสงั เกตและ รายงานผลใหเ้ ขาวเิ คราะห์ เขาคือนกั วทิ ยาศาสตร์ผยู้ ง่ิ ใหญ่โดยแท้ ผลงานเด่น : – คิดคน้ กฎเพนดูลมั – พิสูจนท์ ฤษฎีวตั ถุหนกั หรือเบาตกถึงพ้ืนพร้อมกนั เสมอ – พฒั นากลอ้ งโทรทรรศนใ์ หม้ ีประสิทธิภาพมากข้ึนจนส่องดูดาวได้ – คน้ พบดวงจนั ทร์ของดาวพฤหสั บดี 4 ดวง – คน้ พบวงแหวนดาวเสาร์ วาทะเด็ด : – “We cannot teach people anything, we can only help them discover it within themselves.” → เราไม่สามารถสอน ส่ิงใดใหก้ บั ใครไดเ้ ลย เราทาไดแ้ ค่เพยี งช่วยใหเ้ ขาคน้ พบมนั ดว้ ยตวั เขาเอง – “I have never met a man so ignorant that I couldn’t learn something from him.” → ฉนั ไมเ่ คยเจอใครที่โง่เขลามากจน ฉนั ไม่สามารถเรียนรู้อะไรจากเขาไดเ้ ลย

อลั เบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) อลั เบิร์ต ไอนส์ ไตน์ (ค.ศ. 1879 – 1955) นกั ฟิ สิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมนั เช้ือสายยวิ ถือสัญชาติสวสิ และอเมริกนั เป็นผคู้ ิดคน้ ทฤษฎีสัมพทั ธภาพหน่ึงในสองเสา หลกั ของฟิ สิกส์สมยั ใหม่ร่วมกบั กลศาสตร์ควอนตมั เขาเป็นเจา้ ของสูตรที่โด่งดงั ที่สุดในโลก E = mc2 ไดร้ ับรางวลั โนเบลสาขาฟิ สิกส์จากการอธิบาย ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและจากการทาประโยชนแ์ ก่ฟิ สิกส์ทฤษฎี หลงั จากที่ไอน์สไตนค์ น้ พบทฤษฎีสัมพทั ธภาพทวั่ ไปในปี ค.ศ. 1915 เขากก็ ลายเป็นผทู้ ่ี มีช่ือเสียงซ่ึงเป็นเรื่องท่ีไมค่ อ่ ยธรรมดานกั สาหรับนกั วทิ ยาศาสตร์คนหน่ึง เขาเป็นที่เคารพนบั ถือในความรู้แจง้ เห็นจริงในจกั รวาลซ่ึงช่วยสร้างแรงบนั ดาลใจ ใหแ้ ก่นกั วทิ ยาศาสตร์จานวนมาก กลายเป็นแบบอยา่ งและสญั ลกั ษณ์ของความฉลาดหรือความอจั ฉริยะ ดงั คาที่มีผยู้ กยอ่ งเขาวา่ “ไอนส์ ไตน์มีความหมาย เดียวกนั กบั อจั ฉริยะ” ไอนส์ ไตน์ถือวา่ เป็นผทู้ ่ีเรียนรู้ไดช้ า้ เน่ืองจากมีความบกพร่องทางการอ่านเขียน (Dyslexia) แตเ่ ขากลบั บอกวา่ การพฒั นาทฤษฎีของเขาเป็นผลมาจาก ความเชื่องชา้ น่ีเอง เพราะเขามีเวลาครุ่นคิดถึงอวกาศและเวลามากกวา่ เด็กคนอ่ืน ในช่วงเร่ิมตน้ ทางานวจิ ยั ไอนส์ ไตน์คิดวา่ กลศาสตร์ของนิวตนั ไม่เพียงพอที่จะ รวมกฎของกลศาสตร์ด้งั เดิมหรือกลศาสตร์ของนิวตนั เขา้ กบั กฎของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้ นาไปสู่การคิดคน้ พฒั นาทฤษฎีสัมพทั ธภาพพเิ ศษ ต่อมาเขาได้ ขยายทฤษฎีใหค้ รอบคลุมไปถึงสนามแรงโนม้ ถ่วงดว้ ยจึงเกิดเป็นทฤษฎีสัมพทั ธภาพทว่ั ไปซ่ึงใชอ้ ธิบายโครงสร้างของจกั รวาลได้ เขายงั มีผลงานดา้ น กลศาสตร์เชิงสถิติและทฤษฎีควอนตมั รวมไปถึงทฤษฎีอนุภาคและการเคล่ือนที่ของโมเลกลุ ไอน์สไตนไ์ ดต้ ีพิมพผ์ ลงานทางวทิ ยาศาสตร์มากกวา่ 300 ชิ้น และงานอื่นท่ีไมใ่ ช่วทิ ยาศาสตร์อีกกวา่ 150 ชิ้น ทุกวนั น้ีไอน์สไตนย์ งั คงเป็นที่รู้จกั ดีในฐานะนกั วทิ ยาศาสตร์ท่ีโด่งดงั ท่ีสุดท้งั ในวงการวทิ ยาศาสตร์และนอก วงการ ผลงานเด่น : – ทฤษฎีสมั พทั ธภาพพเิ ศษ – ทฤษฎีสมั พทั ธภาพทว่ั ไป – ทฤษฎีโฟตอนกบั ความเกี่ยวพนั ระหวา่ งคลื่นและอนุภาค – ทฤษฎีควอนตมั เก่ียวกบั การเคลื่อนที่ของอะตอมในของแขง็ วาทะเดด็ : – “Imagination is more important than knowledge.” → จินตนาการสาคญั กวา่ ความรู้ – “Politics is for the present, but an equation is for eternity.” → การเมืองน้นั แสนส้นั แตส่ มการคงอยชู่ วั่ นิรันดร์

ไอแซก นวิ ตนั (Isaac Newton) ไอแซก นิวตนั (ค.ศ. 1642 – 1727) นกั ฟิ สิกส์ นกั คณิตศาสตร์ และนกั ดาราศาสตร์ชาวองั กฤษผซู้ ่ึงเป็นท่ียอมรับอยา่ งกวา้ งขวางวา่ เป็นหน่ึงในนกั วทิ ยาศาสตร์ท่ีมีอิทธิพล มากที่สุดตลอดกาลและมีบทบาทสาคญั ในการปฏิวตั ิทางวทิ ยาศาสตร์ หนงั สือเล่มสาคญั ของเขาท่ีช่ือ Mathematical Principles of Natural Philosophy คือหนงั สือที่มีอิทธิพลมากที่สุดในประวตั ิศาสตร์วทิ ยาศาสตร์ นิวตนั ไดค้ ิดคน้ กฎการเคล่ือนที่และกฎแรงโนม้ ถ่วงซ่ึงเป็ นกฎทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีเป็นเสา หลกั ของการศึกษาจกั รวาลทางกายภาพตลอดมา นิวตนั แสดงใหเ้ ห็นวา่ การเคลื่อนที่ของวตั ถุบนโลกและวตั ถุบนทอ้ งฟ้าลว้ นอยภู่ ายใตก้ ฎธรรมชาติเดียวกนั นิวตนั ยงั เป็น ผสู้ ร้างกลอ้ งโทรทรรศน์สะทอ้ นแสงท่ีสามารถใชง้ านจริงไดเ้ ป็นเครื่องแรก เป็นผพู้ ฒั นาทฤษฎีสี คน้ พบสเปกตรัมแสง คิดคน้ กฎการเยน็ ตวั และศึกษาความเร็วของเสียง ผลงานของเขาช่วยใหก้ ารปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์กา้ วหนา้ มากยงิ่ ข้ึน นิวตนั ใหก้ าเนิดวชิ าคณิตศาสตร์แขนงใหม่หลายเร่ืองดว้ ยกนั ไดแ้ ก่วชิ าแคลคูลสั (Calculus) ที่ปัจจุบนั รู้จกั กนั ในชื่อแคลคูลสั เชิงอินทิกรัล (Integral Calculus) นิวตนั ยงั คน้ พบทฤษฎีบททวนิ าม (Binomial Theorem) และวธิ ีการกระจายอนุกรม (Method of Expression) ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของวชิ าพชี คณิต กล่าว กนั วา่ ผลงานของนิวตนั เป็นความกา้ วหนา้ อนั ยงิ่ ใหญใ่ นทุกสาขาของคณิตศาสตร์ในยคุ น้นั จากตานานลูกแอปเปิ ลตกนาไปสู่การสร้างผลงานที่เป็ นประโยชนต์ อ่ มนุษยชาติ อยา่ งอเนกอนนั ต์ เม่ือนิวตนั เสียชีวติ ลงพธิ ีศพของเขาจึงถูกจดั อยา่ งยงิ่ ใหญ่เทียบเท่ากษตั ริย์ ศพของเขาฝังอยทู่ ี่มหาวหิ ารเวสตม์ ินสเตอร์เช่นเดียวกบั กษตั ริยแ์ ละพระบรมวงศา นุวงศช์ ้นั สูงขององั กฤษ ผลงานเด่น : – คิดคน้ กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตนั – คิดคน้ กฎแรงดึงดูดสากล – พฒั นาวชิ าแคลคูลสั – คิดคน้ ทฤษฎีสี วาทะเด็ด : – “If I have seen further than others, it is by standing upon the shoulders of giants.” → ถา้ ฉนั สามารถมองไดไ้ กลกวา่ คนอ่ืน นนั่ เป็นเพราะวา่ ฉนั ยนื อยบู่ นไหล่ของยกั ษ์ – “Plato is my friend, Aristotle is my friend, but my greatest friend is truth.” → เพลโตเป็นเพ่ือนของฉนั , อริสโตเติลเป็นเพ่ือนของ ฉนั , แต่เพือ่ นที่ยงิ่ ใหญท่ ่ีสุดของฉนั คือความจริง

แม้ว่ากาลเิ ลโอได้วางพืน้ ฐานและแนวทางในการเรียนรู้ความจริงและกฎเกณฑ์ทางธรรมชาตเิ อาไว้ ให้ นิวตนั ได้ต้งั กฎพืน้ ฐานท่เี ปิ ดประตูสู่การเรียนรู้ทุกสรรพสิ่งบนโลก และไอน์สไตน์ได้สร้างทฤษฎที ่ีเป็ น กุญแจไขความลีล้ ับของจักรวาล แต่ธรรมชาติน้ันยิ่งใหญ่นักยังมีเร่ืองราวท่ีเรายังไม่รู้จริงอีกมากมาย มหาศาลรอให้นักวทิ ยาศาสตร์รุ่นใหม่ได้ศึกษาต่อไป ดงั คาของนิวตันทเ่ี คยบอกว่าตัวเขาเปรียบเสมือนเดก็ ท่ีเล่นอยู่ริมชายฝ่ัง เพลิดเพลินกับการเสาะหาก้อนกรวดเรียบๆ หรือเปลือกหอยท่ีสวยเป็ นพิเศษ ขณะที่ มหาสมุทรแห่งความจริงอนั ยง่ิ ใหญ่ทอดตวั อยู่เบื้องหน้าโดยยงั ไม่ถูกค้นพบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook