Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าในประเทศไทยกับแนวคิดภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์

การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าในประเทศไทยกับแนวคิดภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์

Published by oldtown.su.research, 2021-09-02 05:59:06

Description: โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า:
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า

ความร่วมมือระหว่าง
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords: oldtown,culture,thailand

Search

Read the Text Version

คณุ คา และความสาํ คญั ของการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา การต้ังถิ่นฐานและการกอรางสรางเมืองในอดีตเปนผลลัพธจากความพยายามของมนุษยที่จะ สรางสรรคบานเรอื นทอ่ี ยอู าศยั และองคป ระกอบของเมือง ทวา อยภู ายใตค วามสัมพันธแ ละมีปจจยั ทาง ธรรมชาติเปนทั้งส่ิงสง เสริมและขอจาํ กัด ดงั จะเห็นไดวา ภมู ทิ ศั นของเมอื งในชวงระยะตน ของการสราง บา นแปงเมืองน้ัน จะมีคณุ ลกั ษณะท่ีแสดงออกถงึ ความเคารพเกอื้ กูลกบั สงิ่ แวดลอมทางธรรมชาติ หรือ ทเ่ี รยี กวา “ภมู ทิ ศั นว ัฒนธรรม (Cultural Landscape)” แตเมื่อเมอื งมีพฒั นาการทางสงั คม วัฒนธรรม เศรษฐกจิ ทซ่ี บั ซอ นมากขน้ึ บทบาทและความโดดเดน ของสงิ่ แวดลอ มทางธรรมชาตไิ ดล ดลงและถกู แทนท่ี ดวยความเปนเมอื ง (Urbanization) ที่โดดเดน ขึน้ และทาํ ใหภ ูมิทศั นในภาพรวมของเมืองเกา สอดคลอ ง กบั นิยามความหมายของ “ภูมทิ ัศนเมอื งประวัตศิ าสตร (Historic Urban Landscape)” จากพฒั นาการของเมืองเกาตา งๆ ทดี่ ําเนนิ มาตลอดหนาประวตั ิศาสตรมีปฏิสัมพนั ธกับบริบท แวดลอ มทั้งภายในและภายนอก ทําใหเมอื งเกา เปนแหลง รวบรวมองคค วามรูในหลากมิติ และเปนพนื้ ท่ี รวบรวมความหลากหลายทางวฒั นธรรม เมอื งเกา จงึ มคี ณุ คา อยา งยงิ่ ในฐานะพนื้ ทที่ แ่ี สดงออกถงึ พลงั ของ พัฒนาการทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรมตอสังคมในอดีตเปนรากฐานสําคัญของพลวัตท่ี เปนอยใู นสงั คมรว มสมยั นอกจากนี้ เมืองเกาหลายเมอื งยงั คงธาํ รงบทบาทการทาํ หนาทเ่ี ปน ศนู ยกลาง ทางธรุ กิจและอตุ สาหกรรมที่หลากหลายโดยมพี ฒั นาการสืบทอดมาจากอดีตอันเกา แกอีกดวย จะเห็นไดวาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมเปนสิ่งท่ีมีพลวัต สรางความเคล่ือนไหวใหเมืองมีชีวิตชีวา สรา งสภาพแวดลอมที่กระตนุ ใหเกดิ การบมเพาะความคดิ สรา งสรรค และดึงดดู ผูคนท่ีหลากหลายใหเ ขา มามีสวนรวมในการอนุรักษและพัฒนาเมือง ดวยเหตุน้ีการสรางกลยุทธโดยใชวัฒนธรรมเปนธงนําจึง เปนการสรางความหมายของการใชสอยเมืองเกาอยางตอบโจทยตอสังคมรวมสมัยท่ีไมเปนการลดทอน คณุ คา ดา นตางๆ ลง และยังเปนการผนวกใหพ ลเมอื งในทองถิ่นของเมอื งเกา ไดเ ขามามสี ว นรวมผานการ เสรมิ สรา งความเขมแข็งของวฒั นธรรมทอ งถน่ิ ตลอดจนประยุกตส บู ริบทรว มสมยั และความภาคภมู ใิ จ ของชมุ ชน รวมถงึ เอกลกั ษณท อ งถนิ่ ไปไดใ นคราวเดยี วกนั มรดกเมอื งเกา ทง้ั ทจ่ี บั ตอ งไดแ ละจบั ตอ งไมไ ด มคี วามสาํ คญั อยา งยงิ่ ตอ การใชส อยในปจ จบุ นั และอนาคต เนอ่ื งจากเปน ปจ จยั สง เสรมิ ความคดิ สรา งสรรค นวตั กรรม ตลอดจนการฟนฟูชุมชน10 จากคุณคาและความหมายท่ีกลาวมา จะเห็นวาในการบริหารจัดการเมืองเกาจึงจําเปนตอ งมี กระบวนการอนุรักษแ ละพัฒนาเมอื งเกาอยา งเหมาะสม รวมไปถงึ มกี ารขบั เคลอ่ื นใหเ ปนประเดน็ สาํ คญั ในระดับนโยบายสาธารณะ นอกจากนี้ กระบวนทัศนของการอนุรักษและพัฒนาในปจจุบันไดมีความ เปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ ทีใ่ หความสาํ คญั กบั สิง่ กอ สรางในลักษณะของอนสุ รณสถาน หรือสถานทม่ี คี วาม สาํ คญั ทางกายภาพ มาสูการใหความหมายกบั สิ่งท่มี ีความสาํ คญั ตอ สงั คม วัฒนธรรม และกระบวนการ ทางเศรษฐกิจ แมวาสิ่งกอสรางนั้นจะไมใหญโตหรือเคยรับใชศาสนา และชนช้ันสูงก็ตาม ทวาเปนสวน หน่ึงของการใชสอยโดยชุมชนและสังคม ทั้งนี้ นโยบายและแนวทางในการอนุรักษคุณคาของเมืองเกา และการพัฒนาท่เี หมาะสมมีความจาํ เปน ตอ งปรบั เปลย่ี น รวมไปถึงควรใหค วามสําคัญตอ การออกแบบ เคร่อื งมอื และกระบวนการทาํ งานใหมเ พ่ือตอบรบั กับนโยบายดงั กลา ว 10 UNESCO. (2013). New life for historic cities: the historic urban landscape approach explained. p. 5. การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 99

การบริหารจดั การเมืองเกาตา งๆ จึงตองมกี ารวางวสิ ัยทัศนของการบรหิ ารจดั การเมืองเกาบน รากฐานของการอนุรักษและพัฒนาทม่ี เี ปาหมายเพือ่ การพฒั นาอยา งย่ังยืน รวมถึงมีการจดั ทําผงั แมบท และแผนแมบทเพื่อใชวางแนวทางการปฏิบัติท่ีเหมาะสมตอการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาดวยการ สนับสนุนของภาครฐั ภาคเอกชน และชุมชน โดยนาํ ไปปฏบิ ัติใชใ หมีเปาหมายเพ่อื การพิทกั ษ และเพม่ิ ศกั ยภาพในสงิ่ แวดลอ มสรรคส รา งของเมอื งเกา อยา งมคี ณุ ภาพ รวมทง้ั เพอ่ื สรา งสมดลุ ทม่ี คี วามเหมาะสม ตอการพัฒนาบนฐานคิดของการอนุรักษและสอดคลองกับแนววิสัยทัศนวาดวยการพัฒนาที่ย่ังยืนอัน เปนกรอบแนวทางในระดับสากล เมอื งเกา จงึ เปน ตน ทนุ สาํ คญั ในการพฒั นาและเพมิ่ ศกั ยภาพของเมอื งเกา ในบรบิ ทสงั คมรว มสมยั โดยเฉพาะมิติของการพัฒนาเศรษฐกิจ และการอยูรวมกันของพลเมืองในเมืองเกาภายใตบริบทสังคม รว มสมัย โดยเฉพาะในสถานการณป จ จบุ ันซึ่งเปนหวงเวลาทีส่ ภาพแวดลอ มมีการเปล่ยี นแปลงอยา งสงู และเปน สญั ญาณวาถงึ เวลาทมี่ นษุ ยต อ งปรบั เปล่ียนวิถี ตอ งใชท รพั ยากรตา งๆ อยา งเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ เคร่อื งมอื ดา นการวางผังเมืองและการบรหิ ารจดั การ การอนุรักษ และการพัฒนาที่ เหมาะสมจะกลายเปนกลยุทธสําคัญในการสรางความสมดุลระหวางการเติบโตของเมืองและคุณภาพ ชวี ิตบนพืน้ ฐานของความยัง่ ยนื เมอื งเกากับสิง่ คุกคามตอ คุณคา จากการสํารวจขององคก ารสหประชาชาติพบวา ในปจจบุ นั ประชากรเกินกวา คร่ึงหน่ึงของโลก อยอู าศยั ในเมือง และเปน ชว งเวลาที่มนษุ ยโ ยกยา ยถ่ินฐานเขามาสูเมืองมากท่สี ดุ ในหนา ประวัติศาสตร ทาํ ใหเ มืองทวีความสําคญั มากขึน้ ในฐานะกลไกสาํ คญั ของการพัฒนา ท้ังนี้ การยายเขา มาอยอู าศัยของ พลเมืองชนบทเขาสูเมืองยังสงผลทําใหเกิดความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเกิดการเปลี่ยนแปลง การใชส อยเมอื งอยา งกะทนั หนั หากขาดมาตรการทางผงั เมอื ง และการจดั การทเ่ี หมาะสม จะกลายเปน ปญ หาการคุกคามรูปแบบใหมท เ่ี กดิ ข้ึนกบั เมอื งเกา 11 โลกาภวิ ตั นจ ากโลกภายนอกทโี่ อบลอ มเมอื งเกา ตลอดจนกระบวนการกลายเปน เมอื งทเี่ กดิ ขน้ึ อยา งรวดเรว็ โดยปราศจากการวางแผนที่มีความรัดกมุ จะนํามาซึง่ ปญ หาและความทาทายใหมๆ เกดิ ขึน้ กับเมอื งเกา เนอ่ื งจากเมืองเกาทส่ี รางบา นแปงเมืองขึน้ มาในอดีตน้ัน เปน ผลลพั ธที่เกิดขน้ึ ภายใตปจจยั แวดลอ มทางธรรมชาติ และพฒั นาการของมนษุ ยเ กดิ ขนึ้ บนปจจยั ของบริบทแวดลอ มท่ีไมซบั ซอนเทา ภาวะที่เกิดขึน้ ในปจ จบุ ัน และไมไดออกแบบมาเพอ่ื รองรบั การต้ังถนิ่ ฐานทีเ่ ขมขนมาก ตลอดจนไมไ ดถ ูก ออกแบบมาเพื่อเผอ่ื ไวสาํ หรับการพฒั นาแบบไรข ีดจํากดั กอใหเ กิดความแออดั ในการใชส อยพืน้ ที่ การ ขาดพน้ื ทสี่ าธารณะ และขาดสง่ิ อาํ นวยความสะดวกในชวี ติ ประจาํ วนั ตลอดจนขาดแคลนการบรกิ ารจาก โครงสรางพื้นฐานดานตางๆ อยางเพียงพอ อาทิ ปญหาการจราจรภายในเมืองเกา ระบบสุขาภิบาล ระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ อันรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงหนาที่การใชสอยอาคารในเมืองเกา 11 Nancy Duxbury, Jyoti Hosagrahar and Jordi Pascual. (2016). Why Must Culture Be at the Heart of Sustainable Urban Development ?. the world association of United Cities and Local Governments (UCLG). 100 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สง ผลใหเ กดิ ปญ หาสขุ ภาพของผอู ยอู าศยั ในเมอื งเกา สรา งความเหลอื่ มลาํ้ และทาํ ใหเ กดิ ปญ หาความยากจน จากการ เพมิ่ ขน้ึ ของจาํ นวนประชากรอยา งรวดเรว็ เกนิ กวา ขดี จาํ กดั ความสามารถของเมอื งทจ่ี ะรองรบั ได การกอ สรา งอาคาร ทม่ี คี วามหนาแนน สงู เกนิ สมควร ตลอดจนเกดิ การพฒั นาใหมแ ละการกอ สรา งใหมข น้ึ ไดท าํ ลายคณุ คา ของเมอื งเกา ลง การสญู เสยี พื้นท่สี าธารณะ และส่งิ อํานวยความสะดวกของเมือง ตลอดจนการมโี ครงสรางพนื้ ฐาน และระบบ สาธารณปู โภคสาธารณปู การ โครงสรา งพน้ื ฐานทไ่ี มเ หมาะสม ลว นแตเ ปน สงิ่ ทล่ี ดทอนคณุ ภาพชวี ติ ของพลเมอื งท่อี ยู อาศัยในเมอื งเกา ปญ หาตา งๆ ทก่ี ลา วมาขา งตน สง ผลกระทบตอ คณุ ภาพชวี ติ ของพลเมอื งและสงั คม ทาํ ใหเ กดิ สงั คมปจ เจก เนอื่ งจากขาดพื้นทแี่ หง ความเกอื้ กูลกัน กลายเปน สังคมแยกสว นทม่ี องเรื่องของปจเจกมากกวาเรอื่ งของสว นรวม นอกจากนี้ ยังขาดการสงเสริมโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สงผลกระทบใหเกิดความยากจนของพลเมือง และการใชทรัพยากรอยางไมยั่งยืน อาจกลาวไดวาปจจัยที่กลาวมาท้ังหมดนั้นตางเปนเหตุใหกระบวนกลายเปน เมืองและการเติบโตของเมืองเกาดําเนินเปนไปในทิศทางที่ทําลายคุณภาพของเมือง ซ่ึงปญ หาตา งๆ เหลา นไี้ ด เปน ปญหาทคี่ ุกคามเมอื งเกาท่ัวโลก เมืองเกากับการถูกคกุ คามในรูปแบบตางๆ ทั้งกระบวนการกลายเปนเมืองแบบไรก ารวางแผน การใชเ มืองเกา เพอื่ ธุรกิจ และการแสวงหาผลประโยชนจากการตลาดอยางเกินพอดี การทองเที่ยวที่เนนแตปริมาณของนักทองเท่ียว และการ เปลย่ี นแปลงของสภาวะอากาศซึ่งเปนภัยคกุ คามทสี่ งผลกระทบอยา งมากกับเมืองเกา ปรบั ปรงุ จาก: UNESCO. 2013. New life for historic cities: the historic urban landscape approach explained. Paris: UNESCO. P. 5. การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 101

ความเปลยี่ นแปลงทพ่ี บนน้ั มรี ูปแบบทหี่ ลากหลาย ท้งั การรือ้ ถอนอาคารทางประวตั ิศาสตรใน เมืองเกาลง หรือการเปล่ียนแปลงหนาท่ีใชสอยโดยไมมีการศึกษาถึงความเหมาะสม หรือการกอสราง ใหมท่ีสรางความหนาแนนจนเกิน “ขีดจํากัดความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity)” ท่ี เมอื งเกาท่ีจะรองรับได นอกจากนี้ ยงั พบวาการกอ สรา งอาคารใหมมกั ใชร ูปแบบทางสถาปตยกรรมทเ่ี หมือนกนั เพ่ือ ลดตนทนุ การออกแบบกอสรา ง ทําใหเกดิ รปู แบบทางสถาปต ยกรรมทม่ี ีความซํา้ ซากจําเจ และเปนการ ออกแบบที่ไมแสดงถึงพลังแหงความคิดสรางสรรคและการแกไขปญหาผานการออกแบบที่เขาใจใน บริบทพ้ืนทีต่ ง้ั อยา งทค่ี วรจะเปน นอกจากนี้ ยังมีปจจัยคุกคามจากภายนอก คือ กระแสโลกาภิวัตนท่ีสรางความเปล่ียนแปลง อยางรุนแรง ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงแบบใหมๆ ที่เกิดในเมืองเกาไดเพ่ิมจํานวนมากข้ึน ทวาความ เปลยี่ นแปลงดงั กลา วนนั้ ยงั ไมไ ดถ กู ตง้ั คาํ ถาม ตรวจสอบและประเมนิ วา สง ผลกระทบตอ เมอื งเกา อยา งไร ดังจะเห็นไดวา ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วไดคุกคามตออัตลักษณทองถ่ินท่ีมีในเมืองเกา และคุกคามตอความครบถว นสมบูรณของภาพทัศนเมือง (Visual Integrity of Cities) ซึ่งเมืองเกา ได สั่งสมขึน้ มาจากวฒั นธรรมเฉพาะตวั จนกลายเปนความโดดเดน และพฒั นาการของเมอื งที่สัมพนั ธกับ ประวตั ศิ าสตรใ นชว งเวลาตา งๆ ตา งกไ็ ดร บั ผลกระทบโดยตรงจากกระบวนการกลายเปน เมอื งทปี่ ราศจาก การควบคุมท่มี ปี ระสิทธภิ าพ อันนาํ ไปสูความเสือ่ มโทรมและการทําลายมรดกของเมือง การคุกคามตอ อัตลกั ษณแ ละวัฒนธรรมทองถ่ินของชมุ ชน รวมทั้งสํานกึ ในถน่ิ ที่ (Sense of Place) ของพลเมืองดว ย “การทองเที่ยวที่เนนปริมาณ (Mass Tourism)” ในบางเมืองเปน “การทองเที่ยวที่ลนเกิน (Over Tourism)” หมายถึง “ผลกระทบจากการทอ งเทีย่ วที่มีตอแหลง หรอื สวนใดสว นหน่ึงของแหลง ที่สงผลกระทบอยางมากตอวิถีชีวิตของพลเมือง หรือใหประสบการณทางลบกับผูมาเยือน” 12 ใน ปจ จุบันไดส รา งผลกระทบกบั พ้นื ทท่ี ีม่ ีความเปราะบางสงู โดยเฉพาะระบบนเิ วศน รวมทง้ั พน้ื ทเ่ี มอื งเกา ที่ไมไดถูกออกแบบมาเพื่อรองรับผูมาเยือนที่มีจํานวนมาก ทําใหเกิดสภาวะการแยงชิงทรัพยากรและ สาธารณปู โภคตา งๆ ทม่ี อี ยอู ยา งจาํ กดั ออกไปจากคนทอ งถน่ิ เพอ่ื บรกิ ารใหแ กน กั ทอ งเทย่ี ว นอกจากน้ี การ ทองเที่ยวที่เนนปริมาณยังเปนปจจัยเรงเราใหเกิดความเปลี่ยนแปลงตอพ้ืนที่อยางรุนแรงและบอยคร้ัง พบวาสงผลตอการร้ือถอนอาคารทรงคุณคาทางประวัติศาสตร หรือมรดกสถาปตยกรรมพื้นถ่ินท่ีอยู อาศัยของคนในทองถิ่นลง เพ่ือนําไปพัฒนาเปนสิ่งอํานวยความสะดวกแกนักทอ งเที่ยว ในการพิจารณาเรอื่ งการทองเท่ยี วกบั พ้ืนท่ีเมืองเกา นั้น จะตองกาวขามจากการมองเพียงแค จาํ นวนของนักทอ งเท่ียว แตตอ งพิจารณาวา การบรหิ ารจดั การกับการทอ งเที่ยวในเมืองเกาน้ันจุดสมดุล และขดี จาํ กดั ความสามารถในการรองรับกับนกั ทอ งเทยี่ ว13 สภาพทางกายภาพของเมอื งเกา ส่ิงอํานวย ความสะดวกสาํ หรบั การทอ งเทย่ี วเมอื งเกา ทมี่ อี ยอู ยา งเพยี งพอ ตลอดจนผลกระทบทจี่ ะเกดิ ขนึ้ กบั สงั คม วฒั นธรรม และเศรษฐกิจของชมุ ชนทอ งถิ่น 12 UNWTO. (2018). ‘Overtourism’? – Understanding and Managing Urban Tourism Growth beyond Per- ceptions, Executive Summary. Spain: Centre of Expertise Leisure, Tourism & Hospitality. P.4. 13 เพงิ่ อาง. p.5. 102 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การพัฒนาอยางไมสมดุลและไมใหความสําคัญกับแนวทางการพัฒนาท่ียั่งยืนที่เปน ระเบียบวาระสําคัญของนานาชาติ ตลอดจนไมเคารพคุณคาในมิติตางๆของเมืองเกา ท้ังที่เกิดขึ้น จากความรเู ทาไมถ ึงการณหรอื เกิดจากความจงใจ ตลอดจนการขบั เคลือ่ นเมอื งโดยขาดการวางผงั แมบทและแผนแมบทเพอ่ื วางแนวทางของการบริหารจดั การเมอื งเกา ไปสเู ปาหมาย หรอื แมว า จะ มแี ผนฯ แตบ อ ยครง้ั ทพ่ี บวา ไมม กี ารขบั เคลอ่ื นการปฏบิ ตั งิ านใหเ ปน ไปตามแผนฯ หรือแมแตมีการ ขบั เคลอื่ นแตโ ครงการหรอื กจิ กรรมนนั้ ไมส ะทอ นความเชอื่ มโยงกบั แผนฯ ซงึ่ ทาํ เมอื งเกา อยใู นสภาวะ ทม่ี ปี ญ หารมุ เรา หลายดา น และเกดิ ปญ หามลภาวะดา นตา งๆ เพม่ิ ความเสยี่ งตอผลกระทบที่จะเกิด ข้ึนจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และภยั พิบตั ิทางธรรมชาติทีจ่ ะสงผลกระทบตอ เมอื งเกา ก็มแี นวโนม ทจี่ ะทวคี วามรนุ แรงมากข้นึ ดวย ในการนี้ จงึ มีความจําเปน เรงดวนตอ งเรง สรางกลไกในการบริหารจัดการเมอื งเกา บนฐาน ของการอนุรักษแ ละพฒั นาท่สี มดลุ มีการวางแผนเพอื่ รบั มอื กระบวนการกลายเปน เมอื งท่ไี มม กี าร วางแผนท่ีเหมาะสมและไมม กี ารศกึ ษาผลกระทบทร่ี อบดาน เพราะการคุกคามคุณคา ของเมืองเกา ซึ่งเกิดข้ึนจากการเติบโตของเมืองอยางรวดเร็วโดยปราศจากการควบคุมจะสงผลกระทบตอสังคม และสภาพแวดลอ มของเมอื งเกา ใหเ กดิ การเสอื่ มสภาพลงอยา งรนุ แรง ซงึ่ ขยายผลกระทบไปยงั ชมุ ชน ที่อยูในเมืองเกาและชุมชนรายรอบดว ยนน่ั เอง การอนรุ ักษและพัฒนาเมอื งเกากับเปาหมายการพฒั นาที่ย่ังยืน จากคณุ คา และความสาํ คญั ของเมอื งเกา จงึ มคี วามจาํ เปน ตอ งเรง สรา งกลไกในการบรหิ าร จัดการเมืองเกา บนฐานของการอนรุ ักษแ ละพัฒนาทส่ี มดลุ มกี ารวางแผนรบั มอื กระบวนการกลาย เปน เมอื งท่ไี มม ีการวางแผนทเี่ หมาะสมและไมม ีการศกึ ษาผลกระทบทรี่ อบดาน เพราะการคุกคาม คุณคาของเมืองเกาซึ่งเกิดจากการเติบโตของเมืองอยางรวดเร็วโดยปราศจากการควบคุมจะสง ผลกระทบตอสังคมและสภาพแวดลอมของเมืองเกาใหเกิดการเส่ือมสภาพลงอยางรุนแรง และจะ ขยายผลกระทบตอไปยังชุมชนท่อี ยูใ นเมืองเกาและชุมชนรายรอบดว ยนนั่ เอง การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาใหธํารงรักษาคุณคาทามกลางสังคมรวมสมัยเปนพันธกิจ สําคัญท่ีสอดคลองกบั “เปาหมายการพฒั นาท่ียง่ั ยืน (Sustainable Development Goals” หรอื “SDGs” ซงึ่ เปน พมิ พเ ขยี วทบ่ี รรจวุ าระสาํ คญั ในระดบั นานาชาตโิ ดยรว มกนั ขบั เคลอ่ื นเพอื่ ไปสจู ดุ หมาย ที่จะทําใหม นุษยและส่ิงแวดลอ มมีความยง่ั ยนื การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาไดสอดรับกับเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนในหลาย ประเดน็ อาทิ เปาหมายท่ี 1 วาดวย “การขจดั ความยากจน (Na Poverty)” หากมีการอนุรกั ษ และพัฒนาเมืองเกาอยางเหมาะสมแลวน้ัน เมืองเกาจะเปนตนทุนสําคัญในการสรางรายไดใหแก ชุมชนทองถน่ิ รวมไปถงึ ประเทศชาติ โดยเฉพาะอยา งย่ิง หากมีการทองเท่ยี วทางวัฒนธรรมยอ ม จะสรางรายไดกระจายไปยังภาคสวนตางๆของสังคมและชุมชน นําไปสูเปาหมายของการพฒั นาท่ี ยัง่ ยืน เปาหมายท่ี 8 คือ “มอี าชพี ท่เี หมาะสมและเมอื งมีเศรษฐกจิ ทเ่ี ติบโต (Decent Work and Economic Growth)” ในการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกามีความทาทายอยา งสูงในบริบทสังคม การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 103

รวมสมัย เพราะเมอื งเกาไมอาจพงึ่ พาแตก จิ กรรมการทองเทยี่ วได และหากจะพึง่ พาอาศัยแตการทองเที่ยวเพียง อยางเดียว เมืองเกาก็ไมอาจเปนเมืองเกาที่มีความย่ังยืนได เพราะฉะนน้ั เมืองเกาตอ งไดรบั การอนรุ ักษแ ละ พัฒนาบนฐานของการรองรับการอยอู าศัยของผคู น รองรบั ประเภทของกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย ตลอดจนรองรับ การประกอบธุรกิจซึง่ สอดคลองกบั ความตองการของผคู นไดอยา งเหมาะสมโดยไมลดทอนคุณคา ของเมืองเกา การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาใหตอบโจทยการใชสอยรวมสมัยยังตองการ “อุตสาหกรรม นวตั กรรม และโครงสรางพื้นฐาน (Industry, Innovation and Infrastructure)” ซึ่งเปน เปา หมายการพฒั นาที่ยงั่ ยนื ลาํ ดบั ที่ 9 เนอื่ งจากเมอื งเกา ตอ งการการพฒั นานวตั กรรม และโครงสรา งพน้ื ฐานทที่ นั สมยั เพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพใหกับเมอื ง เกา ในการรองรบั การอยูอาศยั และกจิ กรรมตา งๆ ของผูคนในเมืองเกา นอกจากน้ี เมื่อเมืองเกาทําหนาที่เปนท่ีอยูอาศัยของพลเมือง และมีความจําเปนตองไดรับการบริหาร จัดการท่ีมีประสิทธิภาพบนฐานของการมุงสูความยั่งยืนแลว ยอมสงผลตอเปาหมายของการพัฒนาที่ย่ังยืนใน เปา หมายท่ี 3 คือ “สุขภาพและความเปนอยูท่ีดี (Good Health and Well Being)” และเปาหมายที่ 6 คอื “มนี า้ํ สะอาดมีระบบสขุ าภบิ าลทีด่ ี (Clean Water and Sanitation)” เปาหมายที่ 11 คอื “เมอื งและชุมชนท่ี ยัง่ ยืน (Sustainable Cities and Communities)” ซ่ึงเปนเปา หมายสาํ คญั ของการอนุรกั ษและพฒั นาเมืองเกา เพือ่ ใหเ มอื งเกาทาํ หนา ทร่ี องรับการต้งั ถิ่นฐานการอยูอ าศยั ตลอดจนเปนเมอื งท่ีมพี ลวตั ทางการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม สามารถสบื ทอดคณุ คาหลากมติ ิทกี่ อ รูปผานกาลเวลามาอยางยาวนานไปเปน ตนทนุ สาํ คัญของ ผูค นในอนาคตสืบตอ ไป เปาหมายการพัฒนาทยี่ ั่งยืน (Sustainable Development Goals) ท้งั 17 ดา น 104 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กลไกและมาตรการสง เสรมิ การอนรุ กั ษ และพฒั นาเมอื งเกา ของไทย “เมืองเกาท่ียังมีพลวัต” มีคุณคาและความหมายตอบโจทยการอยูอาศัย การดําเนิน ธุรกจิ กจิ กรรมทางสังคม ตลอดจนวฒั นธรรมตางๆ อยา งไรก็ดี พลวตั ของกิจกรรมทางสังคมอันมี ท่ีเกิดขึ้นในเมืองเกาดังกลาวนั้น หากไมมีการวางแผนการบริหารจัดการอยางเหมาะสมก็อาจเปน การคุกคามคุณคาของเมืองเกา ใหเส่อื มสภาพลง ท้งั ทเี่ ปน การเสื่อมสภาพลงขององคประกอบของ มรดกทางวัฒนธรรมทางกายภาพ (Tangible Cultural Heritage) และมรดกวัฒนธรรมจับตอง ไมได (Intangible Cultural Heritage) ซึ่งองคประกอบของมรดกเมืองน้ีถือวาเปนตนทุนสําคัญ ในการสรางพลวัตและการฟนฟูเมอื งเกา บนฐานของการอนุรกั ษแ ละพัฒนาไปสคู วามยัง่ ยืน กรอบแนวคิดหลกั จงึ มีแนวทางการพัฒนาอยบู นฐานของการอนรุ กั ษ กลา วคือ หากมกี าร บริหารจัดการเมืองเกาอยางเหมาะสมบนฐานของการใหคุณคาและความหมายตามบริบทของ เมอื งเกาแตละเมอื ง ทวาตอ งตอบโจทยก ารใชสอยความตองการในบรบิ ทรว มสมัย เพราะวา มรดก เมืองเกา ไมไ ดหมายถงึ คณุ คา ทีส่ บื ทอดมาจากอดีตแตเ พียงอยางเดียว หากแตม ีคุณคาสาํ หรับการ พัฒนาในอนาคต ทั้งนี้ ในการบริหารจัดการเมืองเกาเพ่ือความย่ังยืนตองเกิดข้ึนจากกระบวนการ รบั ฟง ความคดิ เหน็ การรว มตดั สนิ ใจของผมู สี ว นได- เสยี ทอ่ี ยอู าศยั และผทู เี่ กย่ี วขอ งกบั เมอื งเกา ดว ย การบรหิ ารจดั การอนั มปี ระสทิ ธภิ าพดงั กลา วนนั้ จะทาํ ใหเ มอื งเกา ทาํ หนา ทเ่ี ปน กลไกสาํ คญั ของการ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต และสงั คมอยางย่ังยนื ได อยางไรก็ตาม เนื่องจากเมืองเกายังมีพลวัตดํารงบทบาทในบริบทสังคมรวมสมัยซ่ึงมี ความเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา เพราะฉะนั้น การบริหารจัดการเมืองเกาไปสูความยั่งยืนจึงเปน ส่ิงที่มีความทาทายมาก เน่ืองจากตองการใชองคความรูหลากมิติอันเกิดจากศาสตรท่ีกวางขวาง และหลากหลาย ตองมีการจัดเกบ็ ขอ มลู ตา งๆ อยา งครบถว นและเปนระบบ ตลอดจนมีการศึกษา ผลกระทบในทกุ แงม มุ เพราะในปรากฎการณแ ตล ะสง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเมอื งลว นแลว แตโ ยงใยสมั พนั ธก นั อยา งใกลช ดิ และมคี วามเปลยี่ นแปลงอยตู ลอดเวลา จงึ มคี วามจาํ เปน ทตี่ อ งเกบ็ ขอ มลู ตา งๆ เพอ่ื ใช สาํ หรบั การวเิ คราะห วางแผนปฏบิ ตั งิ าน และการคาดการณถ งึ ผลกระทบทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ ตลอดจน รายละเอยี ดในประเดน็ ตา งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั เมอื งเกา ในการบริหารจัดการเมืองเกาจึงมีแนวทางปฏิบัติที่หลากหลายขึ้นอยูกับบริบทแวดลอม อันซับซอนและคุณลักษณะเฉพาะตัวของแตละเมือง ดังจะเห็นไดวาในการบริหารจัดการเมืองเกา บางเมืองอาจใชวิธีการกําหนดพ้ืนท่ีเพ่อื การพัฒนาใหม และสามารถรองรับกิจกรรมท่ีสืบเน่อื งจาก ความตองการใหมๆ ซึ่งในบางกิจกรรมน้ันอาจจะขัดแยงหรือลดทอนคุณคาของเมืองเกาลง หรือ บางกจิ กรรมแมจ ะไมไ ดข ดั แยง กบั คณุ คา ของเมอื งเกา ทวา มคี วามเขม ขน ของการใชส อยมากจนอาจ สงผลกระทบกับเมอื งเกา จงึ มกี ารวางผงั เมอื งใหมเ พอื่ กําหนดใหแยกกจิ กรรมเหลา นอ้ี อกไปอยใู น พนื้ ท่ีสว นการพัฒนาใหม ทวายังคงคํานึงถึงความเช่ือมโยงของพื้นที่ทั้งสองเขาดวยกันในลักษณะ พ่ึงพากัน หรือแบงเบาภาระของเมืองเกา เน่ืองจากพ้ืนท่ีพัฒนาใหมน้ันสามารถพัฒนาโครงสราง การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 105

พื้นฐานท่ีมีรูปแบบและขนาดเหมาะสมสอดคลองกับความตองการและการขยายตัวในอนาคต จึงเปนการแบงเบาภาระขีดจํากัดความสามารถในการรองรับของเมืองเกาลง รวมไปเปนการลด ความตึงเครียดและลดชองวางของขอ จาํ กดั ระหวา งการอนรุ กั ษแ ละการพฒั นาใหแ คบลง ควบคกู บั การดาํ เนนิ มาตรการอนรุ ักษเ มอื งเกาโดยใหค วามสาํ คัญกับคณุ คาดา นตา งๆ ขององคป ระกอบของ เมืองเกาที่มีคุณคาดานตา งๆ อาทิ ความสมบูรณ (Integrity) ความเปน ของแทด ง้ั เดมิ (Authen- ticity) และระบบนิเวศของเมือง (Ecology) กลไก และมาตรการภาครฐั ในการสง เสรมิ การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา (1) แนวทางการบริหารจดั การ กลไกการบริหารจัดการเมืองเกาของหนวยงานภาครัฐน้ัน อาศัยอํานาจตาม “ระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกา พ.ศ. 2546” แตงตั้งคณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาแตละเมือง เพื่อกําหนดนโยบาย แผนงาน มาตรการ และแนวทางเกี่ยวกับการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา และใหการอนุรักษและพัฒนา เมืองเกาดําเนินไปอยางมรี ะบบและมปี ระสิทธภิ าพ รวมทงั้ การประชาสมั พันธ และสงเสรมิ ใหภ าค เอกชนและประชาชนไดมีสวนรวมในการอนรุ ักษ และพฒั นาเมืองเกา ใหเ ปนมรดกทางวฒั นธรรม ทส่ี ืบทอดความเจริญรุงเรืองทางดานศิลปวัฒนธรรมของชาติตลอดไป (2) การสง เสริมและรักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอม14 สาํ หรบั การสง เสรมิ และการรกั ษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ มนน้ั อาศยั อาํ นาจตาม “พระราชบญั ญตั ิ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535” และ “พระราชบัญญัติสงเสริมและ รักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหง ชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562” เพื่อกาํ หนดใหพน้ื ทเ่ี มอื งเกาเปนเขต อนุรักษและพ้ืนที่คุมครองส่ิงแวดลอม เพ่ือรักษาสภาพแวดลอมและกําหนดแนวทางการพัฒนาท่ี เหมาะสมกบั ศกั ยภาพ บทบาท ความสาํ คญั ในแตล ะพน้ื ท่ี ซงึ่ จะใชเ ปน แนวทางในการออกขอ บญั ญตั ิ หรือขอบงั คบั ควบคมุ ทมี่ มี าตรการปกปอ งคมุ ครองพนื้ ที่เมอื งเกา (3) การอนุรกั ษโบราณสถานและสถานทีท่ ่ีมีคุณคา และความสาํ คญั สาํ หรบั การอนรุ กั ษโ บราณสถานและสถานทที่ ม่ี คี วามสาํ คญั นนั้ อาศยั อาํ นาจตาม “พระราช- บัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พ.ศ. 2504 แกไขเพ่ิม เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศลิ ปวัตถุ และพพิ ิธภัณฑสถานแหงชาติ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2535” ในการปกปอ งและคมุ ครองมรดกทางวฒั นธรรม โดยประกาศใหอ าคารหรอื สถานท่ี ท่ีมีคุณคาและความสําคัญท่ียังไมไดรับการข้ึนทะเบียนเปนโบราณสถานใหมีการข้ึนทะเบียนและ 14 สถาบนั วจิ ยั และใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร. ชุดความรดู า นการอนรุ กั ษ พัฒนา และบริหารจดั การ เมืองเกา เลมที่ ๓ ระเบียบ กฎหมาย และขอบังคับที่เก่ียวของกับการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ใน ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2556. หนาที่ 36. 106 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ประกาศเขตโบราณสถาน รวมถงึ โบราณสถานทขี่ น้ึ ทะเบยี นแลว กส็ ามารถขยายเขตทดี่ นิ โบราณสถาน ใหมากข้นึ ตามความเหมาะสม เพ่ือสรางพืน้ ทค่ี ุม ครองโบราณสถานท่มี ีประสทิ ธภิ าพยงิ่ ข้ึน (4) การควบคุมการใชป ระโยชนท ี่ดิน การควบคมุ การใชป ระโยชนท ด่ี นิ อาศยั อาํ นาจตามพระราชบญั ญตั กิ ารผงั เมอื ง พ.ศ. 2562 เปน กรอบชน้ี าํ การพฒั นาทางดา นกายภาพในทกุ ระดบั ของประเทศ สมั พนั ธก บั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ดว ยจดุ มงุ หมายเพอื่ การพฒั นาเมอื ง บรเิ วณทเ่ี กยี่ วขอ ง หรอื ชนบทเพื่อคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในภาพ และในสวนที่เกี่ยวของกับเมืองเกา คือ “การสงเสริมทางเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอม เพ่ือดํารงรักษาหรอื บูรณะสถานที่และวัตถทุ ่มี ีประโยชน หรือคณุ คา ใน ทางศิลปกรรม สถาปตยกรรม ประวัติศาสตรหรือโบราณคดี หรือบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม ภูมิประเทศที่งดงามหรือมีคุณคาในทางธรรมชาติ”15 อันเปนไปเพ่ือประโยชนใน ดานตา งๆ แกป ระชาชนโดยสว นรวม พระราชบญั ญัตกิ ารผงั เมือง พ.ศ.2562 ใหน ยิ าม “ผงั เมืองรวม” คอื แผนผัง นโยบาย และโครงการ รวมท้ังมาตรการควบคุมโดยท่ัวไปในพ้ืนที่หน่ึงพื้นที่ใด เพ่ือใชเปนแนวทางในการ พัฒนาเมือง และการดํารงรักษาเมือง บริเวณท่ีเก่ียวของ หรือชนบท ในดานการใชประโยชนใน ทรัพยสิน การคมนาคมและการขนสง การสาธารณปู โภค สาธารณูปการ บริการสาธารณะ และ สภาพแวดลอม เพ่ือบรรลุวัตถุประสงคของการผังเมือง และ “ผังเมืองเฉพาะ” หมายความวา แผนผังและโครงการดําเนินการเพื่อพัฒนาหรือดํารงรักษาบริเวณเฉพาะแหงหรือกิจการท่ี เก่ียวของในเมือง บริเวณที่เกีย่ วของ หรอื ชนบท เพ่ือประโยชนในการสรางเมอื งใหม การพฒั นา เมือง การอนรุ ักษเมือง หรอื การฟน ฟเู มอื ง (5) การควบคุมการกอสรางและดดั แปลงอาคาร การควบคุมการกอสราง และดัดแปลงอาคาร อาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. 2522 แกไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2535 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2543 และ กฎกระทรวงท่ีเกี่ยวของ เพ่ือรักษาสภาพแวดลอม และองคประกอบของเมืองในสวนที่เก่ียวของ กบั อาคารและการใชประโยชนท่ีดินเพื่อปลกู สรางอาคาร ใหเมอื งเกิดความเปน ระเบียบและมคี วาม นา อยู ยอมทําใหป ระชาชนสว นรวมมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ีขน้ึ นอกจากน้ี ยังใหรฐั มนตรวี าการกระทรวง มหาดไทยมอี าํ นาจออกประกาศกระทรวงมหาดไทย และกฎกระทรวงเพื่อควบคุมรายละเอยี ดการ กอสราง ดัดแปลง เคล่ือนยาย ร้ือถอน ใชหรือเปล่ียนการใชอาคาร รวมถึงการกําหนดลักษณะ แบบ รปู ทรง สดั สวน เนอ้ื ท่ี ทีต่ ง้ั ของอาคาร ระดับ เนือ้ ทว่ี า งภายนอกอาคาร หรอื แนวอาคารและ ระยะหรอื ระดบั ระหวา งอาคารกบั อาคารหรอื เขตทดี่ นิ ของผอู นื่ หรอื ระหวา งอาคารกบั ถนนทางเทา หรือที่สาธารณะ มาตรการควบคุมเรอ่ื งปา ย และท่ีวา งรมิ แหลง นํ้าสาธารณะ 15 ราชกิจจานุเบกษา เลม 136 ตอนที่ 71 วันที่ 29 พฤษภาคม 2562. หนาท่ี 28. การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 107

(6) การควบคุมกิจกรรมบางประเภททไ่ี มเ หมาะสม การควบคุมกิจกรรมบางประเภททไ่ี มเ หมาะสมกบั เมืองเกา อาศยั อํานาจตาม “พระราช บัญญัติวาดวยการเขาช่ือเสนอขอบัญญัติทองถิ่น พ.ศ. 2542” “พระราชบัญญัติสภาตําบลและ องคก ารบริหารสว นตําบล พ.ศ. 2537” และ “กฎหมายอ่นื ๆ ท่เี กยี่ วของ” เพ่ือควบคมุ กิจกรรม บางประเภทท่ีไมเหมาะสมกับพ้ืนท่ีเมืองเกา ในรูปประกาศและ/หรือขอบัญญัติทองถิ่นท่ีเอ้ือตอ การนี้ได จะเห็นไดวามีกลไกในลักษณะการปกปองคุมครองดวยมาตรการทางกฎหมายหลาย ประการ แมจะเปนมาตรการท่ีมีความจําเปนในเชิงการปองกันไมใหเกิดการละเมิด ทวาในความ เปน จริงแลว กลไกและมาตรการทางกฎหมายท่รี ดั กมุ เพยี งอยา งเดยี วน้นั ไมไ ดเปน วธิ ที ่ดี ีทส่ี ดุ ของ การคุม ครองปองกนั คุณคา ดานตา งๆ ที่มีอยคู ูก ับเมืองเกา ใหธํารงรักษาไวไ ด จงึ มคี วามจําเปน ตอง สรา งระบบและกลไกในลักษณะแรงจูงใจ และคานยิ มการอนุรักษแ ละพฒั นาเมืองเกาอยา งรคู ุณคา บนแนวทางการบริหารจัดการท่ีสงเสริมกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน ในเมืองเกาใหรวมตัดสินใจ รวมลงมือลงแรงดูแลเมืองเกาดวยตระหนักเห็นคุณคา เล็งเห็นโอกาส ในการพัฒนาเมืองเกาใหเปนทุนทางวัฒนธรรมเปนสินทรัพย ตลอดจนเปนโอกาสตางๆ สําหรับ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และชมุ ชนอยา งยง่ั ยืน ขอ บญั ญัติทองถ่ินเพือ่ การอนุรกั ษแ ละพัฒนาเมอื งเกา การอนุรกั ษและพัฒนาเมืองเกาเพื่อใหธ ํารงรักษาคณุ คา ไวนนั้ สามารถประยุกตระบบ และ กลไกท่ีเหมาะสมกับเมืองเกาแตละเมืองได แตอยางไรก็ตาม การสรางใหกฎ กติกา ขอตกลงท่ี เหมาะสมเปนบรรทัดฐานของแตละเมืองใหเปนกลไกท่ีสําคัญในการควบคุมและสงเสริมใหรักษา คณุ ลกั ษณะเฉพาะตวั ของเมอื งเกา แตล ะเมอื งไวไ ด การออกขอ บญั ญตั ทิ อ งถน่ิ จงึ เปน เครอ่ื งมอื ทสี่ าํ คญั เนอื่ งมาจากกฏระทรวงผังเมอื งรวมน้นั จะมีอายกุ ารบังคับใช 5 ป ทําใหผ ูป ระกอบธรุ กจิ ที่ตอ งการ ใชประโยชนท่ีดินท่ีเขมขนเกินกวาการรองรับในมิติตางๆ ของพ้ืนท่ีจะรองรับไดฉวยโอกาสยื่นแบบ ขออนุญาตกอสรางอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญที่มีการใชสอยที่เขมขนมากเกินกวาขีดจํากัด ความสามารถในการรองรับไดของพ้ืนท่ี มีโอกาสสงผลกระทบกับเมืองเกา ตลอดจนสงผลตอ บรรยากาศของเมืองเกา ในภาพรวม เพราะฉะนนั้ หากมกี ารออกขอ บญั ญตั ทิ อ งถนิ่ จะเปน กลไกสาํ คญั ในการพทิ กั ษร กั ษาคณุ คา ของเมืองจากความเปล่ียนแปลงที่มากเกินจนคุกคามคุณคาของเมืองเกา เนื่องมาจากสาเหตุวา จากขอ บญั ญตั ทิ อ งถน่ิ ไมห มดอายกุ ารบงั คบั ตา งจากกฎกระทรวงผงั เมอื งรวมทมี่ อี ายุ 5 ป ซง่ึ ทาํ ให เกดิ เปน ชอ งวา ง หากมกี ารปรบั ปรงุ แกไ ขเทศบญั ญตั กิ เ็ ปน เพราะความตอ งการปรบั ปรงุ ใหข อ บญั ญตั ิ ทองถน่ิ นั้นมีความเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพในการควบคมุ ท่ีดขี นึ้ 108 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กรณศี กึ ษาการจดั ทาํ ขอ บญั ญตั ทิ อ งถนิ่ ของเทศบาลนครเชยี งใหม1 6 พบวา มกี ารขบั เคลอ่ื น จากความรวมมือ 4 ภาคสวน คือ “ภาครัฐทําหนาท่ีขับเคล่ือนนโยบาย” ไดแก เทศบาลนคร เชียงใหม ดาํ เนนิ การแตง ต้ังคณะกรรมการพิจารณาและปรบั ปรุงเทศบัญญตั เิ ทศบาลนครเชียงใหม มีองคประกอบ คือ “ภาคสวนวิชาการ” ไดแก นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยท่ีมีการจัดการเรียน การสอนดา นสถาปต ยกรรมและการผงั เมอื งในจงั หวดั เชยี งใหม “ภาคสว นวชิ าชพี ” ไดแ ก กรรมธกิ าร สถาปนกิ ลา นนา สมาคมสถาปนกิ สยาม ในพระบรมราชปู ถมั ภ และสดุ ทา ย คอื “ภาคสว นผปู ฏบิ ตั ิ งานที่เกย่ี วของ” ไดแ ก ผมู เี กี่ยวขอ งเกีย่ วกับการบรหิ ารจดั การทางกายภาพของเมืองในเทศบาล นครเชยี งใหม อาทิ ผูบ ริหาร เจา พนักงาน นติ ิกร สว นควบคมุ อาคารและผงั เมือง สาํ นักการชา ง กลุมสงเสริมการพัฒนาเมือง กองวิชาการและแผนงาน ทั้งน้ี ไดจัดกระบวนการหารือถกเถียง อยา งรอบดาน เพ่อื ใหรางเทศบัญญัตนิ ้ัน มคี วามสมดลุ ท้งั มิตวิ ชิ าการ วิชาชีพ และสอดคลองกบั วัตถุประสงคของการอนุรักษและพัฒนาในพื้นท่ีเมืองเกา ตลอดจนสามารถนําไปสูการปฏิบัติได อยา งเหมาะสม สอดคลอ งกับเปาหมายของการอนรุ กั ษและพฒั นาเมอื ง ทวายังเอ้อื ใหป ระชาชนใน พนื้ ที่ไดร ับโอกาสในการพฒั นาพ้นื ทีใ่ นเมอื งเกาไดอ ยา งเหมาะสมตามขอบญั ญตั ิ ในการทาํ งานนนั้ มกี รอบความคดิ วา เทศบญั ญตั ทิ รี่ า งขนึ้ มา มสี ถานะเปน ขอ บญั ญตั ทิ อี่ อก โดยเทศบาลจะตอ งไมข ดั แยง กบั ความในพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 รวมทงั้ ประกาศ อน่ื ๆ อาทิ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื ง กาํ หนดบรเิ วณหา มกอ สรา ง ดดั แปลง บรเิ วณท่วี ดั จาก ริมฝงทั้งสองขางทางของคลองแมขาออกไปขางละ 50 เมตร กฎกระทรวงผังเมืองรวมเมือง เชยี งใหม ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2556 และขอบญั ญตั ิในกฎหมายอื่นๆ ทน่ี าํ มาใชใ นการพิจารณารวมดวย เชน สถานบริการวา ดวยกฎหมายสถานบรกิ าร เปน ตน เมื่อคณะกรรมการพจิ ารณาและปรบั ปรงุ เทศบญั ญตั เิ ทศบาลฯจดั ทาํ รา งเทศบญั ญตั แิ ลว จงึ นาํ เขา สูขน้ั ตอนรบั ฟง ความคดิ เห็นและขอ เสนอแนะ โดยมกี ลุม เปา หมาย คอื ภาคประชาชน ภาค ธรุ กจิ ภาคประชาสังคมและสอื่ มวลชน ภาคสถาปนิกและนักวิชาการดานสถาปตยกรรม เมอ่ื รบั ฟง ความคดิ เหน็ จากกลมุ เปา หมายแลว จงึ นาํ รา งเทศบญั ญตั ฯิ เสนอนายกเทศมนตรี พจิ ารณาใหค วามเหน็ ชอบแลว นาํ เสนอรา งเทศบญั ญตั ฯิ ตอ สภาเทศบาล พจิ ารณาใหค วามเหน็ ชอบ จากนน้ั สภาเทศบาลเสนอรา งเทศบญั ญตั ฯิ ตอ ผวู า ราชการจงั หวดั เชยี งใหมพ จิ ารณา ซงึ่ ในขน้ั ตอนนไี้ ด พจิ ารณารว มกบั โยธาธกิ ารและผงั เมอื งจงั หวดั โดยเมอ่ื ผวู า ราชการจงั หวดั เหน็ ชอบแลว จะเปนขั้น ตอนการเสนอรางเทศบัญญัติฯใหคณะกรรมการควบคุมอาคารพิจารณาเพื่อใหความเห็นชอบ แลว ดาํ เนนิ การสง รา งเทศบญั ญตั ติ อ รฐั มนตรกี ระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาอนมุ ตั ิ และขน้ั ตอนสดุ ทา ย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วาดวย “เทศบัญญัติเทศบาลนครเชยี งใหม เรอื่ ง กาํ หนดบริเวณ หามกอสราง ดัดแปลง หรือเปล่ียนการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภทในทองท่ีตําบลศรีภูมิ ตาํ บลสุเทพ ตาํ บลชางมอ ย ตําบลพระสงิ ห ตาํ บลชางคลาน และตาํ บลหายยา ในเขตเทศบาลนคร เชยี งใหม จังหวดั เชยี งใหม พ.ศ. 2557” ประกาศเมอ่ื วันท่ี 10 กมุ ภาพันธ พ.ศ.2558 (ดตู ัวอยา ง ในภาคผนวก 2) 16 เรียบเรียงจากการบรรยายของอาจารยอิศรา กันแตง อาจารยประจําคณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา นนา ผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นผงั เมอื ง และคณะกรรมการพจิ ารณาและปรบั ปรงุ เทศบญั ญตั เิ ทศบาลนครเชยี งใหมฯ ในโครงการฝก อบรมเสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจ และกระบวนการเรยี นรู การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมืองเกา : เมอื งเกา ในภาคเหนือ วันท่ี 1-2 สิงหาคม พ.ศ.2562 การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 109

ความนาสนใจของเทศบัญญัติเทศบาลนครเชียงใหม พ.ศ. 2557 คือ การขยายขอบเขต นยิ ามของคําวา “อาคารแบบลานนาหรอื แบบพื้นเมืองภาคเหนือ” ใหห มายความวา “อาคารทไี่ ด นําเอาคุณคาและลักษณะเฉพาะทางสถาปตยกรรมลานนาในแตละยุคสมัยดังอาคารตนแบบ ประเภทคุม สถานทีร่ าชการ วัด ตลาด เรอื นรานคา และบา นในเขตเมอื งเกา เชียงใหมมาใชใ นการ ออกแบบกอ สราง หรอื ดดั แปลงอาคาร ทัง้ ในดานรปู ทรงหลงั คา สีอาคาร สวนประดับตกแตง รวั้ กําแพง หรืออ่ืนๆ เพ่อื สง เสริมคณุ คา และบรรยากาศความเปนเมืองเกาของเมืองเชียงใหม” 17 จะเห็นไดวาใหนิยามที่มีความชัดเจนเปนรูปธรรม ดวยมีการยกตัวอยางประเภทอาคาร ประกอบไวท าํ ใหผ นู าํ แนวทางไปปฏบิ ตั นิ นั้ เกดิ ความสะดวก และสอดคลอ งกบั เจตนาของเทศบญั ญตั ฯิ นอกจากนี้ ในเทศบัญญัติยังมีรายละเอียดท่ีเปนประโยชนในการอนุรักษบรรยากาศของเมอื งเกา เชยี งใหมใ นภาพรวม จากการกาํ หนดเฉดสี และสดั สว นของการทาสขี องตวั อาคาร ตลอดจนกาํ หนด คุณลักษณะในแงมุมตา งๆ ของวัสดปุ ูพน้ื ที่วา งดานหนา ของอาคารดว ย นอกเหนอื จากประเด็นของ ลักษณะทางสถาปต ยกรรมท่ีกลาวมาขา งตน เทศบัญญัตเิ ทศบาลนครเชียงใหม ไดก ําหนดพน้ื ทข่ี องการควบคุมตามเทศบญั ญตั ิ โดย จําแนก พ้นื ทอี่ อกเปน 4 สว น ซึง่ สอดคลอ งกบั ขนาดและขอบเขตของพนื้ ของเมืองเกาเชียงใหมท ี่ ไดรับการประกาศตามมติคณะรฐั มนตรี ทง้ั นี้ การจําแนกพน้ื ท่ขี องเมอื งออกเปนสวนๆ น้ี เพื่อให ออกแบบมาตรการควบคุมที่เหมาะสมสอดคลองกับบริบทแวดลอมของพ้ืนที่แตละสวนท่ีแตกตาง กนั นน่ั เอง นอกจากน้ี ยังมี “เมืองเกาสงขลา” ท่ีออกขอบัญญัติทองถิ่นเพื่อการอนุรักษบรรยากาศ ของเมืองเกา โดยออก “เทศบัญญัติเทศบาลนครสงขลาเร่ืองกําหนดบริเวณหามกอสรางดัดแปลง หรือเปล่ียนการใชอ าคารบางชนิด หรอื บางประเภทบรเิ วณยานเมอื งเกา ในทองท่ีเขตเทศบาลนคร สงขลา อําเภอเมืองสงขลา จงั หวดั สงขลา พ.ศ. 2560” 18 (ดเู นอื้ หาของเทศบัญญัติฯ ในภาค ผนวก 3) ดงั จะเหน็ ไดว า ขอ บญั ญตั ทิ อ งถน่ิ ฉบบั นใ้ี หค วามสาํ คญั ตอ การควบคมุ ความสงู ของอาคาร และการควบคุมประเภทกิจกรรมท่ีไมเหมาะสมสอดคลองกับยานเมืองเกาเปนสําคัญ กลาวคือ อาคารทม่ี หี ลงั คาดาดฟา ใหม คี วามสงู นบั ตงั้ แตร ะดบั พนื้ ทกี่ อ สรา งจนถงึ พนื้ ดาดฟา ไมเ กนิ 9.5 เมตร และหากเปนอาคารมีหลังคาทรงจั่วหรือหลังคาปนหยา ใหวัดจากระดับพ้ืนดินท่ีกอสรางถึงยอด ผนงั ชั้นสูงสุดและความสงู ของสวนท่สี งู ท่สี ดุ ใหม คี วามสูงไมเกนิ 12 เมตร แตไ มไ ดลงรายละเอียด ตางๆ ทางสถาปตยกรรม สีอาคาร และรายละเอียดอืน่ ๆ ท่ีมคี วามแตกตางไปจากรายละเอียดของ 17 ราชกิจจานุเบกษา. (2558). “เทศบัญญัติเทศบาลนครเชียงใหม เร่ือง กําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใชอาคารบางชนิด หรือบางประเภทในทองท่ีตําบลศรีภูมิ ตําบลสุเทพ ตําบลชางมอย ตําบลพระสิงห ตําบลชางคลาน และตําบลหายยา ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม พ.ศ. 2557” ใน ราชกิจจานุเบกษา. เลม 132 ตอนพิเศษ 33 ลงวันท่ี 10 กุมภาพันธ พ.ศ.2558. หนาท่ี 25-33. 18 ราชกิจจานุเบกษา. (2561). “เทศบัญญัติเทศบาลนครสงขลา เร่ือง กําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง หรือ เปล่ียนการใชอาคารบางชนิด หรือบางประเภท บริเวณยานเมืองเกา ในทองที่เขตเทศบาลนครสงขลา อําเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2560” ใน ราชกิจจานุเบกษา. เลม 135 ตอนพิเศษ 35 ง. ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ พ.ศ.2558. หนาที่ 41-44. 110 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

ขอ บญั ญตั ทิ อ งถนิ่ ของเทศบาลนครเชยี งใหม ทยี่ กตวั อยา งมาขา งตน เนอ่ื งจากพฒั นาการของแนวคดิ วาดวยการอนรุ ักษเมอื งเกาสงขลาทดี่ าํ เนินการเปนขอ กาํ หนดกฎหมายนน้ั เกดิ ขน้ึ ภายหลังจากการ ทเี่ มอื งเกา เชยี งใหมอ อกขอ บญั ญตั ทิ อ งถน่ิ ซงึ่ ผทู เี่ กย่ี วขอ งในเมอื งเกา เชยี งใหมผ า นประสบการณใ น เร่ืองดงั กลาวมาอยางยาวนาน นับตัง้ แตก ารบงั คบั ใช “เทศบญั ญตั ิของเทศบาลนครเชียงใหม เร่อื ง กาํ หนดบรเิ วณหา มกอ สรา ง ดดั แปลง รอ้ื ถอน เคลอื่ นยา ย ใชห รอื เปลย่ี นการใชอ าคารบางชนดิ หรอื บางประเภท ในทองทตี่ าํ บลศรภี มู ิ ตําบลชางมอ ย ตาํ บลพระสิงห ตาํ บลชางคลาน ตําบลหายยา ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม จงั หวดั เชยี งใหม พ.ศ. 2531” ซง่ึ เทศบญั ญัตฯิ ฉบบั พ.ศ.2531 ท่ี อางถึงนั้นมีคุณูปการอยางสําคัญตอเมืองเกาเชียงใหม คือ ทําใหสามารถควบคุมความสูงของ อาคารในเขตเมืองเกาเชียงใหมช้ันในใหมีความสูงไมเกิน 12 เมตรได ทําใหประชาชนท่ีอยูอาศัย หรือเกยี่ วของกับเมอื งเกาช้นั ในไดย อมรบั และปฏิบตั ติ ามขอบัญญัตดิ งั กลา วมาแลว เพราะฉะนัน้ ในการออกเทศบัญญัติใหมในป พ.ศ. 2558 จึงสามารถลงรายละเอียดขอกําหนดท่ีเก่ียวเนื่องกับ สถาปต ยกรรมและประเดน็ อน่ื ๆ ได อยางไรก็ดี ดังที่กลาวมาขางตนแลววาขอบัญญัติทองถิ่นท่ีถูกนํามาใชเปนกลไกควบคุม และสง เสรมิ การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอิื งเกา นน้ั ควรไดร บั การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล วากอใหเ กดิ ผลลพั ธสอดคลอ งกบั วัตถุประสงคก ารอนรุ ักษและพัฒนาเมอื งเกา หรอื ไมอ ยางไร เพอ่ื วเิ คราะหหาจดุ ที่ตอ งปรับปรุง ตลอดจนการแกไ ขใหเหมาะสม สอดคลอ งกับบรบิ ททีเ่ ปลย่ี นแปลง หรอื ไมอ ยา งไร เพอื่ นาํ ไปพฒั นามาตรการในขอ บญั ญตั ทิ อ งถนิ่ ใหเ หมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ สอดคลอ งกบั วตั ถปุ ระสงคข องการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ตอ ไป เพราะฉะน้ัน การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ดวยเคร่ืองมือดานมาตรการทางกฎหมาย ผา นขอบัญญัตทิ องถ่ิน เปนสว นหนึง่ ของการควบคมุ ประเภทและขนาดของกจิ กรรม ตลอดจนการ ควบคมุ การกอ สรา งและปรบั ปรงุ อาคาร ปอ งกนั ไมใ หเ กดิ อาคารทม่ี รี ปู แบบไมเ กอื้ กลู กบั องคป ระกอบ ของเมืองเกา นับเปนกลไกสําคัญในการอนุรักษคุณลักษณะของสภาพแวดลอมที่เหมาะสมกับการ เปน เมอื งเกา เพอ่ื ดาํ เนนิ การควบคมุ ไมใ หม กี จิ กรรมใดๆทล่ี ดทอนหรอื คกุ คามคณุ คา ของเมอื งเกา เกดิ ขนึ้ อนั เปน การเตรยี มความพรอ มทางดา นกายภาพของเมอื งเกา ไวส าํ หรบั การขบั เคลอิ่ื นการอนรุ กั ษ และพัฒนาเมอื งเกา ดวยเครอื่ งมือประเภทอืน่ ๆ ตอ ไป การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 111

ตวั อยางการสรา งแรงจูงใจใหเกิดการอนรุ กั ษและพฒั นาเมอื งเกา ในตางประเทศ (1) การสง เสริมและสรา งแรงจูงใจใหเกดิ การอนรุ กั ษดวยมาตรการทางภาษี มาตรการดานภาษีเปนกลไกในสงเสริมใหเกิดการอนุรักษและพัฒนาเมืองโดยภาค ประชาชน และภาคธรุ กจิ กลา วคอื เมอ่ื มกี ารลงทนุ ในการอนรุ กั ษม รดกสถาปต ยกรรม โดยใหค วาม สําคัญตอคุณคาของอาคารเปนสําคัญ มีจุดมุงหมายเพื่อใหอาคารทรงคุณคาดังกลาวน้ันอยูใน สภาพที่ม่ันคง แข็งแรง สวยงาม และสอดคลองกับการใชสอยในบริบทรวมสมัยที่อยูบนฐานของ การเคารพในคุณคาในมิติตางๆ ของอาคาร ท้ังน้ี ในหลายประเทศจึงมีกลไกใหนําคาใชจายในการ อนรุ ักษด ังกลาวนั้นมาใชใ นการลดหยอ นภาษบี างประเภทได นอกจากน้ี ในบางประเทศมกี ารสงเสรมิ ใหรักษาองคป ระกอบของเมอื งเกา ดวยมาตรการ ควบคุมตางๆ ทวารัฐก็มีกลไกดูแลใหประโยชนแงมุมอ่ืนๆ สําหรับเจาของที่ดินและอาคาร เชน มาตรการลดหยอ นภาษบี างประเภทใหแ กเ จา ของทด่ี นิ และเจา ของอาคารทถี่ กู ควบคมุ ดว ยมาตรการ ตางๆ เพ่ือลดความรูสึกตึงเครียดในการเสียประโยชนในการพัฒนาที่ดินรวมกับกลไกสงเสริมอื่นๆ เพอื่ ทําใหเกิดการอนุรกั ษอ าคาร ไมร้ือถอนอาคารลงไปเพื่อการกอ สรา งใหม นอกจากนี้ ยังมกี ารใช มาตรการทางภาษดี งั กลา วใหแ กเ จา ของทดี่ นิ และเจา ของอาคารทน่ี าํ เงนิ ไปใชใ นกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วขอ ง กบั การอนรุ กั ษ เชน การดดั แปลงอาคารใหเหมาะสมกบั แนวทางทีก่ าํ หนดดวย ในตา งประเทศมกี ารใชมาตรการสง เสริมใหเ กดิ การอนรุ กั ษ และการนําอาคารมาใชใหเ กดิ ประโยชนก บั สาธารณะดว ยมาตรการยกเวน ภาษี หรอื คา ธรรมเนยี มบางประเภทแกผ ปู ระกอบกจิ การ ทเี่ กิดคุณประโยชนต อสาธารณะ เชน พพิ ธิ ภณั ฑ หรอื กิจการท่ีคลายคลึงกันทท่ี าํ หนาทส่ี ง เสรมิ การ เรียนรู และเปนสวนหน่ึงของแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรม ตลอดจนผูดูแลรักษาอาคารเกาควร คา แกการอนรุ ักษใหอยูในสภาพทส่ี วยงาม และปลอดภัย นอกจากจะเปน แหลง เรยี นรูของเมอื งเกา แลว ยังเปนแหลงทองเที่ยวท่ีสรางรายไดใหแกเมืองเกาอีกดวย ท้ังน้ี การยกเวนภาษีบางประเภท หรอื การคนื คา ธรรมเนยี มกลบั ไปนนั้ มวี ตั ถปุ ระสงคใ หผ ปู ระกอบการพพิ ธิ ภณั ฑ หรอื ศนู ยก ารเรยี นรู หรือเจาของอาคารทรงคุณคาแกการอนุรักษไดนําเงินดังกลาวไปใชในการดูแลรักษา ทํานุบํารุง และบูรณะซอ มแซมอาคารเกาอันควรคา แกก ารอนุรกั ษ ตลอดจนไดน าํ เงนิ ไปใชในการพัฒนาระบบ การสือ่ ความหมายในพิพธิ ภัณฑและศนู ยการเรยี นรูตอไป นอกจากการสงเสริมใหเ กดิ การอนรุ ักษเมอื งเกา ดว ยมาตรการทางภาษี โดยการลดหยอ น การจดั เกบ็ ภาษีบางประเภทกบั เจา ของทีด่ นิ และอาคารดงั กลา วมาขา งตนแลว ยังมีมาตรการทาง ภาษีในแงม มุ อืน่ ๆ อีก เชน การจัดเก็บภาษบี างประเภทกบั เจา ของท่ดี ินหรืออาคารโดยมฐี านคิดมา จากระดับของการลงทุนโดยภาครัฐ ในการพัฒนาและจัดการพื้นท่ีดังกลาวน้ัน เชน เม่ือรัฐลงทุน กอสรา งระบบสาธารณปู โภค-สาธารณูปการทสี่ มบรู ณแบบ ยอมเปนพ้ืนทีท่ ไี่ ดร บั การลงทนุ สงู กวา พนื้ ทอ่ี น่ื ๆ โดยหลกั การแลว พน้ื ทด่ี งั กลา วจะตอ งเสยี ภาษสี งู กวา พนื้ ทท่ี ย่ี งั ขาดแคลนโครงสรา งพนื้ ฐาน และสาธารณปู โภค-สาธารณปู การ ทง้ั นี้ เมอ่ื รฐั มเี งนิ รายไดจ ากการเกบ็ ภาษมี ากเพยี งพอกส็ ามารถ นํามาจัดสรรงบประมาณเพื่อใชจายในกระบวนการอนุรักษ และพัฒนาในพ้ืนที่เมืองเกา ตลอดจน สามารถสรา งกลไกสง เสรมิ การอนุรักษแ ละพัฒนาเมอื งเกา อยา งเหมาะสมไดดวย 112 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

(2) การจดั เก็บภาษีกจิ กรรมบางประเภททีใ่ ชทรพั ยากรมากกวาปกติ หรอื กจิ กรรมท่ี อาจสง ผลกระทบตอสง่ิ แวดลอ ม ในหลายประเทศมกี ารจดั เกบ็ ภาษใี นกจิ กรรมบางประเภททใี่ ชส าธารณปู โภคมากกวา ปกติ หรือกจิ กรรมทเี่ สีย่ งตอการกอ ใหเ กิดมลพษิ มากกวา กิจกรรมประเภทอื่นๆ และจะตอ งจายภาษใี น การแกไ ขปญหาและผลกระทบท่ีอาจเกดิ ขึน้ ดังตัวอยางเชน ในสหภาพยุโรป (European Union) ไดม แี นวคดิ วา ดว ยกฎระเบยี บและภาษีตนทุนสิง่ แวดลอ มมาตงั้ แต พ.ศ. 2516 ตอ มาในป พ.ศ. 2518 คณะกรรมาธกิ ารสหภาพยโุ รปไดผ นวกภาษดี า นสง่ิ แวดลอ มรวมไปในตน ทนุ การผลติ โดยใช เปนเคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตรเพ่ือจูงใจใหผูผลิตและผูบริโภคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดําเนิน ชีวิตใหเปน สวนหน่งึ ของการอนุรกั ษส่งิ แวดลอ ม และชว ยกนั ลดมลพิษ อาศยั หลักการวา ผูทกี่ อ ให เกิดมลพิษตองรับผิดชอบ และแนวความคิดดังกลาวไดเปดตัวสูประเทศในเอเชีย ดังตัวอยางเชน ประเทศจีนทร่ี เิ รม่ิ ดาํ เนนิ การเกบ็ “ภาษสี ่ิงแวดลอ ม (Green Tax)” หรอื บางทเี รียกวา “Eco Tax” แมวา จะยังไมค รอบคลุมท้งั หมด โดยมีวัตถปุ ระสงคใ นการจัดสรรและกํากบั การใชทรัพยากร และ พลังงานอยางมเี หตผุ ลและเกิดประโยชนสงู สุด19 ทั้งน้ี พบวาในตางประเทศนั้นมีการใชมาตรการทางภาษี หรือการเก็บคาธรรมเนียมที่ เกี่ยวของกับส่ิงแวดลอมในหลากหลายวิธีการ อาทิ เก็บผานคาธรรมเนียมการอนุญาตในการ ดําเนินการ (Administrative fees) เกบ็ ผานคา ธรรมเนยี มการใชสอย (User fees หรอื User charges) หรอื คา ธรรมเนยี มผลติ ภณั ฑ (Product surcharge) เกบ็ ในลกั ษณะของคา ปรบั (Fines) เกบ็ คา ภาษใี นการกอ ใหเ กดิ มลพษิ (Pollution tax) เกบ็ เงนิ ในลกั ษณะของคา ธรรมเนยี มใบอนญุ าต ใหปลอยมลพิษ (Pollution permits) หรือการเก็บเงินในระบบการเรียกเงินมัดจํา และคืนเงิน (Deposit-refund system) รวมถงึ การใหว างเงนิ ประกนั ความเสยี หายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ตอ สงิ่ แวดลอ ม (Performance bonds) ตลอดจนการใหเ งินอดุ หนนุ ในการอนรุ กั ษ (Subsidy)20 จะเห็นไดวาแนวทางมาตรการทางภาษีที่หลากหลายดังกลาวมาขางตน สามารถนํามา ประยกุ ตเ ปน กลไก และมาตรการในการสง เสรมิ และควบคมุ ใหเ กดิ การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ไดท ง้ั สนิ้ ทวา มคี วามจาํ เปน ตอ งมกี ารศกึ ษาทาํ ความเขา ใจปจ จยั แวดลอ มตา งๆ ใหล ะเอยี ดถอ งแท จึงจะทําใหกลไก และมาตรการตางๆ ที่จะนํามาขับเคล่ือนนั้นตอบโจทยความตองการ การ อนุรักษแ ละพฒั นาในเมอื งเกาอยา งแทจ รงิ และสงผลกระทบตอ ผมู สี ว นไดส ว นเสียนอยที่สดุ หรอื หากมีผลกระทบก็มีแนวทางในการชวยเหลือดูแลอยางเหมาะสมและเปนท่ีพึงพอใจ อันจะทําให เกดิ ความสาํ นกึ ตระหนกั รใู นคณุ คา ของการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา เพอื่ ความยงั่ ยนื อยา งแทจ รงิ กลไกทย่ี กมาขางตน นี้ เปนกลไกทมี่ กี ารปฏบิ ตั แิ ลว ในตา งประเทศ สําหรบั ในประเทศไทย ยงั คงตองมกี ารศกึ ษาความเปนไปไดข องแนวทางการปฏบิ ัติทเี่ หมาะสม ตลอดจนตอ งหารอื ความ รวมมอื ระหวางหนว ยงานตา งๆ และขับเคล่อื นสูก ารวางนโยบายของชาติตอไป 19 ไพจติ ร วบิ ูลยธนสาร, และจุภาภรณ กิจประพฤทธ์กิ ุล. Green Tax ... ภาษีเพ่ือความสขุ ของประชาชน. ปกกิง่ : อัครราชทูต ณ กรงุ ปก กง่ิ . 2556. เอกสารออนไลน เขาถงึ จาก http://www.vijaichina.com 20 ดูเพิม่ เตมิ ท่ี http://wqm.pcd.go.th/water/images/agriculture/media/2558/ecotax.pdf การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 113

(3) การพิจารณาใหสิทธิพิเศษเพื่อแลกเปล่ียนกับผลกระทบจากมาตรการควบคุมในเมอื งเกา ในกรณีผูที่เปนเจาของที่ดินหรือเจาของอาคารอยูในพ้ืนท่ีอนุรักษ ไดรับผลกระทบจาก มาตรการการควบคมุ ดานตางๆ เชน การควบคุมการใชพ นื้ ทเี่ พือ่ กอ สรางอาคาร มาตรการควบคุม ความสงู อาคาร เปนตน ควรมีการพิจารณาใหสิทธพิ เิ ศษแกบ คุ คลกลุมน้ี เชน ใหไ ดสิทธิทางภาษี และคาธรรมเนียมในการขายหรือโอนเพื่อเปนการชดเชยการเสียสิทธิในพื้นที่อนุรักษท่ีตนเปน เจา ของ และ/หรอื การชดเชยผลกระทบจากการถูกควบคมุ ดวยมาตรการทางกฎหมาย เปนตน (4) การประกาศเกยี รตคิ ณุ ผูมีสวนรวมในการอนรุ กั ษแ ละพัฒนาในเมอื งเกา การสรางกระบวนการมีสวนรวมของภาคประชาชน รวมทั้งภาคธุรกิจ ผูท่ีครอบครอง อาคารทรงคณุ คา ในเมอื งเกา ในการอนุรกั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา อยางเหมาะสมน้ัน เปน กลไกสําคัญ ท่ีสรางใหเกิดความภาคภูมิใจแกผูท่ีครอบครองอาคารทรงคุณคาในเมืองเกา และมีการทํานุบํารุง ดูแลรักษาใหอาคารเหลานั้นอยูในสภาพท่ีแข็งแรงสมบูรณ ท้ังน้ี แนวทางการดําเนินการสามารถ วางแผนจัดการไดหลากหลายรูปแบบขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการอนุรักษ หรือประเด็นท่ีเรงดวน ทาทาย ตัวอยา งเชน - กลไกเพ่ือสงเสริมใหเกิดการอนุรักษมรดกสถาปตยกรรมในเมืองเกา โดยสํานักงาน ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก องคก ารยูเนสโก องคก ารยเู นสโก สํานักงานภูมิภาคเอเชียและแปซฟิ ก ไดตระหนักวา มรดกสถาปตยกรรม ในเอเชียและแปซิฟกน้ันกําลังตกอยูในสภาวะถูกคุกคาม นอกจากน้ี มรดกสถาปตยกรรมตางๆ ตา งอยใู นการครอบครองของเอกชน ในสถานการณป จ จุบนั เมอื งเกาตา งๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ตา งได รบั ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงสภาพทางกายภาพ ดว ยการรอื้ ถอนอาคารทางประวตั ศิ าสตรล ง และสรา งอาคารใหม รวมไปถงึ การทอดท้งิ อาคารขาดการบํารุงรกั ษา ทําใหอ าคารทรงคุณคา ทาง ประวัติศาสตรที่อยูคูกับชุมชนหรือเมืองเกาถูกรื้อถอนลง และอยูในสภาวะอันตรายเสี่ยงตอการ สน้ิ สญู เปนจาํ นวนมาก จากมลู เหตดุ งั กลา วมาขา งตน ทาํ ใหอ งคก ารยเู นสโก สาํ นกั งานภมู ภิ าคเอเชยี และแปซฟิ ก ไดเ สนอโครงการรางวลั มรดกสถาปต ยกรรมแหง ภมู ภิ าคเอเชยี และแปซฟิ ก (Asia-Pacific Heritage Awards) โดยมแี นวความคดิ วา “ไมไ ดใ หรางวลั นแี้ กมรดกสถาปตยกรรมทม่ี คี ณุ คา โดดเดน ไมได ใหร างวลั นแ้ี กม รดกสถาปต ยกรรมทดี่ เี ลศิ ทสี่ ดุ ทวา รางวลั นมี้ อบแกโ ครงการตวั อยา งของการอนรุ กั ษ ท่ีดี” 21 โดยมีเปาหมายของรางวัลเพื่อสงเสริมและสรางขวัญกําลังใจ และสรางสํานึกของการเปน เจาของตอ มรดกทางสถาปตยกรรมทท่ี รงคุณคาใหเ กิดขน้ึ 22 กับภาคประชาชน ภาคธุรกจิ และภาค ประชาสังคมใหอนุรักษอาคารทรงคุณคาตามหลักวิชาการ รวมทั้งสงเสริมใหเกิดการฟนฟูการ ใชสอยตัวอาคารทรงคณุ คาทางประวัตศิ าสตร ทั้งลกั ษณะการใชส อยในบรบิ ทดง้ั เดมิ หรือการปรับ ประโยชนใ ชส อยทสี่ อดคลอ งกบั บรบิ ทรว มสมยั โดยจาํ แนกรางวลั ออกเปน หลายประเภททสี่ อดคลอ ง กับวสิ ัยทัศนข องการอนุรกั ษและการพฒั นาเมืองเกา ในเอเชียและแปซฟิ ก เชน “รางวัลการอนุรกั ษ มรดกวัฒนธรรม (Awards for Cultural Heritage Conservation)” และตอ มาเมอื่ มีนโยบาย 21 UNESCO. UNESCO Asia-Pacific Awards Cultural Heritage Conservation. Bangkok: UNESCO Asia-Pacific. 22 Ibid. 114 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

สงเสริมใหเมืองเกาและการฟนฟูใหอาคารทางประวัติศาสตรทําหนาที่ตอบโจทยการใชสอยใน บรบิ ทสงั คมรว มสมยั มากขนึ้ จงึ มคี วามจาํ เปน ตอ งมกี ารออกแบบเพมิ่ เตมิ ใหมเ พอื่ ใหอ าคารดังกลาว นั้นสอดรับกับความตองการใชสอย แตทั้งน้ีการออกแบบใหมดังกลาวตองแสดงความเคารพใน คุณคา ดัง้ เดมิ ในแงม มุ ตา งๆ ในการนี้ สมาคมสถาปนกิ สยามฯ จงึ เพม่ิ เตมิ “รางวัลการออกแบบใหม ในบริบทมรดกสถาปตยกรรม (Award for New Design in Heritage Context)” ในป พ.ศ. 2561 เพ่ือสรางแรงจูงใจใหสถาปนิกและเจา ของอาคารที่ตองมีการออกแบบใหมใ นพื้นท่เี มืองเกา หรือการปรับปรุงอาคารทรงคุณคาใหตอบโจทยสมัยใหมบนฐานความเคารพในคุณคาของเมืองเกา โดยไมส รางสง่ิ กอ สรา งใหมทท่ี าํ ลายคณุ คา ดงั้ เดมิ ของเมอื งเกา และอาคารทางประวตั ศิ าสตรลง ในประเทศไทยมีมรดกสถาปตยกรรมหลายหลังท่ีไดรับรางวัลการอนุรักษมรดกวฒั นธรรม เชน พระราชวงั เดมิ กรงุ ธนบรุ ,ี ตาํ หนกั ใหญว งั เทวะเวสม, วหิ ารพระเจา พนั องคว ดั ปงสนกุ ลําปาง, ชมุ ชนคลองอมั พวา, สาํ นักงานทรพั ยส ินพระมหากษตั รยิ จ งั หวัดฉะเชงิ เทรา, ชุมชน และตลาดเกา สามชกุ , หอไตรวัดเทพธิดาราม, ตึกแถวการคาถนนหนาพระลาน, ศาลาเรยี นวัดคูเตา , พระบรม ธาตมุ หาเจดียวดั ประยรุ วงศาวาสวรวหิ าร, เรอื นพระยาศรีธรรมราช, บา นหลวงราชไมตรี จะเห็นไดวา อาคารทรงคุณคา ทางประวตั ิศาสตร และอาคารในเมืองเกา ที่ไดรบั ยกยอ งให ไดรับรางวลั การอนรุ กั ษมรดกวฒั นธรรมจากองคการยูเนสโก สํานักงานเอเชยี และแปซฟิ กนน้ั ตาง เปนการอนรุ ักษท ่ีดําเนนิ การโดยภาคประชาชน ภาคประชาสงั คม และภาคเอกชนมีสวนรวมในการ อนุรกั ษ ไมไ ดเ ปนโครงการอนุรักษของภาครัฐดําเนนิ การแตเพียงฝายเดียว รปู แบบดังกลา วน้ันเปน กลไกสาํ คญั ในการสรา งความภาคภมู ใิ จแกเ จา ของอาคาร และหนว ยงานทด่ี าํ เนนิ การอนรุ กั ษอ าคาร บนฐานวิชาการเพ่ือรักษาคุณคาภายใตก ารมีสวนรวมของผเู กีย่ วของ และชมุ ชน - กลไกเพอ่ื สงเสริมใหเกดิ การอนุรักษมรดกทางสถาปต ยกรรมทรงคุณคา และการเชดิ ชู เกียรติผสู งเสริมการอนรุ กั ษ โดยสมาคมสถาปนกิ สยามในพระบรมราชปู ถัมภ สมาคมสถาปนกิ สยามในพระบรมราชปู ถมั ภ ไดเ ลง็ เหน็ ความสําคัญในการสงเสรมิ ใหเกดิ การสรางแรงจูงใจในการรักษาอาคารทรงคุณคาเพื่อเปนตนทุนสําคัญในการเปนแหลงเรียนรูเพ่ือ ทาํ ความเขา ใจพัฒนาการทางสถาปต ยกรรมในประเทศไทย ไดจ าํ แนกรางวัลออกเปน 2 กลุม คอื “รางวัลอาคารควรคาแกการอนรุ ักษ” เพือ่ มอบแกอาคารเกา ท่มี ีคณุ คาทางสถาปตยกรรมที่สมควร ไดรบั การบูรณะและอนรุ กั ษไ วเ พ่อื เปน มรดกสถาปต ยกรรมทรงคณุ คา การมอบรางวลั ดังกลา วเปน ขวญั กําลังใจแกผคู รองครองอาคารใหร กั ษาอาคารดงั กลา วไวไมใ หรอ้ื ทาํ ลายลง และเปนมาตรการ สงเสรมิ สรา งแรงจงู ใจในการอนรุ กั ษอ าคารตามหลกั วชิ าการเพอื่ ธาํ รงรกั ษาคณุ คา ของตวั อาคารไวต อ ไปในอนาคต ประเภทอาคารทส่ี ามารถสง เพอื่ ขอรบั รางวลั ไดแ ก อาคารสถาบนั และอาคารสาธารณะ ปชู นียสถานและวดั วาอาราม เคหสถานและบา นเรอื นเอกชน และอาคารพาณิชย นอกจากน้ี ยังมี “รางวัลอาคารอนุรักษ” เพ่ือมอบใหแกอาคารทรงคุณคาท่ีดําเนินการ อนรุ กั ษอ ยา งถกู ตองตามหลักวิชาการ และสามารถธํารงรกั ษาคณุ คา ทางสถาปตยกรรมและคุณคา ในมิตติ า งๆ ของอาคารเอาไวไ ดเ ปน อยา งดี จําแนกออกเปน “ประเภทรางวลั ชมุ ชน” โดยมอบให แกชุมชนท่ีรวมมือกันอนุรักษอาคารทรงคุณคาของชุมชน “ประเภทรางวัลบุคคล” ซึ่งมอบใหแก บุคคลที่อุทิศตนใหกับการอนุรักษอาคารจนมีผลงานเปนประจักษ “ประเภทรางวัลองคกร” ซึ่ง การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 115

มอบใหแ กอ งคก รทดี่ าํ เนนิ การอนรุ กั ษอ าคารทรงคณุ คา ในความดแู ลของหนว ยงาน “ประเภทรางวลั อาคาร” มอบแกอาคารท่ีไดรับการอนุรักษตามหลักวิชาการจนทําใหกลับมาอยูในสภาพที่มั่นคง แข็งแรง ทวารกั ษาคณุ คาหลากมติ ิของตวั อาคารเอาไว รวมไปถึงในป พ.ศ. 2562 นีไ้ ดมีการริเริม่ ในการให “รางวลั งานออกแบบใหมใ นบรบิ ทการอนรุ กั ษ” เพอ่ื จะเปน กลไกสง เสรมิ ใหเ กดิ การอนรุ กั ษ และพฒั นาในพ้ืนท่เี มืองเกาไดเปนอยางดี (5) การจดั หาทุนสมทบการอนรุ กั ษ การสนับสนุนเงินจากกองทุนตางๆ เพ่ือการอนุรักษในประเทศไทยน้ัน เกี่ยวของกับทุกๆ ภาคสว นในสังคม ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน และประชาสงั คม ตัวอยางเชน กองทุนโบราณคดี กองทุน ส่ิงแวดลอ ม กองทนุ จากองคกรระหวางประเทศ กองทนุ สงเสรมิ กจิ การเทศบาล กองทุนสงเสรมิ กิจการองคการบรหิ ารสว นจังหวดั ฯลฯ อยางไรก็ดี ในปจจุบันการดําเนินการทางธุรกิจของภาคเอกชนมีทิศทางที่ใหความสําคัญ กับการอนุรักษส่ิงแวดลอม และพัฒนาชุมชนในพ้ืนที่ที่ธุรกิจ หรือภาคเอกชนนั้นเกี่ยวของ ผาน กจิ กรรม “กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสิง่ แวดลอ ม (Corporate Social Responsibility)” หรอื ทีเ่ รียก กันวา “CSR” หมายถึง “ความรับผิดชอบตอสังคมและส่ิงแวดลอมขององคกร” คือการดําเนิน กจิ การภายใตห ลกั จรยิ ธรรมและการจดั การทด่ี ี โดยรบั ผดิ ชอบสงั คมและสง่ิ เเวดลอ มอนั มเี ปา หมาย ไปสกู ารพฒั นาที่ย่งั ยนื ในปจ จบุ นั จงึ มภี าคเอกชนเริ่มมีการจดั สรรงบประมาณดาํ เนนิ การในสว นนี้ เพ่มิ มากขน้ึ นับเปนอีกชอ งทางสําคญั ในการหางบประมาณมาใชในการขับเคลอื่ นโครงการอนรุ ักษ และพฒั นาเมอื งเกา ในบริบทปจจุบันยังมีแนวทางการดําเนินธุรกิจ โดยกํากับทิศทางของธุรกิจนั้นๆ ให สอดคลอ งกบั ผมู สี ว นไดส ว นเสยี (Creating Shared Value | CSV) ทาํ ใหธ รุ กจิ ตา งๆ เรม่ิ ปรบั ตวั ให สอดคลอ งกบั บรบิ ท และความตอ งการของสงั คมและชมุ ชน ตลอดจนเปน ธรุ กจิ ทมี่ คี วามรบั ผดิ ชอบ ตอ สงั คมและส่งิ แวดลอม ในการบริหารจัดการเมืองเกาจึงมีโอกาสท่ีจะประยุกตใชแนวคิดดังกลาวมาเปนกลไกใน การอนรุ กั ษ และพฒั นาเมอื งเกา เพอ่ื ลดขอ จาํ กดั ทเี่ กดิ ขนึ้ จากแนวทางการปฏบิ ตั ทิ บี่ อ ยครงั้ ทต่ี ดิ ขดั อันเนื่องมาจากระเบียบงบประมาณของภาคราชการ ทําใหการขับเคล่ือนโครงการและการดําเนิน การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมืองเกา ที่ดําเนินการโดยภาครัฐแตฝ ายเดียวนน้ั ไมคลองตวั และไมสามารถ แกป ญ หาไดต รงจดุ และลา ชา ไมท นั ตอ ความเปลย่ี นแปลง เพราะฉะนน้ั การทาํ งานรว มกบั ภาคเอกชน จะชว ยทาํ ใหช อ งวา งดงั กลา วนน้ั ลดลง ทวา กย็ งั มขี อ จาํ กดั ทมี่ คี วามจาํ เปน ตอ งไดร บั การแกไ ขปญ หา ทั้งนี้ อาจใชวิธีการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะการดําเนินงานการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาจาก ประเทศอนื่ มาเพอื่ ปรบั แกนโยบายและขอจาํ กดั ตา งๆ ตอไป 116 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

บทบาทคณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเการายเมิือง กับการอนรุ ักษแ ละพฒั นาเมืองเกา ในการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาท่ีไดรับการประกาศขอบเขตใหรักษาคุณคาเอาไว ทามกลางความเปล่ียนแปลงที่ถาโถมเขามาจากกระแสความเปนสมัยใหมท่ีโอบลอมไปทั่วสารทิศ ดวยเหตดุ งั กลาวจึงจําเปน ตอ งมีระบบและกลไกในการอนุรักษแ ละพฒั นาเมอื งเการายเมือง โดยมี การแตง ตงั้ คณะอนุกรรมการอนรุ กั ษและพฒั นาเมืองเการายเมือง เพ่อื ใหทาํ หนาที่ตางๆ คอื - จดั ทาํ แนวทาง มาตรการ แผนแมบ ทและผงั แมบ ทการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาบรเิ วณเมอื งเกา แผนปฏบิ ตั กิ าร และระเบยี บปฏบิ ตั ติ า งๆ เพอื่ ดาํ เนนิ การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาในพนื้ ทเี่ มอื งเกา โดย ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร และเมอื งเกา - พจิ ารณากลนั่ กรองใหค วามเหน็ และขอ เสนอแนะในเรอื่ งทค่ี ณะกรรมการฯ มอบหมาย - ใหคําปรึกษาและความเห็นโครงการของหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงาน ของรฐั อยา งอนื่ ทจ่ี ะดาํ เนนิ การกอ สรา งในบรเิ วณเมอื งเกา - ประสาน ติดตาม ตรวจสอบ และกํากับดูแลใหการดําเนินงานเปนไปตามแนวทาง แผนงานโครงการท่ีไดจัดทําไว - สนบั สนุนการจัดสรรงบประมาณใหแกหนว ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ เพ่อื ดําเนนิ งานตามแผน แมบ ท และผังแมบท และแผนปฏบิ ัติการอนุรกั ษและพัฒนาเมอื งเกา - แตงตัง้ คณะทาํ งานตามความจําเปน และเหมาะสม เพอื่ ทําการแทนคณะอนกุ รรมการ ในเร่ืองทไี่ ดร บั มอบหมาย - ดาํ เนนิ การอ่ืนใดท่ีจาํ เปน ตามท่ไี ดร ับมอบหมายจากคณะกรรมการอนุรกั ษและพัฒนา กรงุ รตั นโกสินทร และเมืองเกา เพอ่ื ใหการอนุรักษแ ละพฒั นาเมืองเกา บรรลตุ ามวัตถุประสงค - รายงานผลการปฏิบตั ิงานตอ คณะกรรมการอนรุ ักษแ ละพฒั นากรุงรตั นโกสินทร และ เมอื งเกา ทราบและพจิ ารณา จากอํานาจหนาท่ีดังกลาวมาขางตน จะเห็นไดวาคณะอนุกรรมการฯ เปน กลไกทส่ี าํ คญั อยางยิ่งในการขับเคล่ือนใหเกิดการอนุรักษและพัฒนาในพ้ืนที่เมืองเกาใหสอดคลองกับทิศทางท่ี คณะกรรมการอนรุ ักษและพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทรและเมอื งเกา กําหนด ทวามคี วามเหมาะสมและ สอดคลอ งกบั บรบิ ทของทอ งถนิ่ นอกจากน้ี คณะอนกุ รรมการฯ ทแี่ ตง ตงั้ ผแู ทนหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ ง กบั เมอื งเกา หลายภาคสว นจะชว ยบรู ณาการการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา เขา กบั งานตามพนั ธกจิ ของหนว ยงานไดโ ดยตรงและมปี ระสทิ ธภิ าพ คณะอนกุ รรมการฯ ประกอบดว ยผทู รงคณุ วฒุ ทิ อ งถน่ิ ทม่ี คี วามรคู วามสามารถดา นตา งๆ อกี ทงั ยงั ใกลช ดิ และเปน ทเ่ี คารพนบั ถอื กนั ในพน้ื ท่ี ซง่ึ เปน ประโยชน ตอ การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ดงั นน้ั โครงสรา งของคณะอนกุ รรมการฯ จงึ เปน กลไกสาํ คญั ใน การขบั เคลอ่ื นงานเมอื งเกา สามารถวางแผนและกาํ หนดมาตรการตา งๆ ไดอ ยา งเหมาะสม เนอื่ งจาก มคี วามรคู วามเขา ใจในบรบิ ทแวดลอ มของเมอื งเกา นน้ั ๆ อยา งลกึ ซง้ึ และดาํ เนนิ การไดอ ยา งทนั ทว งที สอดรบั กบั ความทา ทายและความเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ อยา งรวดเรว็ กบั เมอื งเกา ในบรบิ ทรว มสมยั อยางไรก็ตาม แมวาคณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืิองเกาจะมีอํานาจหนาท่ีท่ีได รบั มอบหมาย แตใ นการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในพน้ื ทนี่ น้ั ควรเปน ไปดว ยความเกอ้ื กลู สรา งบรรยากาศของ การสนทนาแลกเปล่ียนองคค วามรู ตลอดจนการสรางพ้นื ท่ใี นการแสดงออกทางความคดิ และขอ ถกเถยี งตา งๆ เพอื่ หาแนวทางทเี่ หมาะสมทสี่ ดุ ของการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ทเี่ ปน ประโยชนต อ พลเมือง และผทู ่ีเกีย่ วขอ งกบั เมอื งเกา ทกุ คน การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 117

กรณศี กึ ษาของเมอื งเกา ทน่ี า สนใจทสี่ ามารถถอดบทเรยี นไปสกู ารวางแนวทางการปฏบิ ตั ทิ ่ี เหมาะสมสําหรับการอนรุ ักษและพฒั นาเมอื งเกา เมอื งอน่ื ๆ ในท่ีน้ี ขอยกตัวอยาง “เมืองเกา นาน” ประกอบดว ยพน้ื ทที่ ไี่ ดร บั การประกาศ 2 สว น คอื “พนื้ ทใ่ี จเมอื งนา น” ซง่ึ อยใู จกลางเมอื งเกา ทมี่ วี ัด ภมู นิ ทรเ ปน ศนู ยก ลาง และ “พนื้ ทเี่ วยี งพระธาตแุ ชแ หง ” พน้ื ทท่ี ม่ี คี วามสาํ คญั ดว ยเปน ทาํ เลทต่ี า งๆ วัดพระธาตุแชแหง พระอารามหลวง หางจากใจเมืองนานไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตระยะทาง ประมาณ 4 กโิ ลเมตร จุดเดนของการบริหารจัดการการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกานานเกิดขึ้นแรกเร่ิมจากการ ศึกษาวิจัยและการจัดทําองคความรูเกี่ยวกับองคประกอบของเมืองเกานานผานการศึกษาวิจัยเพื่อ จัดทํา “แผนท่มี รดกชมุ ชนเมืองเกา นา น” โดยสาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดลอม ภายใตการชวยเหลือทางวิชาการจากรัฐบาลเดนมารก โดยนําเอาเทคนิควิธี และ ระบบการอนุรักษส่ิงแวดลอมศิลปกรรม (Cultural Environment Conservation System | CECS) เขามาประยุกตใชในการจัดเก็บขอมูลและนํามาสูการจัดทําแผนที่ชุมชน จากการศึกษา วิจยั อยางเปน ระบบดงั กลา วมาขา งตนทําใหเมอื งเกานานมี “องคความรู” ในมิตติ า งๆ ทงั้ ประเดน็ ทางประวตั ศิ าสตรก ารพฒั นาเมอื ง การระบพุ นื้ ทแ่ี หลง สง่ิ แวดลอ มศลิ ปกรรม คณุ ลกั ษณะอนั โดดเดน ทางกายภาพของพ่ื้นท่ี และการใหความหมายเชิงคุณคาความสําคัญของมรดกทางวัฒนธรรมทั้ง จับตองได และจับตองไมได ผลการศึกษาตางๆ ถูกอธิบายเช่ือมโยงกับ “ทําเลท่ีต้ัง” อันแสดง ขอ มูลใน “แผนที่มรดกวัฒนธรรมชุมชน” นบั เปน ยางกาวแรกทีส่ ําคญั ย่ิง เพราะทําใหป ระชาชนมี ความเขา ใจวา “มรดกวัฒนธรรมเมอื ง (Urban Heritage)” นนั้ ไมไดมีเพียงแตโ บราณสถานท่ีข้ึน ทะเบียนเปนมรดกของชาติเทานั้น ทวามรดกทางวัฒนธรรมที่กอรางข้ึนผานการใชชีวิตประจําวัน ของผูคนในทองถิ่น (Heritage in everyday use) เม่ือผานกาลเวลามาและประกอบสรางข้ึน รวมกันเปน เนื้อเมอื งเกา ก็เปน ส่ิงที่ทรงคณุ คา เฉกเชน เดยี วกัน จากองคความรูแ ละคุณคาดังกลา วขางตน เปนประโยชนย ่งิ เมื่อมีการดําเนนิ การโครงการ เพอ่ื จดั ทาํ “แผนแมบ ท และผงั แมบ ทการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา นา น” ในป พ.ศ. 2548 ซงึ่ ได ดําเนินการศึกษาบริบทแวดลอมในมิติตางๆ ของเมืองนานท้ังมิติทางกายภาพ มิติทางนามธรรม ภายใตกระบวนการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของทุกภาคสวน และกําหนดเปนแผนกลยุทธท่ีกําหนด แนวทางและมาตรการตา งๆ ซ่งึ จะใชเ ปนเครอื่ งมือสาํ คญั ในการกํากบั ควบคุม ดูแล และคุมครอง บริบทความเปน เมืองเกา นาน ทง้ั ในพ้ืนที่สว นใจเมืองนาน และพน้ื ทสี่ วนเวยี งพระธาตแุ ชแหง ท้ังนี้ มเี ปา หมายเพอื่ ใหเ กดิ การเชอ่ื มแผนลงไปสกู ารปฏบิ ตั งิ านของภาคราชการ ซงึ่ เปน ผทู ดี่ าํ เนนิ โครงการ พฒั นาปรบั ปรงุ ทางกายภาพในพนื้ ทเ่ี มอื งเกา และพน้ื ทเี่ กยี่ วเนอื่ ง ตลอดจนแผนการจดั กจิ กรรมตา งๆ ไดสอดคลองกับเปาหมายและวิสัยทัศนของเมืองเกานาน คือ การธํารงรักษาคุณคาของเมืองเกา และการรักษาส่ิงแวดลอมศิลปกรรม วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อใหมีการสืบทอดและสงผานคุณคา ตอไปยงั อนชุ นรนุ หลงั ตามแนวคิดของการพฒั นาทยี่ งั่ ยืน จากกระบวนการศึกษาวิจัยท่ีกลาวมาขางตนทําใหผูคนในทองถ่ินเริ่มหันมาสนใจมรดก ทางวัฒนธรรมในชมุ ชนของตน นอกจากนี้ เมอื งเกา นา นยังมีตนทนุ ที่สําคัญ คอื มีผทู รงคุณวุฒิ ปราชญทองถ่ินที่มีองคความรูที่เก่ียวเน่ืองกับเมืองเกาอยางลึกซ้ึง ชวยใหคําชี้แนะและกํากับการ ศกึ ษาวจิ ยั และการดาํ เนนิ การตา งๆ ทง้ั น้ี การมผี ทู รงคณุ วุ ฒุ หิ รอื สถาบนั การศกึ ษาในทอ งถน่ิ เขา มามี สว นรว มในคณะอนกุ รรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา นน้ั มคี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ เพราะเปน กลไก ท่ีชวยใหเกดิ ความตอ เนอื่ งในการดาํ เนนิ การตามแผนและผงั แมบ ท และโครงการตา งๆ แมว า จะมกี าร 118 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โยกยายตําแหนงของผูปฏิบัติงานในหนวยงานภาครัฐท่ีเปนอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมือง เกา กย็ ังทาํ ใหแ ผนการดาํ เนนิ การทหี่ นว ยงานตา งๆ เกยี่ วขอ งนนั้ ยงั ดาํ เนนิ การตอ เนอ่ื งไปสเู ปา หมาย ทก่ี าํ หนดไวตามแผนแมบ ทและผงั แมบ ทการอนรุ ักษและพฒั นาเมืองเกา นอกจากน้ี การดําเนนิ การรวมกบั หนวยงานสนบั สนนุ อื่นๆ ยงั เปน กลไกสาํ คัญท่ีทาํ ใหก าร อนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา เดนิ ไปสเู ปา หมายได เนอื่ งมาจากหนว ยงานภาครฐั แตล ะหนว ยงาน ยอ มมี อํานาจหนาท่ีเฉพาะดานตางๆ การทํางานเชิงบูรณาการยังติดขัดดวยขอจํากัดตางๆ ในการน้ีจึง มีความจําเปนท่ีตองประสานงานรวมกับหนวยงานภาคสวนตางๆ ทั้งการประสานงานระหวาง หนวยราชการ ตลอดจนการประสานงานกับภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม หรือ องคก รตา งๆ เพื่อดาํ เนินการรว มกันแบบบรู ณาการยอมจะชวยแกไขขอขดั ของ และอุปสรรคในการ อนุรกั ษและพัฒนาเมอื งเกาใหค ลอ งตวั ข้ึนได กรณศี ึกษาเมืองเกา นา นพบวา ไดรับการสนับสนนุ อยา งสาํ คญั จาก “องคก ารบรหิ ารการ พฒั นาพืน้ ท่พี ิเศษเพอื่ การทอ งเทย่ี วอยางย่งั ยนื (องคก ารมหาชน)” ซึ่งมีวิสัยทศั น คอื “ประสาน ทุกภาคเี พือ่ การพัฒนาการทอ งเทยี่ วอยา งย่งั ยนื ” มีการขบั เคล่ือนเมืองเกา นานบนทศิ ทางของการ อนุรักษและพัฒนา ทําใหเมืองเกานานเปนเมืองท่ีมีเสนหสามารถเก็บรักษาคุณคาทางวัฒนธรรม ไวไดเปนอยางดี และกลายเปนตนทุนสําคัญที่ดึงดูดใหเกิดการทองเท่ียวทางวัฒนธรรม สงผลตอ การกระจายรายไดจ ากการทอ งเทย่ี วลงไปยงั ภาคสว นตา งๆ ทาํ ใหป ระชาชนในทอ งถน่ิ ไดร บั ประโยชน จากการอนุรกั ษแ ละพัฒนาเมืองเกาในมติ ิเศรษฐกิจ การบรหิ ารจดั การของคณะอนกุ รรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งทมี่ กี ารดาํ เนนิ การทนี่ า สนใจ ในแงข องการออกประกาศเพือ่ สื่อสารแนวทางปฏบิ ัติเพ่อื ใหหนวยงานที่เกีย่ วของท้งั หนว ยงานภาค รฐั รฐั วสิ าหกจิ ตลอดจนภาคประชาชนเขา ใจขน้ั ตอนในการดาํ เนนิ การกอ สรา งในพนื้ ทเ่ี มอื งเกา คอื กรณีศึกษาคณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกากําแพงเพชร ซ่ึงมีการดําเนินการออก “ประกาศคณะอนกุ รรมการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา กาํ แพงเพชร เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ตั วิ า ดว ยการ ควบคมุ การกอ สรา งอาคารภายในบรเิ วณขอบเขตเมอื งเกา กาํ แพงเพชร ของภาครฐั บาล รฐั วสิ าหกจิ หนวยงานของรัฐอยางอ่ืน ภาคเอกชน และประชาชน ที่อาจพึงมีในบริเวณเมืองเกา กาํ แพงเพชร พ.ศ. 2561” (ดูเพ่ิมเตมิ ในภาคผนวก 4) เนือ้ หาแบงออกเปน 3 หมวด คือ “หมวดท่ี 1 การยื่น ขออนญุ าตปลูกสรางอาคาร” “หมวดที่ 2 การตรวจสอบพ้นื ทข่ี ออนญุ าตปลูกสรางอาคารและ เง่ือนไขการอนุญาต” “หมวดที่ 3 ขั้นตอนการพิจารณาเห็นชอบ” การดาํ เนินการดงั กลาวชวย อํานวยความสะดวกใหผูปฏิบัติมีแนวทางในการปฏิบัติไดอยางเหมาะสมของทุกภาคสวน ท้ังผูขอ อนุญาตกอสราง และผูมีอํานาจหนาท่ีท่ีรับผิดชอบ เพ่ือใหการดําเนินการกอสรางอาคารในพ้ืนที่ เมืองเกากําแพงเพชรไดมีกลไกการกล่ันกรองท่ีเหมาะสมเพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการ อนุรักษและพัฒนาเมืองเกาใหรักษาคุณคาเปนตนทุนสําหรับการพัฒนาอยางยั่งยืนบนฐาน วัฒนธรรมสบื ตอไป จะเห็นไดวา “คณะอนุกรรมการอนุรกั ษและพฒั นาเมอื งเกา รายเมือง” ทั้ง 31 เมืองนัน้ มี บทบาทสําคัญในการกํากับทิศทางการอนุรักษและพัฒนาเมืองใหเปนไปในทิศทางที่เหมาะสม สามารถธาํ รงรกั ษาคณุ คา ของเมอื งเกา ไวไ ด ในขณะเดยี วกนั กต็ อบโจทยก ารใชส อยในบรบิ ทรว มสมยั ของประชาชน และผมู สี ว นเกยี่ วขอ งกับเมืองเกา โดยสามารถประยุกตใ ชเครอ่ื งมือตางๆ ท่เี หมาะ สมสอดคลองกับเมืองเกาของตนเองดังตัวอยางของการบริหารจัดการท่ียกมาเปนกรณีตัวอยาง ขางตน การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 119

1 โครงการกอ สรา งอาคารของภาครฐั รัฐวสิ าหกจิ และหนว ยงานของรัฐอยางอ่ืน ในบริเวณเมืองเกา 2 โครงการกอ สรา งอาคารของภาคเอกชนในที่ดินของรัฐ ในบริเวณเมอื งเกา 120 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

ขอเสนอวา ดว ย ภูมทิ ศั นเ มอื งประวัติศาสตร: การอนุรกั ษแ ละพัฒนาเมืองเกาในบริบท สงั คมรว มสมยั การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 121

ภาพมุมสูงเมืองเกาเพชรบุรี มเี นอื้ ที่ 1.85 ตารางกโิ ลเมตร 122ไดร บั สกําานรักปงราะนกนาโศยวบนัายทแ่ี ล10ะแผมนนี ทารคัพมยาพกร.ศธ.รร2ม5ช5า8ติและสิ่งแวดลอม

ขอ เสนอวา ดว ยภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตร: การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ในบรบิ ทสงั คมรว มสมยั องคก ารสหประชาชาตไิ ดค าดการณว า ในป พ.ศ. 2593 | ค.ศ. 2050 เมอื งจะมปี ระชากร ทอี่ ยอู าศยั เตบิ โตแบบเทา ทวคี ณู ทงั้ นปี้ ระชากรรอ ยละ 70 ของโลกจะยา ยเขา มาตงั้ ถ่ินฐานในเมือง เหตุดังกลาวเปนปจจัยเรงเราใหเมืองเกิดกระบวนการกลายเปนเมือง (Urbanization) ที่รวดเร็ว และรนุ แรง การโยกยายถนิ่ ฐานจากชนบทไปสเู มือง แมจ ะทาํ ใหเ น้อื ของสงั คมเมอื งมีความหลาก หลายทางวฒั นธรรมมากขน้ึ แตห ากไมม กี ารวางผงั เมอื งและการวางแผนบรหิ ารจดั การทเ่ี หมาะสม อาจจะกลายเปน ปญหารูปแบบใหมทค่ี กุ คามคณุ คาของเมอื งเกา จึงมคี วามจําเปนเรงดวนในการ สรางกลไกในการพิทักษรักษาคุณคาของเมืองเกา ทวาตองสรางความเปนอยูที่ดีของมนุษยชาติ ไปพรอมกัน รวมท้ังยังตองเรงสรางกลไกขับเคลื่อนสังคมใหเปนสังคมท่ีมีรากฐานของการใช ความคิดสรางสรรค และเคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพราะฉะนั้น การอนุรักษและ พัฒนาเมืองเกาจึงตองพิจารณาประเด็นเรื่องความยั่งยืนของ “มรดกทางวัฒนธรรมที่จับตองได (Tangible Cultural Heritage)” และ “มรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได (Intangible Cultural Heritage)” เปน สําคัญ ในแงนี้ จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่จะพิจารณาเมืองเกาในฐานะท่ีเปนทรัพยากรสําคัญสําหรับ อนาคตของมนุษยชาติ ในการพิจารณาน้ันตองมองเมืองเกาวาเปนระบบอันซับซอนและมีพลวัต ท้ังในประเด็นโครงสรางสังคม และความตองการของสังคม เปนส่ิงที่รวมขับเคล่ือนพลวัตของ เมือง อนั เปน เหตุใหเมอื งเกา มกี ารพฒั นาการขององคป ระกอบทางกายภาพมาโดยตลอด ฐานความคิดสําคัญของการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ไดถูกวางรากฐานมาจากการ ประชุมสหประชาชาติวาดวยเร่ืองท่ีอยูอาศัย (UN Habitat) นับตั้งแตการประชุมวาดวยการตั้ง ถน่ิ ฐานมนุษย ครง้ั ท่ี 2 (United Nations Conference in Human Settlements - Habitat II) ในป พ.ศ. 2539 | ค.ศ. 1993 ไดอ อก “ประกาศอสิ ตลั บลู วา ดว ยการตง้ั ถน่ิ ฐานมนษุ ย และทอ่ี ยู อาศัย (Istanbul Declaration on Human Settlements and the Habitat Agenda)” 1 มีประเด็นวาดวยเร่ืองวัฒนธรรมกับกระบวนการกลายเปนเมืองถูกหยิบยกขึ้นมาเปนประเด็น สนทนาและมีขอเสนอวาวัฒนธรรมตองถูกพิจารณาเปนสวนหนึ่งของชีวิตความเปนอยูท่ีดีของ มนุษยชาติ ตลอดจนการพัฒนาชุมชนทองถิ่น และการสรางความเทาเทียมตองเช่ือมโยงประเด็น มาจากความหลายหลายและคุณคา ทางวฒั นธรรมเขา มาเปน สว นหนงึ่ ของการดาํ เนนิ การ2 1 United Nations. (1996). Report of the United Nations Conference on Human Settlements (HABITAT II). Istanbul: UN Habitat. 2 Nancy Duxbury, Jyoti Hosagrahar and Jordi Pascual. (2016). Why Must Culture Be at the Heart of Sus- tainable Urban Development ?. the world association of United Cities and Local Governments (UCLG). การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 123

ในการประชุม HABITAT III วาดวยเรื่อง “ท่ีอยูอาศัย และการพัฒนา เมืองอยางย่ังยืน (Housing and Sustainable Urban development)” ในป พ.ศ. 2559 | ค.ศ. 2016 มีวาระสําคญั ในการวางกรอบทศิ ทางใหมเ กยี่ วกบั เมอื ง ใหตอบสนองตอความทาทายใหมๆ ท่ีเมืองตางๆ กําลังเผชิญหนาอยูในปจจุบัน โดยเสนอแนวคิดเรือ่ ง “วฒั นธรรม และมรดกเมอื ง (Urban Culture and Heri- tage)”3 ซง่ึ เปน ทศิ ทางทส่ี อดคลอ งกบั แนวทางของสหประชาชาตทิ กี่ าํ หนดเปา หมาย การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื (Sustainable Development Goals) หรอื SDGs ทง้ั 17 ดา น เพ่ือขับเคล่ือนโลกไปสูป พ.ศ. 2573 | ค.ศ. 2030 อยางม่ันคงและย่ังยืน นอกจากน้ี องคการยูเนสโกยังไดนําเสนอแนวคิดเร่ือง “วัฒนธรรมเพื่อ การพัฒนาเมืองอยางยงั่ ยนื (Culture for Sustainable Urban Development Initiative)” ความวา “ในหว งเวลาทป่ี ระชาคมโลกกาํ ลงั รว มหารอื เกย่ี วกบั เปา หมาย ของการพัฒนาในอนาคต เกิดความพยายามจาํ นวนมากทม่ี ุงเนนใหใชวัฒนธรรม เปน หวั ใจสาํ คญั ของวาระการพฒั นาระดบั สากลซง่ึ วฒั นธรรมแสดงออกอยใู นรปู แบบท่ี หลากหลายตั้งแตมรดกทางวัฒนธรรมไปจนถึงอุตสาหกรรมสรางสรรค และการ ทองเท่ียวทางวัฒนธรรม เพื่อเปนเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนการปฏิบัติการตางให เชื่อมไปสูเ ปา หมาย ท้งั มติ ทิ างเศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดลอ ม ในแนวทางสกู าร พัฒนาท่ยี ง่ั ยนื ” 4 เพราะฉะนั้น ในหวงสมัยท่ีสายลมแหงโลกาภิวัตนไดพัดไปยังทุกหนแหง อยา งรวดเรว็ และรนุ แรง สรา งความเปลยี่ นแปลงในมติ ติ า งๆ การบรหิ ารจดั การเมอื ง เกาบนฐานของการรักษาคุณคาทางวัฒนธรรมจะชวยรักษาอัตลักษณทาง วัฒนธรรมของเมืองเกาที่มีแตกตางกัน โจทยใหญของการบริหารจัดการเมืองเกา จึงอยูท่ีจะสรางสมดุลระหวางการพัฒนาและอนุรักษไดอยางไร เพ่ือใหเมืองเกามี พลวัตสามารถรับใชสังคมรวมสมัยไดอยางเต็มศักยภาพ มีดุลยภาพ ในขณะที่ยัง สามารถธํารงรักษาคุณคาและสงผานมรดกวัฒนธรรมเมืองเปนตนทุนสําหรับการ พัฒนาอยางยัง่ ยืนสคู นรุนตอไปในอนาคตไดอ ยา งสงางาม 3 UNSECO. (2015). UNESCO for United Nations Task Team on Habitat III. Paris: UNESCO. 4 UNESCO. (2015). Culture for Sustainable Urban Development Initiative. 124 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แนวคดิ ภมู ิทัศนเมอื งประวัตศิ าสตร: กระบวนทศั นใหมในการอนรุ กั ษแ ละ พฒั นาเมืองเกา ในอดีตที่ผานมา คําวา “การพัฒนา (Development)” และ “การอนุรักษ (Conserva- tion)” มรดกวัฒนธรรมในเมืองเกา อาจถูกมองวาเปนคูตรงกันขามที่ไมอาจจะเดินเคียงคูกันได มากกวาจะเปนการผสานแนวทางดังกลาวเขาดวยกัน แตในความเปนจริงแลวการอนุรักษและ การพัฒนาน้ันจําเปนตองดําเนินการรวมกัน โดยตองหาจุดสมดุลเพื่อใหการพัฒนาท่ีเกิดขึ้นใหม นน้ั ไมลดทอนคณุ คา มติ ติ า งๆ ของมรดกวัฒนธรรมเดิมของเมืองเกา องคการยูเนสโกไดเสนอแนวทางการบริหารจัดการเมืองเกา บนกรอบแนวคิดวาดวย “ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร ( Historic Urban Landscape)” หรือ “HUL” ซึ่งไดรับการพัฒนา และรับรองในท่ีประชุมสามัญองคการยูเนสโก ในป พ.ศ. 2554 | ค.ศ. 2011 ในเอกสาร “ขอ แนะนาํ วา ดว ยภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตร” นบั ตงั้ แตป  พ.ศ. 2554 | ค.ศ. 2011 เปนตนมา เมืองเกา หลายแหงในโลกไดน ําแนวทาง วาดวย “ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร (Historic Urban Landscape | HUL)” ไปประยุกตใช อยา งประสบความสาํ เรจ็ และไดบ รู ณาการเปน แนวทางใหมส าํ หรบั การบรหิ ารจดั การเมอื งเกา อยา ง ย่งั ยนื จากจุดเร่ิมตนดังกลาวมานั้น จะเห็นไดวาในปจจุบันแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร ไดถูกนําไปประยุกตเพ่ือปฏิบัติการแบบสหวิทยาการในระดับนานาชาติ ดวยมีความมุงหมายเพื่อ เพิ่มความรูการใชง าน รวมทงั้ การสรางเครอื ขายความรวมมอื สําหรบั เมอื งตางๆ ในระดบั นานาชาติ แลวในปจ จุบัน ทั่วท้ังโลกไมวาจะเปนรัฐบาลระดับชาติ และระดับทองถิ่น ตลอดจนหนวยงานของ สหประชาชาติ ธนาคารโลก และธนาคารเพ่ือการพัฒนาภูมิภาค ตางก็กําลังคนหากระบวนการที่ สรา งความยง่ั ยนื ของการพฒั นาเมอื งทสี่ ามารถบรู ณาการมติ ดิ า นสง่ิ แวดลอ ม สงั คม และวฒั นธรรม เขา กบั การวางแผนการออกแบบ และการดาํ เนนิ การการบรหิ ารจดั การเมอื ง แนวทางดงั กลา วเปน แนวทางที่ “ขอเสนอแนะวาดวยภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร” ไดวางกรอบแนวทางไว ขอเสนอแนะดังกลาวเปนแนวทางปฏิบัติที่สงเสริมแรงจูงใจมากกวาการมุงเปาหมายใน ลกั ษณะการบังคบั ใช โดยคาดหวังวา รัฐภาคีสมาชิกองคการยเู นสโกจะนาํ ไปประยกุ ตใชดว ยเล็งเห็น ในประโยชนแ ละเปนไปตามความสมคั รใจ รวมท้ังไมไดม ุง หมายเพือ่ แทนที่หลกั การ หรือแนวทาง การอนุรักษเดิมท่ีมีอยู ทวามุงหมายใหเปนเครื่องมือเพ่ิมเติมท่ีชวยใหแผนบูรณาการนโยบายและ แนวปฏิบัติในการอนุรักษสิ่งแวดลอมสรรคสรางกับการพัฒนาเมืองอยูบนทิศทางที่เคารพคุณคา ของบริบททางวัฒนธรรมท่ีแตกตา งกัน แนวทางวาดวยภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรไดใหความสําคัญกับการวินิจฉัยคุณคา เพื่อ นาํ ไปสูการกําหนดทิศทางการอนรุ ักษ การพัฒนาท่ีเหมาะสม ตลอดจนการบริหารจดั การพ้นื ทท่ี าง ประวตั ศิ าสตรเ ขา กบั บรบิ ททก่ี วา งขวางของเมอื ง โดยพจิ ารณาถงึ ความสมั พนั ธร ะหวา งกนั ขององค ประกอบเมอื ง ท้งั ในประเด็นเรอื่ งลักษณะทางกายภาพ การจดั พ้นื ที่ การเชอื่ มโยงส่ิงแวดลอ มทาง ธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม ทาํ เลทตี่ งั้ และทตี่ ง้ั สมั พนั ธ รวมไปถงึ คณุ คา ทางสงั คม วฒั นธรรม และ เศรษฐกจิ เพอื่ ใหก ารอนรุ กั ษแ ละพฒั นาองคป ระกอบของเมอื ง หรอื มรดกเมอื งเกา นนั้ เกดิ ประโยชน ตอชุมชนทองถิน่ และผอู ยอู าศยั ในเมืองเกา การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 125

ขอ แนะนําวา ดวยภูมทิ ศั นเ มืองประวตั ศิ าสตร ขององคการยเู นสโก เอกสาร “ขอแนะนําวาดวยภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร” ไดแปลเปนภาษาไทยและเรียบ เรียงข้ึนจาก “Recommendation on the Historic Urban Landscape” 5 เปนขอแนะนํา สาํ คัญขององคการยูเนสโกสําหรบั การบริหารจัดการเมืองเกา ท่มี พี ลวัต อยใู นบริบทสังคมรวมสมยั ทผ่ี า นการรบั รองในการประชมุ สามญั คณะกรรมการยเู นสโก เมอ่ื วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2554 และองคก ารยเู นสโก ไดม คี วามเหน็ วา ควรมกี ารสง เสรมิ ใหน าํ เอาแนวความคดิ วา ดว ยภมู ทิ ศั นเ มอื ง ประวตั ิศาสตรไ ปประยกุ ตใชกบั เมืองเกาทมี่ ีพลวตั จะนําไปสูความยั่งยืน แมว าเมืองเกา ดงั กลาวนั้น จะไมไ ดเปนแหลง มรดกโลกทางวฒั นธรรมก็ตาม ในท่ีน้ี ไดแปลคําวา “Historic Urban Landscape” เปนภาษาไทยวา “ภูมิทัศนเมือง ประวตั ิศาสตร” ไมไ ดใชค ําวา “ภูมทิ ศั นเ มืองเกา ” เน่อื งจากคําวา “เมืองเกา” มคี าํ ในภาษาองั กฤษ กํากบั วา “Old Town” และเปนคาํ ทใ่ี ชแ ละรับรกู นั อยางแพรหลายในสงั คมไทย อยางไรก็ตาม แมว า ในท่ีน้แี ปลคาํ วา “Historic Urban Landscape” เปน ภาษาไทยวา “ภูมทิ ศั นเมอื งประวัตศิ าสตร” ทวาเมอื่ มาพิจารณาในเน้อื หาและเปา ประสงคข องขอ แนะนาํ วาดวย ภูมทิ ศั นเมืองประวตั ศิ าสตรนั้น จะเห็นไดวามแี นวคิดทส่ี อดคลองกับความหมายของ “เมอื งเกาทม่ี ี พลวตั ” ตามประกาศคณะรัฐมนตรี จึงยอ มสามารถนําแนวความคดิ แบบสากลดงั กลาวมาประยกุ ต ใชก บั บริบทของเมืองเกาในประเทศไทยไดเปน อยา งดี แนวทาง “ภูมทิ ัศนเมอื งประวัติศาสตร (HUL)” เสนอวา การอนุรกั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ตอ งเกดิ ขน้ึ บนฐานของการทาํ งานแบบองคร วมและสหวทิ ยาการ ซงึ่ ผสานการทาํ งานระหวา งศาสตร ตางๆ เขาดวยกัน ท้ังนี้ เพอ่ื สรางองคความรูที่มีมิตริ อบดาน ในการทาํ ความเขา ใจความซบั ซอน และความหลากหลายของเมืองเกา รวมไปถึงการแสดงออกถึงปฏิสัมพันธระหวางธรรมชาติและ วฒั นธรรม ทง้ั ทเ่ี ปน มรดกวฒั นธรรมทจี่ บั ตอ งได และมรดกวฒั นธรรมทจ่ี บั ตอ งไมไ ดด ว ย เพอ่ื อธบิ าย องคป ระกอบอนั ซบั ซอ นทท่ี าํ ใหเ มอื งมคี ณุ ลกั ษณะอนั โดดเดน รวมทงั้ การสรา ง “สาํ นกึ ในถนิ่ ท่ี (Sense of Place)” และอัตลักษณเปนส่ิงท่ีตองทําความเขาใจและนําไปสูการกําหนดกลยุทธการอนรุ กั ษ และพฒั นาเมืองเกาตอ ไป ดวยวิธีน้ี แนวความคิดเรื่องภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร จึงเปนท้ังแนวทางและวิธีการ ทําความเขาใจความซับซอนและคุณคาของเมือง ถือวาเปนพ้ืนฐานสําคัญสําหรับการบูรณาการ การอนุรักษเมืองเกา ภายใตกรอบการพัฒนาท่ียั่งยืนที่ผานการประยุกตใชเคร่ืองมือดั้งเดิมและ นวตั กรรมที่ปรบั ใหเขา กับบริบทของแตล ะทอ งถิน่ โดยมฐี านความคิดในการบริหารจัดการทสี่ ําคญั ทีส่ ดุ คือ การมสี ว นรว มของคนทอี่ ยูอาศัยในเมืองเกา น้ันเอง 5 แปลและเรยี บเรยี งจาก UNESCO. (2011). Recommendation on the Historic Urban Landscape. Paris: UNESCO. ดเู พมิ่ เตมิ ใน เกรยี งไกร เกดิ ศริ .ิ “บทความแปล ขอ แนะนาํ เกยี่ วกบั ภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตร” ใน วารสารหนา จว่ั ฉบบั สถาปต ยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอ ม. ฉบบั ที่ 30 (มกราคม-ธนั วาคม 2559). 126 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

กรอบแนวทางวา ดวย “ภูมทิ ัศนเมืองประวตั ศิ าสตร” แนวทางวา ดว ย “ภมู ทิ ัศนเมอื งประวัติศาสตร (The Historic Urban Landscape)” คอื “แนวทางการจดั การทรพั ยากรมรดกเมอื งเกา เปน สภาพแวดลอ มทม่ี พี ลวตั เปลยี่ นแปลง ตลอดเวลา มีความหมาย และการระบถุ ึงคณุ คา แบบองครวมของเมือง อันกอรปู จากคุณลักษณะทางธรรมชาติ ผานกาลเวลามาอยางยาวนาน และในแตละยุคก็มีการสรางมรดกวัฒนธรรมส่ังสมเปนมรดก เมอื งเกา และยงั มพี ลวัตอยตู ราบจนปจจุบัน” 6 แนวความคดิ วาดวยภูมทิ ัศนเ มืองประวัตศิ าสตรไ ดเสนอมมุ มองวา “ในการบรหิ ารจดั การ เมืองเกาตองปรับกระบวนทัศนใหมที่ใหความสําคัญกับทุกๆ องคประกอบของเมือง” โดยขยาย ประเด็นใหกวางขวางกวาการมองเพียงแคส่ิงกอสรางทางกายภาพท่ีทําหนาท่ีเปนศูนยกลางทาง ประวตั ศิ าสตรข องเมอื งแตเ พยี งอยา งเดยี วดงั เชน แนวคดิ ในอดตี ทผ่ี า นมา ทวา ตอ งขยายวงของแนว ความคดิ ใหค รอบคลมุ บรบิ ทอนั เกยี่ วเนอ่ื งตา งๆ ทส่ี มั พนั ธก นั ระหวา งธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม และ ระหวางมรดกวัฒนธรรมที่จับตองได (Tangible Cultural Heritage) และมรดกวัฒนธรรมทจี่ ับ ตอ งไมได (Intangible Cultural Heritage) ดวย การทําความเขาใจเมืองเกาและบริบทแวดลอมตามแนวความคิดของภูมิทัศนเมือง ประวัติศาสตร ทาํ ใหสามารถสรางองคค วามรเู กย่ี วกบั คณุ คาและความสาํ คัญของเมืองเกาเพอ่ื นํา ไปสูก ารวางผัง วางแผน และการบรหิ ารจดั การบนฐานของเมอื งทม่ี ีพลวตั ตอ ไป7 ในประเด็นท่ีเกีย่ วกับ “สภาพแวดลอม” ตองพิจารณาบริบทของสภาพภูมปิ ระเทศ ธรณี สณั ฐาน อทุ กวิทยา และลักษณะทางธรรมชาติทโ่ี ดดเดนของพื้นท่ี สภาพแวดลอ มท่ีถูกสรา งขึ้นทั้ง ในอดีตท่ีผานมาและในบริบทรว มสมัย รวมทั้งโครงสรา งพน้ื ฐานและสาธารณูปโภค-สาธารณปู การ ของเมืองทั้งที่อยูเหนือดินและใตพ้ืนดิน ตลอดจนพื้นที่โลง และสวนของเมือง รูปแบบของการใช ประโยชนท่ีดิน และการจัดการเชิงพื้นที่ในดานตางๆ โดยใหความสําคัญกับการศึกษาเพื่อทราบ ความสมั พนั ธก นั ขององคป ระกอบ เมอื งเกา รวมทัง้ ตอ งบูรณาการกบั มิตสิ งั คม วฒั นธรรม การให คณุ คา และความหมาย กระบวนการทางเศรษฐกจิ ความหลากหลายทางวฒั นธรรม8 และอตั ลกั ษณ ทางวฒั นธรรม เพราะเมอ่ื ทราบถงึ คณุ คา แลว จะนาํ ไปสกู ารสรา งขอ ตกลง “คาํ ประกาศคณุ คา ความ สําคัญ (Statement of Significance)” ของเมืองเกา อันเปนรากฐานสําคัญของการจัดทําวิสัย ทศั นใ นการอนรุ กั ษแ ละการพฒั นาเมอื งเกา รวมทงั้ แนวทางการบรหิ ารจดั การเพอื่ ธาํ รงรกั ษาคณุ คา ความสาํ คญั ทีไ่ ดป ระกาศไว จากแนวคิดที่วาดวยความหลากหลายทางวัฒนธรรมอันเปนตนธารของแลกเปล่ียน ประสบการณและมุมมอง ซ่ึงนําไปสูความคิดริเริ่มสรางสรรคอันเปนสินทรัพยที่สําคัญของมนุษย การพฒั นาสภาพสงั คม และระบบเศรษฐกจิ รวมทงั้ การหาเครอื่ งมอื ในการจดั การกายภาพ เพอื่ ให สอดคลองกับความตองการและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เพ่ือทําใหม่ันใจวาการเปลี่ยนแปลง ท่เี กดิ ขน้ึ น้นั จะเกอื้ กลู กับคณุ คาดา นตา งๆ ของเมอื งเกา 6 UNESCO. (2011). Ibid. 7 GO-HUL. (2015). The HUL Guide Book: Managing heritage in dynamic and constantly changing urban environments. p.11. 8 Ibid. p.11. การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 127

นอกจากน้ี แนวทางภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตรย งั มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื การอนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอ ม ทางวัฒนธรรมท่ีมนุษยสรางสรรค ตลอดจนการเพ่ิมศักยภาพของเมืองเกาในมิติตางๆ อีกท้ังตอง ยอมรบั ในการเปลี่ยนแปลง ตราบเทา ทค่ี วามเปลี่ยนแปลงน้นั ไมคุกคามคุณคา และความสาํ คญั ของ เมอื งเกา ใหด อ ยลง และอยบู นฐานของความหลากหลายทางสงั คม วฒั นธรรม และหนา ทอี่ นั ซบั ซอ น หลากหลายของเมอื งเกา เพอื่ อนรุ กั ษม รดกทางวฒั นธรรมของเมอื ง การพฒั นาสงั คม และเศรษฐกจิ เกิดขึ้นอยา งสมดุลและย่ังยืน รวมท้ังตอบโจทยค วามตอ งการของคนรนุ ปจ จบุ ันและอนาคต ความทา ทายและโอกาสกบั แนวคิดภมู ิทศั นเมอื งประวัติศาสตรก ับเมือง เกา ขอเสนอแนะวาดวยภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร ใหความสําคัญกับบทบาทของเมืองเกา ในบริบทสังคมรว มสมยั ทั้งยงั ใหความสาํ คัญกบั ความเส่ียง และภยั คกุ คามประเภทตา งๆ ทจี่ ะเกิด ขนึ้ ตอ การอนรุ กั ษย านประวัตศิ าสตร โดยการออกกฎหมาย นโยบาย และแนวทางเพอ่ื ตอบสนอง ความทา ทายดังกลา ว แมวาการใชกฎหมายเพื่ออนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมในเขตเมืองเกามีความสําคัญ ทวามีความจําเปนที่ตองดําเนินการควบคูไปดวยกันคือ สรางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการ และการสรา งแรงจงู ใจเพอ่ื พลเมอื งทอ่ี ยอู าศยั ในเมอื งเกา รว มกนั ไดร บั ประโยชน ซงึ่ ทาํ ใหก ารอนรุ กั ษ และพัฒนาเมืองเกาในบริบทสังคมรวมสมัยเกิดข้ึนอยางมีประสิทธิภาพ สอดรับกับความทาทาย ดว ยการสรางโอกาสใหมใ หก ับผูอ ยอู าศัยในเมอื งเกา นอกจากน้ี แนวคิดเร่ืองภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรยังสนับสนุนใหชุมชนเกิดการพัฒนา และการปรับตวั ไปพรอ มกนั ในขณะท่ียังรกั ษาอตั ลักษณแ ละคุณคา ของประวัตศิ าสตรค วามทรงจํา ตลอดจนการรักษาสง่ิ แวดลอ มของชมุ ชนไวดวย จากขอมลู ทางสถติ ิแสดงใหเห็นวา ในทศวรรษท่ผี า นมา มีการโยกยายประชากรเขามาอยู อาศยั ในเมอื งเพ่มิ ข้นึ จาํ นวนมาก สง ผลตอความหนาแนน ของประชากรในเมือง สงผลตอเนือ่ งกบั ความเปลี่ยนแปลงในเมืองเกาที่เกิดข้ึนอยางรวดเร็ว ตลอดจนความเปล่ียนแปลงในแงวิถีทาง วฒั นธรรม และความเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ ในเมอื งเกา ดว ย จากการศกึ ษาพบวา หลายเมอื ง เกดิ ความเปลย่ี นแปลงบรบิ ทของคุณลักษณะดา นตา งๆ ของเมอื ง (Gentrification) ท่เี กิดข้ึนอยาง รวดเรว็ ทัง้ ท่ีเกิดข้ึนจากการยา ยเขา มาของคนกลุมใหมมาต้ังถ่ินฐานในเมอื งเกา และการยา ยออก จากเมอื งเกา ของคนกลมุ เกาดวยเงื่อนไขตา งๆ เชน ไมส ามารถปรบั ตัวใหรบั กับความเปลยี่ นแปลง ไดท งั้ ในมิติของวิถีชวี ติ และเศรษฐกิจซึ่งมกั พบกบั เมอื งเกา ท่ีมีความเปล่ยี นแปลงไปสูพืน้ ทข่ี องการ ทอ งเทยี่ วทม่ี ากเกนิ ไปซงึ่ สง ผลกระทบตอ เมอื งเกา ในมติ ติ า งๆ อยา งซบั ซอ น มที งั้ ความเปลย่ี นแปลง ทเ่ี ปน แงบ วกและแงล บ และเปน ทงั้ โอกาสและความทา ทายทเี่ มอื งเกา ตอ งเตรยี มตวั รบั มอื เพอื่ ทาํ ให เมืองเกาสามารถดํารงคุณคาอยูในไดในบริบทสังคมรวมสมัยที่มีแรงกดดันในหลากหลายมิติเขามา รมุ เรา อาทิ 128 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

(1) แรงกดดันจากกระบวนการกลายเปน เมือง และโลกาภวิ ตั น กระบวนการกลายเปนเมือง (Urbanization) แบบไรทิศทาง และการขยายขอบเขตของเมือง ออกไปโดยปราศจากการควบคุม (Urban Sprawl) ไดสรางความเปล่ียนแปลงอัตลักษณของพื้นท่ี เมอื งเกา และการบรโิ ภคทรพั ยากรจาํ นวนมาก และสง ผลกระทบตอ คณุ คา ของเมอื งเกา ตง้ั แตใ นระดบั ชมุ ชน จนถงึ ระดบั พืน้ ทีเ่ มือง รวมท้งั สงผลกระทบตอ ทําเลทีต่ ง้ั และสภาพแวดลอ มของเมอื ง นําไปสูผลกระทบตอ แนวความคิดของผูอยูอ าศยั และผูใชเมืองดวย หากไมม กี ารวางแผนและการจดั การกระบวนการกลายเปน เมอื งทเี่ หมาะสม นอกจากจะทาํ ใหเ กดิ การลดทอนคณุ คา ทางกายภาพของเมอื งเกา ลงแลว ยงั เปน การลดทอน “สาํ นกึ ของถน่ิ ท่ี (Sense of Place)” ของผูอยอู าศัยในเมอื งเกา นําไปสกู ารเปลี่ยนแปลงอัตลกั ษณของชมุ ชนลงไปในที่สุด จากการศกึ ษาพบวา ชุมชนเกาบางแหลงไดสูญเสียอัตลักษณ หนาที่ ขนบประเพณี และวิถีวัฒนธรรมของตน รวมทงั้ เกิดการ ยา ยออกของประชากรทเ่ี คยตง้ั ถนิ่ ฐานอยใู นเมอื งเกา ในทนี่ ี้ องคก ารยเู นสโกไดเ ชอ่ื มนั่ วา การบรหิ ารจดั การ ตามแนวทางภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรอาจชวยในการจัดการและบรรเทาผลกระทบดังกลาวลงได อยางไรก็ดี หากมีการดูแลกระบวนการกลายเปนเมืองใหเกิดขึ้นอยางมีคุณภาพ และสรางความ สมดุล กระบวนการกลายเปนเมืองน้ันจะสรางโอกาสทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม รวมไปถึงการ ยกระดับคุณภาพชีวิต และอตั ลักษณข องพน้ื ท่ีเมือง (2) แรงกดดนั จากการพฒั นา และเงอื่ นไขทางเศรษฐกจิ กระบวนการทางเศรษฐกิจหลายแนวทางไดเสนอวิธีการเพ่ือบรรเทาความยากจนของคนในเมือง และสงเสริมการพัฒนาทางสังคมและมนุษย ดวยการประยุกตใชเทคโนโลยี และนวัตกรรมสมัยใหม เชน เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เพื่อการวางผังเมือง (Urban Planning) การออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design) และใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการกอสรางอาคารบนฐานของความย่ังยืน หากมีการประยกุ ต ใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเหมาะสมจะสามารถชวยพัฒนาเมืองพรอมกับเพ่ิมคุณภาพชีวิตของพลเมือง ท่อี ยอู าศยั ในเมอื งเกาได นอกจากนี้ หนาท่ีใชสอยแบบใหมๆ ของเมืองเกายังเปนทางออกสําคัญในการอนุรักษและการ พฒั นาเมอื งเกา เชน ธรุ กจิ การบรกิ าร (Hospitality and Service Business) ธรุ กจิ การทอ งเทยี่ ว (Tourism Business) ธรุ กิจออกแบบสรางสรรค (Design and Creative Business) ธรุ กิจขนาดยอ มและขนาด กลาง (Small-Medium Enterprise) หรือธรุ กิจตง้ั ตน (Startup) ซงึ่ ถอื เปนรปู แบบเศรษฐกจิ สรา งสรรค สําคัญที่สามารถนําไปสูการยกระดับความเปนอยูที่ดีของชุมชน และการอนุรักษยานประวัติศาสตร และ มรดกทางวัฒนธรรมจะเกดิ ขึน้ เม่อื เศรษฐกิจมคี วามมนั่ คง สงั คมทหี่ ลากหลาย ซง่ึ มกี ารใชงานเพอื่ การอยู อาศัยและประกอบธรุ กจิ หากไมมโี อกาสเหลา นี้ กม็ ีแนวโนมวาการอนรุ ักษจะไมมีประสิทธิภาพและย่งั ยนื อยา งไรกต็ าม การดาํ เนนิ การในมติ ทิ างเศรษฐกจิ จาํ เปน ตอ งมอี ดุ มการณข องการอนรุ กั ษแ ละพฒั นา เมืองเกาอยางสมดุล เปนวิสัยทัศนหลักกํากับการดําเนินการ ไมเชนน้ันแลวหากมุงแตสงเสริมกิจกรรม ทางเศรษฐกิจที่เนนจํานวนหรือปริมาณจนลนขามขีดจํากัดความสามารถในการรองรับของเมืองเกา เชน การทองเท่ียวที่เนนจํานวนนักทองเท่ียวมากกวาการทองเท่ียวท่ีเนนคุณภาพของนักทองเที่ยว เชนนี้แลว ธุรกิจกจ็ ะเปน ดาบสองคมทส่ี ามารถทาํ ลายองคป ระกอบและจติ วญิ ญาณเมอื งเกา จนสญู เสยี คณุ คา และขาด ความตอ เนอ่ื งจนไมอาจสบื ตอคณุ คาใหคนรนุ ตอไปได เพราะฉะนั้นจึงตอ งบริหารจดั การดว ยความพถิ ีพถิ ัน และคาํ นึงถงึ ผลกระทบดานตางๆ อยา งรอบดานและรดั กมุ การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 129

แนวคดิ ภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตรก บั นโยบายการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา แนวคิด “ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร” เปนกระบวนทัศนใหมในการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม เมอื งในบรบิ ทสงั คมรว มสมยั ซงึ่ กา วขา มจากการใหค ณุ คา กบั ลกั ษณะทางกายภาพ หรอื มรดกทางวฒั นธรรม จับตองได (Tangible Cultural Heritage) อันเปนกระบวนทัศนเดิมของการอนุรักษในอดีต มาสูการให ความสําคัญกบั คุณคา และความหมายท่ีมรดกทางวฒั นธรรมน้ันมีตอ ผคู นและสังคม ดงั สะทอ นใหเ หน็ ในคํา แนะนําและกฎบัตรนานาชาติท่ีเกี่ยวเน่ืองกับการอนุรักษท่ีไดลงนามรับรองและประกาศใชในชวงทศวรรษที่ ผานมา การอนรุ กั ษเ มอื งเกา ในปจ จบุ นั และอนาคตจะพบกบั ความทา ทายใหมๆ ตามพลวตั ทางสงั คม ซ่ึง ในการบริหารจัดการจึงมีความจําเปนขับเคลื่อนแนวคิดดังกลาวสูการออกเปนวิสัยทัศน และนโยบาย สาธารณะ รวมไปถึงสรางกลไกการขบั เคลอ่ื นและปฏิบตั ิการดา นการอนรุ ักษแ ละการพฒั นาเพ่อื ธํารงรักษา คุณคา ของเมืองเกา ในทามกลางความเปลยี่ นแปลงดา นตางๆ ได การอนุรักษเมืองเกาบนฐานแนวทางภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรจึงตองบูรณาการกับการวางแผน เชิงนโยบายและการปฏิบตั ิ โดยคํานงึ ถงึ บริบทเฉพาะตัวของเมอื งเกา แตละเมอื งดวย ท้งั นี้ ในการออกแนว นโยบายควรมีวิธีการท่ีเอื้อใหเกิดกระบวนการท่ีสมดุลของการอนุรักษ ท้ังในระยะส้ันและระยะยาว ทั้งนี้ ควรเนนเปนพิเศษในเร่ืองความกลมกลืนและเกื้อกูลกันระหวางสิ่งเกาและส่ิงใหมตลอดจนการอนุรักษและ การพฒั นา เพือ่ ทําใหเ กดิ ความสมดุลระหวางการเกดิ ขนึ้ ของการพฒั นาใหมใ นบรบิ ทรวมสมัยใหอ ยรู วมกับ พ้ืนท่ียานประวัติศาสตรในเมืองเกาโดยไมลดทอนคุณคาของมรดกวัฒนธรรมลง โดยเฉพาะอยางย่ิงความ รับผดิ ชอบของเหลาผูมีสวนไดสว นเสยี ดังตอ ไปนี้ (1) หนวยงานระดับชาติ ที่เกี่ยวของตองเชื่อมโยงแผนการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาเขากับ นโยบายในระดับตางๆ ทั้งระดับชาติและระดับทองถิ่น ภายใตกรอบแนวทางน้ี หนวยงานที่เก่ียวของควร จัดทําแผนโครงการที่สอดคลองกับแนวทางการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาโดยคํานึงถึงการใชพ้ืนที่อยาง คุม คา รวมท้ังภูมทิ ัศนและมรดกทางวฒั นธรรม และสวนประกอบอ่ืนๆ ทีเ่ ก่ียวของ (2) ภาคราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมทเี่ ปนพลเมืองท่ีอยูอาศัยในเมืองเกา และผมู ีสวน ไดส วนเสยี ควรใหความรวมมอื เพอ่ื สรางความม่นั ใจในการดาํ เนนิ งานระหวา งกัน อน่งึ การทาํ งานรว มกนั เพอื่ ใหม น่ั ใจวา ทกุ ฝา ยในเมอื งเกา จะไดร บั ประโยชนจ ากแนวทางของการจดั การภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตร (3) องคกรเอกชนทั้งในประเทศ และตางประเทศ ควรมีสวนรวมในการพัฒนา และเผยแพร เคร่อื งมอื และแนวปฏบิ ัติท่ีดีสาํ หรบั การนาํ ไปปฏิบตั ใิ ชก ับเมอื งเกาตามแนวทางภมู ทิ ัศนเ มืองประวตั ศิ าสตร ทงั้ น้ี ในการขบั เคลอื่ นการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาเมอื งเกา ใหป ระสบความสาํ เรจ็ นน้ั หนว ยงานราชการ ที่เกี่ยวของในทุกระดับ ท้ังสวนกลาง และสวนภูมิภาค ตองตระหนักถึงความรับผิดชอบที่จะขับเคล่ือน นโยบายไปสกู ารจัดทาํ ผงั แมบ ทและแผนแมบทเพ่อื การอนุรกั ษพฒั นาเมืองเกา มีการวางแผน และกาํ หนด รายละเอียดในการดําเนินงานตางๆ ตลอดจนออกแบบวิธีการประเมินผลการดําเนินการ โดยดําเนินการ ภายใตก ารมสี ว นรว มของชมุ ชนทอ งถน่ิ ตลอดจนผมู สี ว นไดส ว นเสยี ทงั้ หมด โดยการประสานการดาํ เนนิ งาน กับสถาบันการศึกษา และภาคสวนท่ีเกี่ยวของจึงจะทําใหเกิดการขับเคลื่อนแนวความคิดวาดวยภูมิทัศน เมอื งประวตั ิศาสตรน าํ ไปสกู ารปฏบิ ัตเิ พ่ือการอนรุ กั ษและพฒั นาเมอื งเกา บนฐานของความยงั่ ยืนตอไป 130 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การสรางกลไก และเครื่องมือการอนุรักษและพัฒนาเมือง เกาตามแนวทางภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตร การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาตามแนวทางภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร ตอ งสรางกลไกหรอื เครื่องมอื ในการขับเคลื่อนดําเนินการ ทั้งเปน สิ่งท่มี อี ยูเดมิ หาก ยังมีความเหมาะสมตอการใชงาน หรือออกแบบกลไกและเครื่องมือใหมใหเหมาะ สมสอดคลองกับบรบิ ททอ งถน่ิ ของเมืองเกา ทมี่ ีพลวัตแปรเปลี่ยน คูมือภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร: การจัดการมรดกเมืองท่ีมีพลวัตและ สภาพแวดลอ มเมอื ง มคี วามเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาตามแนวทางของขอ เสนอแนะ วาดวยภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรขององคการยูเนสโก ไดเสนอกลุมเครื่องมือ สําหรับการอนุรักษและพัฒนาภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรสําหรับการขับเคลื่อน เมืองเกา ทีม่ พี ลวัต จาํ แนกออกเปน 4 ประเภทใหญ คือ (1) เครื่องมือการวางแผน และองคความรู (Planning and Knowledge Tools) เครอื่ งมอื ดา นการวางแผน และองคค วามรมู คี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ เนอื่ งจาก เมื่อทําการศึกษาอยางลึกซ้ึงจะทราบในคุณคาของเมืองเกาในประเด็นเร่ือง “ครบ ถวนสมบูรณ (Integrity)” และ “ความเปนของแทด้ังเดิม (Authenticity)” ทั้งน้ี จากคุณคาดังกลาวจะนําไปสูการสรางเคร่ืองมือเพ่ือสงเสริมการรับรูความสําคัญ และความหลากหลายทางวัฒนธรรมใหแกพลเมืองในเมอื ง ตลอดจนเปดโอกาสให มกี ระบวนการติดตามเพ่อื รบั ทราบขอมูล และมีการบริหารจดั การเพ่ือรับมือความ เปลี่ยนแปลงโดยมีเปาหมายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรในเมือง และ ความยงั่ ยนื ของเมืองเกา ในการสรา งองคค วามรขู น้ั พน้ื ฐาน ตอ งมกี ารจดั เกบ็ ขอ มลู ตา งๆ ของเมือง เกาโดยละเอียดและนํามาจัดทําแผนท่ีทางวัฒนธรรม และองคประกอบทาง ธรรมชาติ เพื่อทําความเขาใจความสัมพันธระหวางกันขององคประกอบเมืองเกา ในมติ ติ า งๆ และใชเ ปน เครอ่ื งมอื ในการประเมนิ ผลกระทบตอ มรดกเมอื ง สงั คม และ สิง่ แวดลอ ม รวมไปถึงการสนบั สนนุ เพอ่ื การออกแบบและวางผังบนฐานของความ ย่ังยืน และดําเนนิ การอยา งตอ เนือ่ ง (2) เครอ่ื งมอื การผสานกาํ ลงั กบั ชมุ ชนทอ งถนิ่ (Community Engagement Tools) เมืองเกาประกอบดวยดวยส่ิงแวดลอมสรรคสรางท่ีมีความซับซอน และ หลากหลาย หากจะมีการอนุรักษและพัฒนาใหประสบความสําเร็จ จําเปนตองมี การบรหิ ารจดั การทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนตอ งออกแบบเครอ่ื งมอื ในการประเมนิ เพ่ือการพัฒนาอยางตอเน่ือง โดยดําเนินการตางๆ ดวยวิธีการแบบสหวิทยาการ ดวยเทคโนโลยีและนวตั กรรมท่ีเหมาะสม ตอ งนาํ นโยบายและปฏิบัตกิ ารดา นตา งๆ มาปรับประยุกตใหเหมาะสมกับการใชงานในทองถิ่น มีการปรับปรุงแกไขให การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 131

สอดคลองกับความตองการและสถานการณดวยเครื่องมือดานการผสานพลังรวม กับชุมชน ควรสงเสริมการเพ่ิมขีดความสามารถของผูมีสวนรวมท่ีหลากหลาย ประสบการณ และวิชาชีพเพอ่ื วนิ จิ ฉยั ถงึ คณุ คา อนั เปน หวั ใจหลกั ของพน้ื ทเี่ มอื งเกา ตอ งสง เสรมิ ใหส ามารถระบคุ ณุ คา ความสาํ คญั ขององคประกอบของเมืองเกาเพื่อนํา ไปสูฉันทามติขอ ตกลงใน “คาํ ประกาศคุณคาความสําคัญ (Statement of Signifi- cance)” รวมกัน อันจะนําไปสูการพัฒนาวิสัยทัศนของการขับเคลื่อนเมืองเกา ตลอดจนการกําหนดเปาหมายของการบริหารจัดการเมืองเการวมกันของทุกภาค สวนในเมืองเกา เพ่ือการนําขอตกลงและแผนปฏิบัติการตางๆ นั้นไปสูการปกปอง คมุ ครองมรดกเมอื งเกา ภายใตแ นวทางการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื เครื่องมือสําหรับการบริหารจัดการนั้นตองอํานวยใหเกิดกระบวนการ สนทนาขามกลุม ขามศาสตรที่มีความเช่ียวชาญ และขามวัฒนธรรม โดยใหความ สําคัญกบั การมสี ว นรว มของชมุ ชนอยา งแทจ รงิ เพอ่ื สรา งกลไกการเรยี นรจู ากชมุ ชน ทอ งถนิ่ ในมิติประวัติศาสตร ประเพณี คุณคา ความตองการใชสอย แรงบันดาลใจ ที่มีตอเมืองเกา และอํานวยใหเกิดส่ือกลางในการสนทนา รวมไปถึงตองมีกลไก การไกลเ กลยี่ และเจรจาตอ รองในกรณที ่มี ีความขดั แยง ระหวา งกันดวย (3) ระบบกฎเกณฑ (Regularity System) การบริหารจัดการการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาตองเกี่ยวของกับผูมี สว นไดส ว นเสยี หลายกลมุ จงึ ตอ งสรา งกลไกและกระบวนการมสี ว นรว มของทกุ ภาค สว นทเ่ี กยี่ วขอ ง ตงั้ แตก ารกาํ หนดประเดน็ คณุ คา ความสาํ คญั และการสรา งวสิ ยั ทศั น ของเมืองเกาท่ีใหความสําคัญกับความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมของพลเมืองใน เมืองเกาเปนเปาหมายรวมกัน และมีฉันทามติเห็นดวยกับการปกปองมรดกทาง วัฒนธรรม และสงเสรมิ การพัฒนาอยา งยัง่ ยนื ท้ังนี้ กลไก และเคร่ืองมือที่สําคัญ อีกประการ คือ การสรา งขอ ตกลง ขอ บัญญตั ิทองถิน่ หรอื และขอกําหนดกฎหมาย ตางๆ บนฐานความเห็นชอบรวมกันและการมีสวนรวมกันของพลเมืองที่อยูอาศัย ในเมอื ง กลไก และเครอื่ งมือดา นการควบคมุ ดังกลา ว ครอบคลมุ การออกแนวทาง ปฏิบตั ิ และขอ กาํ หนดกฎหมายในระดบั ตางๆ อาทิ พระราชบัญญัติ พระพระราช กําหนด พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง หรือขอบญั ญตั ทิ อ งถน่ิ ที่มลี กั ษณะพเิ ศษ และมคี วามเฉพาะเจาะจงของแตล ะพน้ื ท่ี เพอื่ ใชใ นการบรหิ ารจดั การมรดกเมอื งเกา ทงั้ ทเ่ี ปน มรดกวฒั นธรรมทจี่ บั ตอ งได และมรดกวัฒนธรรมท่ีจับตอ งไมไ ด รวมเปน องคประกอบสาํ คัญของมรดกเมือง ทั้งน้ี รวมถึงคุณคาตางๆ ในมติ ทิ างสงั คม และ ส่ิงแวดลอ ม ตลอดจนระบบและขอตกลงแบบจารตี ประเพณที ี่มเี อกลกั ษณก็เปนสิ่ง ทีค่ วรนํารวมพจิ ารณา และควรไดรบั การสงเสริมดว ยตามความจาํ เปน ท้งั น้ี ควรมี การสรางแรงจูงใจ การประนีประนอม และการตอรองระหวางกันในระดับตางๆ ตามระดบั ความเขมงวดของขอ ตกลงหรือขอบญั ญตั ิทกี่ าํ หนดขนึ้ 132 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

อยางไรก็ดีในอุดมคติน้ันหากสามารถบริหารจัดการเมืองเกาบนฐานของ แรงจงู ใจหรอื ฉนั ทามติโดยความสมคั รใจน้นั เปน สิง่ ที่ยง่ั ยืนและมีคณุ คา ย่งิ ดว ยเกดิ จากการท่ีทุกคนเคารพในคุณคาของมรดกวัฒนธรรมเมืองและรวมแสวงหา แนวทางปฏบิ ัติทีเ่ หมาะสมในการอนุรกั ษแ ละพฒั นา และรวมไดรบั ประโยชนจาก การรกั ษาคุณคาของเมืองเกา ไวได และสง ผา นคุณคาตอเนอื่ งไปยังคนรุนตอไป (4) เคร่อื งมือดา นการเงิน (Financial Tools) ในการพัฒนาตองอยูบนฐานของการปกปองคุมครองคุณคาของเมืองเกา ควรมีเปาหมายในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร และสนับสนุนการพัฒนาให เกดิ รายไดเ ชงิ นวตั กรรมบนฐานทางวฒั นธรรม ทั้งนี้ เครือ่ งมอื ทางการเงนิ ควรจะ มุงเปาไปท่ีการสรางศักยภาพและการสนับสนุน ใหมีการวางแนวทางท่ีเหมาะสม ในการระดมทนุ เพ่อื การอนุรักษและพัฒนาเมอื งเกา ซึ่งหาชองทางในการไดร บั การ สนับสนุนทุนจากภาครัฐ และทุนจากภาคเอกชน ตลอดจนองคกรตางๆ ทั้งใน ระดับชาติ และระดับนานาชาติ เมื่อมกี ารระดมทุนเพอื่ การอนรุ ักษแ ละพัฒนาตอ ง มกี ารบริหารกองทนุ ท่ีโปรงใสและมีธรรมาภบิ าล รวมทัง้ ควรมเี ครื่องมือทางการ เงินทส่ี ง เสรมิ การลงทนุ ของภาคเอกชนในระดับทอ งถน่ิ ตลอดจนควรสนับสนนุ ให มีสินเชือ่ ขนาดยอ ม และกลไกทางการเงินท่ยี ืดหยนุ อ่ืนๆ เพื่อสนบั สนุนองคก รใน ทองถ่ิน เชนเดียวกับการขับเคลื่อนทางเลือกใหมๆ สําหรับความรวมมือระหวาง ภาครฐั และเอกชน ซงึ่ ตา งกเ็ ปน หวั ใจหลกั ในการบรหิ ารจดั การตามแนวทางภมู ทิ ศั น เมอื งประวัติศาสตรม ีระบบการเงนิ ท่ยี ง่ั ยนื จากเครื่องมือท้ัง 4 หมวดหมูท่ียกมาขางตน ถือเปนหัวใจหลักในการ บริหารจัดการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาตามแนวทางภูมิทัศนเมืองประวัติศาสต ซึ่งในแตละเมืองตองออกแบบเครื่องมือแตละประเภทอยางเหมาะสมกับบริบทของ เมืองเกา ของตน ตลอดจนมกี ารประเมินความสําเรจ็ และนํามาสกู ารปรับปรุงแกไ ข ใหเ หมาะสม และตองดําเนินการอยางตอ เนือ่ ง การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 133

เครื่องมอื ท้ัง 4 หมวด คอื เคร่อื งมอื การวางแผนและองคค วามรู เครอื่ งมือการผสานกาํ ลังกับชุมชนทอ งถ่ิน ระบบ กฎเกณฑ และเครอื งมอื ดา นการเงิน ซ่ืงเมอื งเกาแตล ะเมืองสามารถออกแบบเคร่อื งมอื ยอยอนื่ ๆ ไดอ ีกตามความ เหมาะสมกับบริบทแวดลอมของเมืองตน ซ่ึงเคร่ืองมือน้ีถือเปนหัวใจหลักของการบริหารจัดการการอนุรักษ และ พัฒนาเมืองเกาใหธ าํ รงรักษาคุณคาทวา สอดคลองกบั การใชส อยในบรบิ ทรวมสมยั 134 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กลไก เคร่อื งมือ และประเด็นในการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ตามแนวทางภมู ทิ ศั นเมอื งประวัติศาสตร 135 การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร

การประยกุ ตแ นวทางภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตรก บั เมอื งเกา 9 ในทศวรรษที่ผานมาเมืองตางๆ มีทิศทางที่จะใชวัฒนธรรมเปนแกนหลัก ของวางยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อแตละเมืองไดรับการ กระจายอํานาจ ทําใหเมืองเกาตางๆ ที่มีตนทุนของมรดกวัฒนธรรมเมืองอันเปน เอกลกั ษณไ ดเ รมิ่ ตน วางกลยทุ ธก ารสรา งอตั ลกั ษณข องเมอื งเกา ตลอดจนมแี นวคดิ เร่ืองการฟนฟูเมืองเกาใหตอบโจทยกับการใชสอยในบริบทสังคมรวมสมัยมากขึ้น เชน การพฒั นาโครงสรา งพน้ื ฐานทสี่ ง เสรมิ พนื้ ทท่ี างวฒั นธรรมและศลิ ปะ การสรา ง เครือขา ยทางวฒั นธรรมรวมกนั ระหวา งภาคสว นตางๆ10 นอกจากน้ี จะเหน็ ไดว าการอนุรกั ษม รดกวัฒนธรรมเมอื งเปน ยุทธศาสตร สาํ คญั สาํ หรบั เมอื งเกา ขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลางในประเทศกาํ ลงั พฒั นา11 ซง่ึ กจิ กรรม ที่เก่ียวของกับมรดกทางวัฒนธรรมเปนสวนหน่ึงของการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ และการสรา งงานในทอ งถน่ิ เพราะฉะนนั้ การลงทนุ ในการวางผงั และแผนแมบ ท และ การขับเคล่ือนแผนโดยหนวยงานท่ีเกี่ยวของเพื่อพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานที่สงเสริม กิจกรรมวฒั นธรรม ตลอดจนอตุ สาหกรรมวฒั นธรรมของเมอื งเกา บนฐานของการ มีสวนรวมของชุมชนและสังคม จะชวยทําใหเมืองเกาไดรับการอนุรักษและพัฒนา ทเ่ี หมาะสม ตอบโจทยก ารใชส อยรวมสมัย และพทิ กั ษรักษาคณุ คา ของมรดกเมอื ง ไวได ซ่งึ กระบวนการอนรุ กั ษแ ละพัฒนาเมอื งเกา ในลักษณะดงั กลาวจะเกิดขน้ึ ไมไ ด หากขาดหนวยงานในทองถ่ินที่จะดําเนินการเปนองคกรพัฒนาเมืองเกาบนฐาน วัฒนธรรม (Cultural-Based Urban Government)12 การนําแนวทางภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรไปประยุกตกับการอนุรักษ และพัฒนาเมืองเกานั้น ลําดับแรกมีความจําเปนตองคํานึงถึงบริบทเฉพาะตัวของ แตล ะเมอื งเกา ซง่ึ จะสง ผลใหเ มอื งเกา แตล ะเมอื งมแี นวทางการจดั การทแี่ ตกตา งกนั ทง้ั น้ี “คมู อื ภมู ทิ ศั นเ มอื งประวตั ศิ าสตร: การจดั การมรดกเมอื งทม่ี พี ลวตั และสภาพ แวดลอมเมืองมีความเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตามแนวทางของขอเสนอแนะวา ดวยภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรขององคการยูเนสโก (The HUL Guidebook: Managing heritage in dynamic and constantly changing urban environ- ments A practical guide to UNESCO’s Recommendation on the Historic Urban Landscape)” 13 และ“ชวี ติ ใหมใ นเมอื งประวตั ศิ าสตร: อรรถาธบิ ายแนวทาง ภูมิทัศนเมอื งประวตั ิศาสตร (New life for historic cities: the historic urban 9 GO-HUL. (2015). Ibid. 10 Nancy Duxbury, Jyoti Hosagrahar and Jordi Pascual. (2016). Ibid. p.5. 11 Ibid. p.5. 12 Ibid. p.5. 13 UNESCO. (2011). Recommendation on the Historic Urban Landscape. Paris: UNESCO. 136 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

landscape approach explained)” 14 ไดเ สนอแนวทางการประยกุ ตใ ชใ นการดาํ เนนิ การตามแนวทาง ภมู ทิ ศั นเมอื งประวตั ศิ าสตรก บั การอนรุ ักษและพัฒนาเมืองเกา ดังนี้ 15 (1) สํารวจในเมืองเกาใหครอบคลุมทุกมิติ ท้ังแหลงทางธรรมชาติ ทรัพยากรทาง วัฒนธรรม และทรัพยากรมนุษยของเมือง ตลอดจนองคประกอบอ่ืนๆ ท่ีมีลักษณะโดดเดนของ เมือง เพ่ือนํามาจัดทําแผนที่แสดงองคประกอบของเมืองเกา เพ่ือเปนเคร่ืองมือในการพิจารณา สหสัมพนั ธร ะหวา งองคประกอบ และจะเปนการดอี ยา งยิ่ง หากนําขอมูลสาํ คัญเหลา นีบ้ รรจุไวใ น ระบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตร (Geographic Information System) เพราะสามารถนาํ มาใชไ ด อยา งรวดเรว็ และวเิ คราะหส หสมั พนั ธร ะหวา งขอ มลู ตา งๆ ทม่ี คี วามซบั ซอ นไดเ ปน อยา งดี ตลอดจน นาํ ไปเปนขอมลู พ้ืนฐานสําหรบั การวางแผนตอไปได; (2) เพอื่ ใหบ รรลฉุ นั ทามตริ ว มกนั ของพลเมอื งและผมู สี ว นไดส ว นเสยี ตา งๆ ตอ งใชก ระบวน การมสี วนรว มของผเู ก่ยี วขอ งและชมุ ชนในทุกขั้นของการดาํ เนนิ การ ตลอดจนการปรึกษาหารอื กับ ผูเกี่ยวของ และผูเช่ียวชาญเพ่ือศึกษาคุณคาของมรดกเมืองเกาอันจะนําไปสูการวางแนวทางการ คมุ ครองปอ งกนั และกาํ หนดแนวทางการใชป ระโยชนท เ่ี หมาะสมเพอื่ สง ตอ คณุ คา ไปยงั ผคู นในอนาคต (3) เพื่อประเมินความเปราะบางขององคประกอบเมืองเกาท่ีอยูภายใตแรงกดดันในมิติ ตางๆ ทัง้ แรงกดดนั ทางเศรษฐกิจ แรงกดดันจากสภาวะทางสงั คม ตลอดจนผลกระทบทีค่ าดวา จะ เกิดขึน้ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ (Climate Change) ซง่ึ เปนประเดน็ การคุกคามใหม ท่ีระดบั นานาชาตไิ ดเริม่ ใหความสาํ คัญมากขึน้ (4) สรางกรอบความคิดจากบูรณาการคุณคามรดกเมือง และสถานภาพของความ เปราะบางขององคประกอบเมือง เพื่อนําไปสูการสรางกรอบการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาท่ีมี ลกั ษณะเฉพาะตวั เหมาะสมสอดคลอ งกบั เมอื งเกา นนั้ ๆ เพอ่ื เตรยี มตวั ชว้ี ดั ประเมนิ ความเปราะบาง มรดกเมืองเกาอยางเหมาะสม โดยการวางแผน การออกแบบ และการดําเนินโครงการพฒั นาจะ ตองมคี วามพิถพี ิถันเพ่ือลดทอนผลกระทบทางลบท่อี าจจะเกิดข้นึ (5) เพอื่ จดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั กจิ กรรม อนั เปน การวางแผนการใชท รพั ยากรดา นตา งๆ ทมี่ ี สวนอยูจํากัดตามความเรงดวน อาทิ ทรัพยากรบุคคล เวลา คาใชจาย และอ่ืนๆ เพ่ือการใช ทรัพยากรตางๆ ที่มีอยูอยางจํากัดอยางเหมาะสม รวมไปถึงการสงเสริมขับเคลื่อนโครงการหรือ กจิ กรรมนาํ รอ งดว ย (6) เพือ่ สรางเครือขา ยของคณะทาํ งานทม่ี ีความเหมาะสม และกรอบการบรหิ ารจดั การ ของทองถิ่นสําหรับแตละโครงการท่ีระบุไวในโครงการอนุรักษและการพัฒนา รวมถึงการพัฒนา กลไกการประสานงานกจิ กรรมตางๆ ระหวางผมู ีบทบาทท่ีแตกตางกันทงั้ ภาครัฐและเอกชน (7) พัฒนาระบบ กลไก และเครือ่ งมือสาํ หรับการผสานระหวา งกจิ กรรมและโครงการท่ี หลากหลายกับพลเมอื ง และกลุม ผมู ีสว นไดสว นเสียทมี่ คี วามหลากหลาย 14 UNESCO. (2013). New Life for Historic Cities: The Historic Urban Landscape Approach explained. Paris: UNESCO. 15 GO-HUL. (2015). Ibid. p.13. และ UNESCO. (2013). Ibid. p. 16. การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 137

ปจ จยั แหง ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การมรดกเมอื งเกา ทม่ี คี วามซบั ซอ นดว ยมี การเปลี่ยนแปลงผานกาลเวลามายาวนานจึงสั่งสมคุณคา และความหมายในหลากมิติ การบริหารจัดการจึงตองการชุดเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาเคร่ืองมือ อยา งตอ เนอ่ื งเพอื่ ความเหมาะสมสอดคลอ งกบั บรบิ ทแวดลอ ม เงอื่ นไข และความทา ทาย ทเี่ ปลย่ี นแปลงอยตู ลอดเวลา เครอ่ื งมอื ทนี่ าํ มาใชต อ งมฐี านคดิ แบบสหวทิ ยาการทเี่ กดิ จากการผสานองคค วามรู ขา มศาสตร เน่อื งจากการทําความเขา ใจเมืองเพอื่ นําไปสูก ารวางแผนแนวทางการบริหาร จดั การเมอื งเกา นน้ั ตอ งการมมุ มองทก่ี วา งขวาง และมคี วามแตกตา งหลากหลาย เพอื่ เลอื ก แนวทางที่ดีท่ีสุด เหมาะสมท่สี ดุ กบั คณุ คาของเมอื งเกา หัวใจหลักสําคัญในการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาบนแนวคิดภูมิทัศนเมือง ประวัติศาสตรยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนาและการเสริมสรางศักยภาพบุคลากร (Building Capacity) แกผ มู ีสว นรว มในเมอื งเกา ทุกกลุม เพอ่ื เตรียมพรอ มใหม ีความรู และทักษะสอดรับกับความเปล่ียนแปลงใหมๆ และตองมีกิจกรรมหนุนเสริมพลังใหกับ ชุมชน (Community Empowerment) เพ่อื รับมือกบั ความเปลย่ี นแปลงในมติ ติ างๆ ได รวมทั้งจัดกิจกรรมพัฒนาความรูความเขาใจเกี่ยวกับเมืองเกาแกผูมีอํานาจตัดสินใจ ผูเชี่ยวชาญ และผูบริหารจดั การ ตลอดจนผเู ก่ยี วของกลมุ ตา งๆ หัวใจหลักอีกประการท่ีชวยสรางความสําเร็จใหแกการอนุรักษและพัฒนา เมืองเกา คือ “การวิจัย” ตองเร่ิมดําเนินการตั้งแตตนทางของการวางแผนเพื่อใชผล การศึกษาวิจัยในการบงช้ีคุณคาขององคประกอบเมืองเกาซ่ึงมีบริบทที่ซับซอน เพื่อทํา ความเขาใจคุณคาและความหมายของเมืองเกา อันจะนําไปสูฉันทามติขอตกลงใน “คํา ประกาศคณุ คาความสําคัญของเมอื งเกา (Statement of Significance - SOS)” เพือ่ นํา ไปสกู ารจดั ทาํ วสิ ยั ทศั น และแผนโครงการบรหิ ารจดั การเมอื งบนฐานของการอนรุ กั ษแ ละ พัฒนา ทั้งน้ี สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย และหนวยงานการวิจัยตางๆ ควรเขามี สวนรวมและสนับสนุนพัฒนางานวิจัยบนทิศทางของแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร โดยทาํ งานรว มกนั ตงั้ แตร ะดบั ทอ งถนิ่ ประเทศ ภมู ภิ าค และนานาชาติ และจาํ เปน อยา งยง่ิ ที่ตองมีการจัดทําเอกสาร และขอมูลเก่ียวกับพัฒนาการทางกายภาพของพื้นที่เมืองเกา เหลานั้น เพือ่ อาํ นวยความสะดวกในการประเมินผลของการเปลย่ี นแปลง และนําผลมา ปรับปรงุ เชิงวางแผน และการบริหารจดั การตา งๆ ตอไป ในการสงเสริมการเรียนรู และการสื่อความหมายมรดกวัฒนธรรมของเมืองเกา เพอ่ื สรา งความรคู วามเขา ใจแกท กุ ภาคสว น รวมทงั้ ผทู อ่ี ยอู าศยั หรอื ผทู เ่ี กย่ี วขอ งกบั เมอื ง เกา ผานการสงเสริมโครงสรางพ้ืนฐานและส่ิงสนับสนุนทางวัฒนธรรม เชน พิพิธภัณฑ (Museum) ศูนยสื่อความหมาย (Interpretation Center) พื้นที่ทางศิลปะวัฒนธรรม (Arts and Cultural Space) พ้ืนท่ีจัดแสดง (Gallery) ฯลฯ เพ่ือเปนพื้นท่ีสาธารณะ สําหรับกิจกรรมการสนทนาแลกเปลี่ยน และแบงปนความรู สนับสนุนปฏิสัมพันธทาง สังคมระหวา งกัน ตลอดจนสรา งความเขา ใจรวมกนั ผานการอนุรักษแ ละพฒั นาเมืองเกา ท่ีสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนตางๆ หรือกลุมสังคมตางๆ ในเมืองเกา และสงเสริม สํานึกในถิ่นท่ีและความเปนเจาของท่ีจะรวมอนุรักษและพัฒนาเมอื งเกา 138 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

การบริหารจัดการเมืองเกาตามแนวทางภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรสูความ ยั่งยืนจะมีคุณประโยชนโดยตรงกับชุมชนและผูอยูอาศัยในเมืองเกา กลาวคือ ในหลาย เมอื งนน้ั มแี นวทางใหมส าํ หรบั การสรา งอาชพี และการพฒั นาเศรษฐกจิ ในทอ งถน่ิ รวมไปถงึ อตุ สาหกรรมวัฒนธรรม และอุตสาหกรรมสรา งสรรค ตลอดจนกจิ กรรมการแสดง รวมไป ถงึ การเพมิ่ มลู คา (Value Added) ใหก บั สนิ คา และบรกิ ารทม่ี อี ยเู ดมิ ในเมอื งเกา ซง่ึ เปน การ สรา งรายไดเ พม่ิ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของพลเมอื งในทอ งถิน่ ในปจจุบันอุตสาหกรรมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจสรางสรรคมีบทบาทสูงมากขึ้น ในกระบวนการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา และมีสวนชวยใหเกิดความเคล่ือนไหวทาง เศรษฐกิจ และการจางงานในทองถ่ินมากขึ้น อีกท้ังยังเปนการคุมครองปองกัน และสง เสริมการอนุรักษวัฒนธรรมเมืองเกาในแตละทองถิ่น เพื่อเปนตนทุนในการตอยอดนําไป สกู ารออกแบบผลติ ภณั ฑใ หมๆ รวมทง้ั การตอ ยอดสกู ารพฒั นาการทอ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม อยา งยงั่ ยนื ซง่ึ จะสรา งรายไดเ ขา สเู มอื งเกา และเปน การทอ งเทย่ี วเพอื่ ลดผอ นความยากจน (Pro-Poor Tourism) โดยเฉพาะในประเทศกําลงั พัฒนา ซ่ึงสอดคลองกับเปาหมาย การพัฒนาท่ียั่งยืน การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม และความคิดสรางสรรคน้ันมี วัตถุประสงคหลัก คือ การสรางการผลิต การจัดจําหนายสินคาและบริการ ตลอดจน กิจกรรมท่ีมีวัฒนธรรมและศิลปะอันมีตนทุนมาจากเมืองเกา ในเมืองเกาหลายเมืองยัง ตอยอดเปนงานศิลปะ หัตถศิลป ศิลปะการแสดง รวมถึงการถายทําภาพยนตร ดนตรี สอ่ื ส่งิ พิมพ และสื่อสารสนเทศ โดยใชแ รงบนั ดาลใจจากมรดกวฒั นธรรมจับตอ งได และ จบั ตอ งไมไ ดที่เปน องคป ระกอบของเมอื งเกา เปน ตนทนุ สาํ หรับการพัฒนาตอ ยอด การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาบนฐานคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรในบริบท สังคมรวมสมัยนั้นจึงกาวขามการใหคุณคาลักษณะทางกายภาพของโบราณสถานที่เปน อนสุ รณส ถาน ศาสนอาคาร หรอื ส่งิ กอ สรา งทีย่ งิ่ ใหญเ ชน กระบวนทศั นในการอนุรักษใน อดีต มาสูการใหคุณคาความหมายขององคประกอบเมืองเกาที่มีปฏิสัมพันธกับพลเมือง ในเมืองในมิติตางๆ ท้ังทางตรงและทางออม คุณคาและความหมายขององคประกอบ เมอื งเกา จงึ ปรบั เปลย่ี นมาสกู ารพจิ ารณาในฐานะเปน ตน ทนุ สาํ หรบั การพฒั นาอยา งยงั่ ยนื ทม่ี ีตอ พลเมือง ชุมชน และสงั คมของเมืองเกา ตลอดประเทศชาติ และระดับนานาชาติ นอกจากนี้ แนวคดิ ภูมิทัศนเ มอื งประวัติศาสตรย งั ไดม งุ สงเสรมิ ใหมีการประยกุ ต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม ในการจดั เกบ็ ขอมูล และจัดทําระบบสารสนเทศ เพ่ือประกอบการวจิ ัย การตดั สินใจ ตลอดจนการสอ่ื สารขอ มลู ตางๆ ออกไปสสู าธารณชน ในวงกวา ง เพอ่ื สรา งความเขา ใจในคณุ คา ความหมาย และความซบั ซอ นขององคป ระกอบ เมืองเกาอันเปนหัวใจสําคัญของการสรางองคความรูเกี่ยวเมืองเกาอันจะนําไปสูการสราง ความตระหนักถึงคุณคาและนําพาใหผูเกี่ยวของในเมืองเกาไดหันกลับมารวมอนุรักษและ พัฒนาเมอื งเกาไปสคู วามยั่งยนื ตอไป การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 139

บทสรปุ แนวทาง “ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร” เปนแนวคิดแบบองคร วม (Ho- listic Approach) โดยมเี ปา หมายในการอนรุ กั ษม รดกเมอื งเกา ควบคกู บั การพัฒนา ทางสงั คม และเศรษฐกิจ ดวยแนวทางดงั กลาวจึงถอื วา “เมอื งเกา” เปนสนิ ทรัพย สําคัญอันเปนตนทุนสําหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคม เพื่อการยกระดับคุณภาพ ชวี ติ ของพลเมอื งสง เสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม ตลอดจนพลวตั ทางวฒั นธรรม ทหี่ มนุ เวยี นเปลยี่ นผา นจากการใชช วี ติ ของพลเมอื ง รวมทง้ั กจิ กรรมตา งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในพ้นื ทเี่ มืองเกา จะเห็นไดวาแนวทางการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาบนฐานของแนวทาง ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรไดกาวขามจากการใหความสําคัญเฉพาะส่ิงแวดลอม ทางกายภาพที่มีความสงางามของอนุสรณสถานซึ่งมีขนาดใหญโต กาวขามจาก การมองเฉพาะแตศ าสนอาคาร อาคารสาํ คัญทีอ่ อกแบบกอ สรางอยา งวิจติ รบรรจง หรอื อาคารทมี่ กี ารใชส อยของชนชัน้ สงู แตอ ยา งเดยี วไป ทวามงุ เนนใหค วามสําคัญ กับองครวมของสภาพแวดลอมของเมืองเกาที่โอบลอมผูคนอันเปนสวนหน่ึงของ วถิ ชี วี ติ ประจาํ วนั อนั เปน สว นสาํ คญั ทสี่ ง ผลในการกอ รปู มรดกวฒั นธรรมทจี่ บั ตอ งได ตลอดจนการใหความหมายตอมรดกวัฒนธรรมจับตองไมไดท่ีประกอบรวมกัน ทาํ ใหเมอื งเกาแตล ะเมอื งมกี ลน่ิ อายและบรรยากาศทแ่ี ตกตางกัน การขับเคลื่อนแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรกับการอนุรักษและการ พัฒนาเมืองเกานั้นมีอุดมการณหลักสําคัญ คือ การบริหารจดั การใดๆ นนั้ ตอ งเกดิ ขนึ้ ภายใตก ระบวนการมสี ว นรว มของผคู นในทอ งถนิ่ รวมทงั้ หนว ยงานภาครฐั ภาค เอกชน ภคประชาชน และภาคประชาสงั คมตา งตอ งเปนสว นหนงึ่ ของกลไกการขับ เคล่ือนแนวคิดอนั จะนาํ ไปสกู ารพฒั นาอยา งยงั่ ยนื ตอ ไปในอนาคต ท้ังน้ี การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาตองมีเปาหมายที่จะผลักดันใหเกิด ความย่งั ยืนของเมอื งเกา และองคประกอบของเมือง ตอ งใชกระบวนการมีสวนรวม เปน เครอ่ื งมอื ในการดาํ เนนิ การดา นตา งๆ นบั ตง้ั แตก ารวางแผนและวางผงั การวาง แนวทางการปฏบิ ัติ การออกมาตรการควบคมุ ในขณะเดยี วกนั ตอ งมกี ารสรา งแรง จงู ใจควบคกู นั ไป และมกี ารออกแบบเครอื่ งมอื ทสี่ อดคลอ งกบั บรบิ ทของแตล ะเมอื ง เพอ่ื นาํ ไปสกู ารสรา งสมดลุ ของการอนรุ กั ษแ ละพฒั นา เพอ่ื ใหเ กดิ การใชส อยตอบโจทย บรบิ ทสงั คมรวมสมยั ไดอยา งเหมาะสม ในขณะเดียวกันก็สามารถรักษาคุณคาและ ความหมายของมรดกเมืองเกาเปนตนทุนสําหรับการพัฒนาในอนาคตได 140 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บรรณานกุ รม - สาํ นักนายกรัฐมนตรี. (2546). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม ที่ 120 ตอนพิเศษ 37 ง. 26 มนี าคม 2546. - สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม. (2554). ชดุ ความรู ดานการอนุรักษ พัฒนา และบริหารจัดการเมืองเกา เลม 1 ความรูความ เขาใจเก่ียวกับเมืองเกาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและ แผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม. - สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม. (2554). ชดุ ความรู ดา นการอนรุ ักษ พัฒนา และบรหิ ารจัดการเมืองเกา เลม 2 แนวคดิ และ หลักเกณฑโดยทั่วไปเกี่ยวกับการอนุรักษ พัฒนา และฟนฟูเมืองเกา. กรงุ เทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม. - เกรียงไกร เกิดศิริ. (2559). “บทความแปล ขอแนะนําเก่ียวกับภูมิทัศนเมือง ประวัตศิ าสตร” ใน วารสารหนาจวั่ ฉบบั สถาปตยกรรม การออกแบบ และ สภาพแวดลอ ม. ฉบับที่ 30 (มกราคม-ธนั วาคม 2559). - GO-HUL. (2015). The HUL Guide Book: Managing Heritage in Dynamic and Constantly Changing Urban Environments. Paris: UNESCO. - Nancy Duxbury, Jyoti Hosagrahar and Jordi Pascual. (2016). Why Must Culture Be at the Heart of Sustainable Urban Development ?. the world association of United Cities and Local Governments (UCLG). - UNESCO. (2011). Recommendation on the Historic Urban Landscape. Paris: UNESCO. - UNESCO. (2013). New Life for Historic Cities: The Historic Urban Landscape Approach explained. Paris: UNESCO. - UNESCO. (2015). Culture for Sustainable Urban Development Initiative. Paris: UNESCO. - UNESCO. (2016). Culture Urban Future: Global Report on Culture for Sustainable Urban Development. Paris: UNESCO. - UNESCO. (2013). New Life for Historic Cities: the Historic Urban Landscape Approach Explained. Paris: UNESCO. - United Nations. (1996). Report of the United Nations Conference on Human Settlements (HABITAT II). Istanbul: UN Habitat. - UNSECO. (2015). UNESCO for United Nations Task Team on Habitat III. Paris: UNESCO. - UNWTO. (2018). “‘Overtourism’? – Understanding and Managing Urban Tourism Growth beyond Perceptions”, Executive Summary. Spain: Centre of Expertise Leisure, Tourism & Hospitality. การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 141

ภาพมุมสงู เมอื งเกา ราชบรุ ี มเี นอ้ื ท่ี 0.57 ตารางกโิ ลเมตร 14ได2 ร บั กสาํารนปักรงะากนานศโเยขบตาพยแน้ื ลทะแเ่ี มผอืนทงเรกัพา ยเามกอ่ื รธวรนั รทมี่ช1า8ตสิแลงิ ะหสา่ิงแควมดลพอ.มศ. 2561

ภาคผนวก การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 143

ภาคผนวก 1 ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการอนรุ กั ษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสินทรแ ละเมืองเกา ดาวนโหลด PDF 144 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 145

146 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

การอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาในประเทศไทย กับแนวคิดภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร 147

148 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม