Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ เพื่อการขับเคลื่อนแผนไปสู่การดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ เพื่อการขับเคลื่อนแผนไปสู่การดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

Published by oldtown.su.research, 2021-09-27 09:19:51

Description: นับตั้งแต่คราวฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ซึ่งเป็นหมุดหมายที่สำคัญของความเคลื่อนไหวในการอนุรักษ์ และการพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ครั้งสำคัญของบริบทแวดล้อม แม้ว่าที่ผ่านมาจะมีชุดความคิดที่ทำให้มีการบูรณปฏิสังขรณ์และทำนุบำรุงศาสนสถานให้มีความงดงามสมกับการเป็นศาสนสถานที่เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ และมรดกสถาปัตยกรรมสำคัญในช่วงโอกาสพิเศษโดยเฉพาะคราวฉลองการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบตามวาระ และโอกาสพิเศษอื่นๆ ทว่าการบูรณปฏิสังขรณ์ดังกล่าวนั้นยังไม่ได้มีการขยายความคิดเรื่องการอนุรักษ์ตามบริบทแวดล้อมแบบสากล อันเป็นการขยายการรับรู้เกี่ยวเนื่องกับคุณค่าและความสำคัญของการอนุรักษ์ให้เชื่อมต่อออกไปยังสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างในระดับย่าน และเมือง
จากความสำคัญของพื้นที่ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ดังกล่าวมาข้างต้น จึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งได้จัดทำแผนแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. ๒๕๔๐ ต่อมากลไกการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่าได้ดำเนินกายภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์ และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า พ.ศ. ๒๕๔๖ ต่อมาสำนักงานนโยบ

Keywords: กรุงรัตนโกสินทร์,การอนุรักษ์และพัฒนา,แผนผังแม่บท

Search

Read the Text Version

แผนผังแม่บทการอนรุ ักษ์และพฒั นา กรุุงรัตั นโกสิินทร์์ พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนา สำำ�นัักงานนโยบายและแผนทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่�งแวดล้้อม กรุุงรััตนโกสิินทร์์ (เล่่มรายงานการ กระทรวงทรัพั ยากรธรรมชาติแิ ละสิ่�งแวดล้อ้ ม ได้ข้ ับั เคลื่�อนการอนุรุ ักั ษ์พ์ ัฒั นา ศึึกษา) ปีี พ.ศ. ๒๕๖๓ จััดทำำ�โดย กรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ ให้เ้ ป็น็ ไปตามระเบีียบสำำ�นักั นายกรัฐั มนตรีีว่า่ ด้ว้ ยการอนุรุ ักั ษ์์ สำำ�นัักงานนโยบายและแผนทรััพยากร และพัฒั นากรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์แ์ ละเมือื งเก่า่ โดยคณะกรรมการอนุรุ ักั ษ์แ์ ละพัฒั นา กรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์แ์ ละเมือื งเก่า่ ทำำ�หน้า้ ที่่�กำำ�กับั ดูแู ล ได้เ้ ล็ง็ เห็น็ ถึึงบริบิ ทแวดล้อ้ ม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม และศูนย์ และสถานการณ์์การอนุุรัักษ์์และพััฒนาในพื้้�นที่่�ซึ่่�งมีีบริิบทแวดล้้อมที่่�มีีความ เปลี่ย่� นแปลงมาโดยตลอด นับั ตั้้ง� แต่ก่ ารขับั เคลื่�อนแผนแม่บ่ ทการอนุรุ ักั ษ์แ์ ละ บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร แ ห ่ ง จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ์ พััฒนากรุุงรััตนโกสินิ ทร์ ์ อัันเป็น็ ผลมาจากความเปลี่่�ยนแปลงบริบิ ทแวดล้้อม ทางสังั คม วััฒนธรรม การเมือื ง และเศรษฐกิิจ รวมทั้้ง� ในห้ว้ งเวลาที่�่ ผ่่านมา มหาวทิ ยาลัย มีีการพัฒั นาระบบสาธารณูปู โภคขนาดใหญ่่ อาทิิ โครงการรถไฟฟ้า้ ใต้ด้ ินิ และ โครงสร้้างพื้้�นฐานอื่�น ๆ ในพื้้น� ที่่ก� รุุงรััตนโกสิินทร์์ นอกจากนี้้� การที่บ่� ริเิ วณกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์เ์ ป็น็ พื้้น� ที่ท�่ างประวัตั ิศิ าสตร์์ ที่�่ มีีแหล่ง่ มรดกทางวัฒั นธรรมที่่�สำำ�คัญั ของประเทศ จึึงเป็น็ แหล่ง่ ดึึงดูดู ต่อ่ การ ท่่องเที่�่ยวอัันเป็็นหมุุดหมายของนัักท่่องเที่�่ยวต่่างชาติิที่�่ มีีโอกาสมาเยืือน ประเทศไทย ด้ว้ ยเหตุุนี้้ � ทำำ�ให้ใ้ นหลายพื้้�นที่�ข่ องกรุุงรัตั นโกสิินทร์ม์ ีีแนวโน้ม้ ของการเติบิ โตทางธุรุ กิจิ ที่เ�่ กี่ย�่ วกับั การท่อ่ งเที่ย�่ วเป็น็ จำำ�นวนมาก ส่ง่ ผลให้เ้ กิดิ การเปลี่ย่� นแปลงการใช้ส้ อยที่ต�่ อบรับั การบริบิ ทในปัจั จุบุ ันั ดังั นั้้น� กระบวนการ และแนวทางการอนุุรัักษ์์ และพััฒนาตามนโยบาย และแผนแม่่บทต่า่ งๆ ที่�่ ดำำ�เนิินมาในอดีีตนั้้�น อาจไม่ส่ อดคล้้องกัับสภาวะการณ์์ในปัจั จุบุ ััน สำำ�นัักงานนโยบายและแผนทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่�งแวดล้้อม โดยความเห็็นชอบของคณะกรรมการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุุงรััตนโกสิินทร์์ และเมือื งเก่า่ มอบหมายให้ศ้ ูนู ย์บ์ ริกิ ารวิชิ าการแห่ง่ จุฬุ าลงกรณ์ม์ หาวิทิ ยาลัยั ดำำ�เนิินการศึึกษาวิิจััย และจััดทำำ� “แผนแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุุง รััตนโกสิินทร์์” เมื่�อปีี พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยดำำ�เนิินการทบทวนนโยบายและแผน แม่บ่ ทฯ ที่่�มีีอยู่�เดิมิ บูรู ณาการแผนงาน และโครงการต่า่ ง ๆ ที่เ�่ กี่ย่� วข้อ้ ง และ จััดทำำ�แผนผัังแม่่บทฯ ที่่�ครอบคลุุมบริิบทด้้านต่่าง ๆ ได้้แก่่ ด้้านการอนุุรัักษ์์ มรดกวัฒั นธรรม ด้า้ นภูมู ิทิ ัศั น์ ์ ด้า้ นการจราจร ด้า้ นการใช้ท้ ี่�่ ดินิ ด้า้ นสาธารณูปู โภค ด้้านสาธารณููปการ ด้้านการท่่องเที่่�ยว และด้้านกายภาพและวิิถีีชุุมชน เพื่�อ ให้้ทุุกภาคส่่วนที่�่เกี่�่ยวข้้องยึึดถืือเป็็นกรอบในการดำำ�เนิินงานต่่อไป เนอ้ื หาในบทนี้ จงึ ไดท้ ำ� การสรปุ สาระสำ� คญั ของรายงานศกึ ษาแผนผงั แม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุุงรััตนโกสิินทร์์ โดยมีีรายละเอีียดดัังนี้้� แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 49

๑๒ ๔ ๕๓ 50 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนที่พื้นที่จัดทำ� ยุทธศาสตร์ การอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสนิ ทร์ ในแผนผัังแม่บ่ ทการอนุรุ ัักษ์แ์ ละพัฒั นากรุงุ รััตนโกสินิ ทร์์ ได้้กำำ�หนด “ยุุทธศาสตร์์การอนุุรัักษ์์และพััฒนา” ประกอบด้้วยพื้้�นที่่� ๕ บริิเวณ ดัังมีี รายละเอีียดต่่อไปนี้้� บริเิ วณที่�่ ๑ บริิเวณกรุุงรััตนโกสิินทร์์ชั้�นในตามข้้อบััญญััติิกรุุงเทพมหานครเรื่�อง กำำ�หนดบริิเวณห้้ามก่่อสร้้าง ดััดแปลง ใช้้หรืือเปลี่่�ยนการใช้้อาคารบางชนิิด หรือื บางประเภท ภายในบริเิ วณกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ช์ั้น� ใน ในท้อ้ งที่แ�่ ขวงพระบรม มหาราชวััง เขตพระนคร กรุงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ ซึ่�่งครอบคลุุมพื้้�นที่่�ในบริิเวณระหว่่างแนวกึ่่�งกลางคลองคููเมืืองเดิิม กัับแนวกึ่่�งกลางแม่น่ ้ำำ�� เจ้า้ พระยา บริิเวณที่�่ ๒ บริิเวณกรุุงรััตนโกสิินทร์์ชั้�นนอกตามข้้อบััญญััติิกรุุงเทพมหานคร เรื่�อง กำำ�หนดบริิเวณห้้ามก่่อสร้้าง ดััดแปลง ใช้้หรืือเปลี่่�ยนการใช้้อาคาร บางชนิิดหรืือบางประเภท ภายในบริิเวณกรุุงรััตนโกสิินทร์์ชั้�นนอก ในท้้องที่�่ แขวงชนะสงคราม แขวงตลาดยอด แขวงศาลเจ้้าพ่่อเสืือ แขวงบวรนิิเวศ แขวงเสาชิงิ ช้้า แขวงราชบพิิธ แขวงสำำ�ราญราษฎร์์ แขวงวังั บููรพาภิิรมย์์ เขต พระนคร กรุุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๓๐ ซ่ึงครอบคลุมพ้ืนที่ในบริเวณระหว่างแนวก่ึงกลางคลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) แนวก่ึงกลางแม่น�้ำเจ้าพระยากับแนวก่ึงกลางคลองรอบกรุง (คลองบางล�ำพู) แนวกึ่งกลางคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) แนวกึ่งกลาง แม่น�้ำเจ้าพระยาบรรจบกับแนวก่ึงกลางคลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) บริเิ วณที่�่ ๓ บริิเวณฝั่่�งธนบุุรีีตรงข้้ามบริิเวณกรุุงรััตนโกสิินทร์์ตามข้้อบััญญััติิ กรุงุ เทพมหานคร เรื่�อง กำำ�หนดบริิเวณห้า้ มก่อ่ สร้า้ ง ดัดั แปลง ใช้ห้ รือื เปลี่ย�่ น การใช้อ้ าคารบางชนิดิ หรือื บางประเภท ภายในบริเิ วณฝั่่ง� ธนบุรุีีตรงข้า้ มบริเิ วณ กรุุงรััตนโกสิินทร์์ ในท้้องที่่�แขวงบางยี่�่ ขััน เขตบางพลััด แขวงอรุุณอััมริินทร์์ แขวงศิริ ิริ าช เขตบางกอกน้อ้ ย แขวงวัดั อรุณุ เขตบางกอกใหญ่่ แขวงวัดั กัลั ยาณ์์ เขตธนบุรุ ีี และแขวงสมเด็จ็ เจ้า้ พระยา เขตคลองสาน กรุงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๓๕ แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 51

ซึ่่�งครอบคลุุมพื้้�นที่่�ในบริิเวณระหว่่างทิิศตะวัันออกจดแนวกึ่�่งกลาง แม่่น้ำำ��เจ้้าพระยา ทิิศตะวัันออกเฉีียงเหนืือจดคลองบางยี่�่ ขัันฝั่่�งตะวัันออก เฉีียงเหนืือ ทิิศตะวัันตกจดแนวเส้้นซึ่�่งลากตรงจากกำำ�แพงวััดดาวดึึงษาราม จดคลองบางยี่�่ ขันั กำำ�แพงวัดั ดาวดึึงษาราม ซอยวััดดาวดึึงษ์์ เส้น้ ตรงซึ่ง�่ ลาก จากจุดุ บรรจบของซอยวัดั ดาวดึึงษ์ก์ ับั ถนนสมเด็จ็ พระปิ่่น� เกล้า้ ไปจดจุดุ บรรจบ ของซอยวััดดุุสิิตาราม ๑ กัับถนนสมเด็็จพระปิ่่�นเกล้้า ซอยวััดดุุสิิตาราม ๑ ซอยทางเข้้าพิิพิิธภัณั ฑ์์เรือื พระราชพิธิ ีี และคลองขนมจีีน คลองบางกอกน้้อย ฝั่่�งเหนืือ คลองบ้้านขมิ้้�นฝั่่�งตะวัันตก และถนนอรุุณอมริินทร์์ฝั่่�งตะวัันตก ทิิศใต้จ้ ดคลองบางกอกใหญ่ฝ่ ั่่�งตะวันั ออก ซอยวััดกััลยาณ์์ ถนนเทศบาลสาย ๑ และเส้น้ ตรงซึ่ง�่ ลากจากจุดุ บรรจบของถนนประชาธิปิ ก ถนนลอดใต้ส้ ะพาน พุุทธยอดฟ้้าฯ ไปยัังจุุดบรรจบของถนนพญาไม้้กัับซอยอุุทััย ซอยสมเด็็จ เจ้า้ พระยา ๑ และเส้น้ ตรงที่ล่� ากต่อ่ ออกไปจนบรรจบกับั กึ่ง่� กลางแม่น่้ำำ�� เจ้า้ พระยา บริิเวณที่่� ๔ บริิเวณพื้้�นที่่�ต่่อเนื่�องกรุุงรััตนโกสิินทร์์ชั้�นนอก (ถััดจากบริิเวณที่่� ๒ ไปทางทิิศตะวันั ออก) ตั้้�งแต่่แนวกึ่่�งกลางคลองรอบกรุงุ (คลองบางลำำ�พููและ คลองโอ่ง่ อ่า่ ง) แนวกึ่ง�่ กลางแม่น่ ้ำำ�� เจ้า้ พระยาด้า้ นทิศิ เหนือื และทิศิ ใต้้ และแนว คลองผดุุงกรุุงเกษมฝั่่�งตะวัันออก บริิเวณที่่� ๕ บริิเวณสำำ�รวจเพิ่�มเติิมในพื้้�นที่่�ที่�่เป็็นฉากหลัังของบริิเวณฝั่่�งธนบุุรีี ตรงข้า้ มกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ และเป็น็ มุมุ มองสำำ�คัญั เมื่�อมองจากกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ ชั้น� ใน ครอบคลุมุ พื้้น� ที่ใ�่ นบริเิ วณระหว่า่ ง ทิศิ เหนือื จดซอยจรัญั สนิทิ วงศ์์ ๔๔ และเส้น้ ตรงที่ล�่ ากต่อ่ ออกไปจนบรรจบกับั กึ่ง่� กลางแม่น่้ำำ�� เจ้า้ พระยาทิศิ ตะวันั ตก เฉีียงเหนืือจดจุุดตัดั ของถนนอิสิ รภาพ ฝั่่�งตะวันั ตกและถนนสุทุ ธาวาส และ แนวเส้น้ ตรงที่ล�่ ากจากจุดุ ดังั กล่า่ วผ่า่ นจุดุ ตัดั ของถนนอรุณุ อัมั รินิ ทร์ฝ์ั่ง� ตะวันั ตก กับั ถนนบรมราชชนนีีไปจนบรรจบกับั ซอยจรัญั สนิทิ วงศ์์ ๔๔ ทิศิ ตะวันั ตกและ ทิศิ ตะวันั ตกเฉีียงใต้จ้ ดถนนอิสิ รภาพฝั่ง� ตะวันั ตก และแนวเส้น้ ตรงที่ล่� ากต่อ่ เนื่�อง ไปบรรจบกับั ถนนเจริญิ รัถั ทิศิ ตะวันั ออกจดขอบเขตบริเิ วณฝั่่ง� ธนบุรุ ีีตรงข้้าม กรุุงรััตนโกสิินทร์์ (บริิเวณที่่� ๓) และแนวกึ่่�งกลางแม่่น้ำำ��เจ้้าพระยา ทิิศใต้จ้ ด ถนนเจริญิ รัถั และแนวเส้น้ ตรงที่ล�่ ากต่อ่ จากถนนเจริญิ รัถั ไปบรรจบกับั กึ่ง�่ กลาง แม่่น้ำำ��เจ้้าพระยา 52 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 53

แผนที่การก�ำหนดความเขม้ ขน้ ของพื้นที่อนุรักษใ์ นกรงุ รัตนโกสินทร์ ๕๓ ๑ ๒ ๔ เหนอื ที่่�มา: แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุงุ รััตนโกสินิ ทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์ก์ ารอนุรุ ัักษ์์และพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๒-๗ 54 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

๓๑ ๒ การกำ� หนดพื้นที่เพื่อการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนา ๔ กรุงรัตนโกสินทร์ พื้นที่อนุรักษ์เข้มข้น “พื้้�นที่่อ� นุรุ ักั ษ์เ์ ข้้มข้น้ ” ครอบคลุมุ พื้้น� ที่บ�่ ริิเวณหมายเลข ๑ (พื้้น� ที่ป�่ ระมาณ ๙๖๘.๓ ไร่)่ หมายเลข ๒ (พื้้น� ที่ป่� ระมาณ ๑,๕๔๐.๘ ไร่่) และหมายเลข ๓ (พื้้น� ที่ป�่ ระมาณ ๑,๑๗๐.๐ ไร่)่ เนื่�องจากมีีการกระจายตัวั ของมรดกวัฒั นธรรม ที่่�มีีคุณุ ค่า่ ระดับั สูงู อยู่�หนาแน่น่ จึึงต้อ้ งให้ค้ วามสำำ�คัญั กับั การอนุรุ ักั ษ์เ์ ป็น็ หลักั และจำำ�กััดการพััฒนาที่่�อาจส่่งผลกระทบต่่อคุุณค่่าของแหล่่งมรดกอย่่าง จริิงจััง พื้นที่อนุรักษ์ “พื้้�นที่่�อนุุรัักษ์์” ครอบคลุุมพื้้�นที่�่บริิเวณหมายเลข ๔ (พื้้�นที่่�ประมาณ ๓,๓๓๕.๙ ไร่่) เป็็นพื้้�นที่ข�่ นาดใหญ่ท่ ี่�่ มีีการพััฒนาค่่อนข้า้ งมากอยู่�แล้ว้ มีี การกระจายตััวของมรดกวััฒนธรรมที่�่ มีีคุุณค่่าระดัับสููงอยู่�พอสมควร ต้้อง ให้้ความสำำ�คััญกัับการอนุุรัักษ์์ แต่่ยอมให้้มีีการพััฒนาในระดัับที่่�เหมาะสม ไม่่ให้้ส่่งผลกระทบต่่อคุณุ ค่่าของแหล่ง่ มรดก พื้นที่อนุรักษ์ส่วนขยาย “พื้้�นที่่�อนุุรัักษ์์ส่่วนขยาย” ครอบคลุุมพื้้�นที่่�บริิเวณหมายเลข ๕ (พื้้�นที่�่ ประมาณ ๓,๐๑๔.๗ ไร่)่ เป็น็ บริิเวณที่�่ มีีมรดกวััฒนธรรมที่�่ มีีคุณุ ค่่าระดับั ๕ สููงอยู่�ไม่่มากนััก แต่่มีีแหล่่งมรดกที่�่ มีีความเชื่�อมโยงด้้านพััฒนาการของ พื้้�นที่�่และมีีความสำำ�คััญในฐานะเป็็นฉากหลัังของบริิเวณฝั่่�งธนบุุรีีตรงข้้าม กรุุงรััตนโกสิินทร์์ จึึงเสนอแนะให้้เป็็นพื้้�นที่�่อนุุรัักษ์์ส่่วนขยายของบริิเวณ หมายเลข ๓ โดยต้อ้ งให้ค้ วามสำำ�คัญั กับั การอนุรุ ักั ษ์ใ์ นระดับั เดีียวกับั บริเิ วณ หมายเลข ๔ แต่เ่ พิ่�มการควบคุมุ การพััฒนาให้้อยู่�ในระดับั ที่เ�่ หมาะสม ไม่่ ส่่งผลกระทบต่่อคุุณค่่าของแหล่่งมรดกที่่�อยู่ �ในบริิเวณนี้้�และแหล่่งมรดกที่�่ อยู่�ในบริิเวณหมายเลข ๓ แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 55

การก�ำหนดพื้นที่และการจดั ลำ� ดับความส�ำคญั ของพื้นที่เปา้ หมายในการอนรุ กั ษ์และพัฒนา ๗ ๘ ๙ ๖๑ ๒ ๑๐ ๓ ๑๑ ๔ ๕ ๑๒ เหนอื ที่ม่� า: แผนผัังแม่่บทการอนุรุ ัักษ์์และพััฒนากรุุงรััตนโกสินิ ทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์์การอนุรุ ัักษ์์และพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๒-๙. 56 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

จากโครงการแผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุงุ รััตนโกสินิ ทร์์ ได้ก้ ารกำำ�หนดพื้้�นที่�่ เป้้าหมายในการอนุุรัักษ์์และพััฒนาโดยพิิจารณาจากความสำำ�คััญทางประวััติิศาสตร์์ของพื้้�นที่่� ตลอดจนเป็น็ พื้้น� ที่่�ที่�่ มีีการกระจุกุ ตัวั ของแหล่ง่ มรดกวัฒั นธรรม รวมทั้้ง� ระดับั ความสำำ�คัญั ขอบเขต และขนาดพื้้�นที่�่ รวมถึึงศักั ยภาพและอุปุ สรรคในการพัฒั นาที่�่ ผ่่านมา ทั้้�งนี้้� การเรีียกชื่�อพื้้�นที่�่เป้้าหมายกำำ�หนดตามบริิบทความสำำ�คััญของพื้้�นที่่�โดยอ้้างอิิง จากสถานที่่�สำำ�คััญเชิิงประวััติศิ าสตร์์ และการรัับรู้�ของบุุคคลทั่�วไปในแง่่ของที่�่ตั้ง� และการกำำ�หนด หมายเลขพื้้�นที่่�เป้้าหมายนั้้�นเรีียงลำำ�ดัับหมายเลขจากพื้้�นที่�่กรุุงรััตนโกสิินทร์์ชั้ �นในออกสู่ �ชั้ �นนอก ในลักั ษณะตามเข็็มนาฬิกิ า เริ่�มต้น้ จากพื้้น� ที่่�ชั้�นในอัันเป็็นที่�่ตั้�งของพระบรมมหาราชวัังอัันถืือเป็น็ ศููนย์ก์ ลางทางกายภาพและจิิตวิญิ ญาณของกรุุงรััตนโกสิินทร์์ ถัดั ไปคือื พื้้�นที่่�ย่า่ นบางลำำ�พูซู ึ่่ง� ตั้้�ง อยู่�ทางทิิศเหนืือ ลงมาทางทิิศใต้้ผ่่านบริิเวนถนนราชดำำ�เนิินถึึงสะพานผ่่านฟ้้า ย่่านเสาชิิงช้้าไป จนถึึงย่่านปากคลองตลาด ข้้ามไปยังั ฝั่่ง� ตะวันั ตกของแม่น่ ้ำำ��เจ้า้ พระยา คืือ พื้้�นที่�่ฝั่ง� ธนบุุรีีบริิเวณ ย่่านวัังเดิิม-วัังหลััง วนขึ้�นไปทางทิิศเหนืือจดบริิเวณวััดดุุสิิดาราม-บางยี่�่ ขัันลงไปทางทิิศใต้้ตาม พื้้น� ที่�่ ริมิ คลองผดุุงกรุุงเกษม ผ่า่ นพื้้น� ที่�่ ย่า่ นบางขุุนพรม นางเลิ้้ง� -มหานาค จนถึึงพื้้�นที่เ�่ ยาวราช- วงเวีียน ๒๒ กรกฎาคม ตลาดน้้อย มาบรรจบที่�่พื้น� ที่�ก่ ะดีีจีีน-คลองสาน รวมทั้้�งสิ้้น� ๑๒ พื้้�นที่�่ เรีียงตามลำำ�ดัับ ดัังแสดงในแผนที่่� (๑) บริิเวณพระบรมมหาราชวััง (๗) บริิเวณวัดั ดุสุ ิิดาราม-บางยี่�่ ขััน (กรุงรัตนโกสนิ ทร์ชนั้ ใน) (๘) บริิเวณย่า่ นบางขุุนพรหม (๒) บริิเวณย่า่ นบางลำำ�พูู (๙) บริิเวณย่า่ นนางเลิ้้�ง-มหานาค (๓) บริิเวณถนนราชดำำ�เนิินกลาง-ผ่า่ นฟ้้า (๑๐) บริิเวณย่า่ นเยาวราช-วงเวีียน (๔) บริิเวณย่า่ นเสาชิิงช้า้ ๒๒ กรกฎาคม (๕) บริิเวณย่า่ นปากคลองตลาด (๑๑) บริิเวณย่า่ นตลาดน้อ้ ย (๖) บริิเวณวังั เดิิม-วังั หลังั บริิเวณฝั่่�งธนบุรุ ีี (๑๒) บริิเวณย่า่ นกะดีีจีีน-คลองสาน ตรงขา้ มกรุงรัตนโกสินทร์และพ้นื ทีถ่ ดั ออกไป) โดยสามารถก�ำหนดล�ำดับความส�ำคัญของพื้นท่ีเป้าหมายในการอนุรักษ์และพัฒนาได้ ดังนี้ พื้้�นที่่ท� ี่่ม� ีีความสำ�ำ คััญลำำ�ดัับที่่� ๑ (กรุงุ รััตนโกสินิ ทร์ช์ั้�นในหรืือบริเิ วณที่�่ ๑) มีีความเข้ม้ ข้น้ ของการซ้อ้ นทับั ข้อ้ มูลู มากที่่�สุดุ ได้แ้ ก่่ บริเิ วณพระบรมมหาราชวังั บริเิ วณถนนราชดำำ�เนินิ กลาง ถึึงสะพานผ่า่ นฟ้้า (บริิเวณที่่� ๓) บริเิ วณย่า่ นเสาชิงิ ช้้า (บริเิ วณที่�่ ๔) และบริเิ วณวังั เดิมิ -วัังหลััง (บริเิ วณฝั่่�งธนบุรุ ีีตรงข้้ามกรุงุ รััตนโกสิินทร์แ์ ละพื้้�นที่�่ ถััดออกไปหรือื บริิเวณที่�่ ๖) พื้้น� ที่่ท� ี่่�มีคี วามสำำ�คััญลำำ�ดัับที่่� ๒ มีีความเข้้มข้้นของการซ้อ้ นทัับข้้อมูลู รองลงมา ได้้แก่่ บริิเวณย่่านบางลำำ�พูู (บริิเวณที่่� ๒) บริิเวณย่่านปากคลองตลาด (บริิเวณที่�่ ๕) บริิเวณย่่าน เยาวราช-วงเวีียน ๒๒ กรกฎาคม (บริเิ วณที่�่ ๑๐) และบริเิ วณย่า่ นกะดีีจีีน-คลองสาน (บริเิ วณ ที่่� ๑๒) พื้้น� ที่่�ที่่�มีีความสำำ�คััญลำำ�ดัับที่่� ๓ มีีความเข้้มข้้นของการซ้อ้ นทัับข้อ้ มููลน้อ้ ยที่�่ สุดุ ได้แ้ ก่่ บริิเวณวััดดุุสิิดาราม-บางยี่่�ขันั บริิเวณที่�่ ๗) บริเิ วณย่า่ นบางขุนุ พรหม (บริเิ วณที่�่ ๘) บริิเวณ ย่่านนางเลิ้้ง� -มหานาค (บริเิ วณที่่� ๙) และบริเิ วณย่า่ นตลาดน้้อย (บริเิ วณที่�่ ๑๑) แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 57

ยุุทธศาสตร์์การอนุุรักั ษ์์และพััฒนากรุุงรัตั นโกสินิ ทร์์ ยุทธศาสตร์ด้านมรดกวัฒนธรรม ว่่าด้้วยการอนุรุ ักั ษ์ม์ รดกวัฒั นธรรมในกรุุงรััตนโกสิินทร์์ โดยพิิจารณาเป็็นองค์ร์ วม และ การก�ำหนดแนวทางด�ำเนินการเป็นช่วงการพัฒนาย่อยมากกว่าการจัดท�ำโครงการ บรู ณะฟน้ื ฟเู ฉพาะจดุ และไมค่ ำ� นงึ ถงึ มติ เิ วลา มเี ปา้ หมายหลกั เพอื่ การอนรุ กั ษแ์ หลง่ มรดก (Tangible Cultural Heritages) และวถิ วี ฒั นธรรม (Intangible Cultural Heritages) ในพ้ืนที่ตามหลกั การพฒั นาทยี่ ่ังยืน ยุทธศาสตร์ด้านการใช้ที่ดิน ว่่าด้้วยการกำำ�หนดให้้มีีการใช้ป้ ระโยชน์์ที่�่ ดินิ แบบผสมผสาน (Mixed Land Use) เพื่�อ ความสมดุุลระหว่่างแหล่่งงาน และที่่�อยู่�อาศััย (Job-Housing Balance) การพััฒนา บริเิ วณโดยรอบสถานีีรถไฟฟ้า้ ขนส่ง่ มวลชน (Transit Oriented Development หรือื TOD) โดยมแี นวทางการดำ� เนนิ การ ประกอบดว้ ย การควบคมุ การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ และอาคาร และการด�ำเนนิ การอนุรกั ษฟ์ ้ืนฟเู มอื งในพน้ื ที่เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ด้านภูมิทัศน์ ว่่าด้ว้ ยการกำำ�หนดและสร้้างการมองเห็น็ และการรัับรู้�ทั่�วไประหว่า่ งการสััญจร และการ ทำ� กิจกรรมภายในพื้นที่ การออกแบบและบรหิ ารจดั การภูมิทัศน์ที่ดีจะมสี ว่ นท�ำใหเ้ กิด การรบั รู้คณุ ค่าทางประวัติศาสตร์ เกิดความสะดวก สบาย ความประทบั ใจ และความ ทรงจำ� ที่ดตี ่อผู้มาเยือนและผใู้ ช้ชวี ิตภายในพนื้ ท่ี ยุทธศาสตร์ด้านการจราจร ว่่าด้ว้ ยการกำำ�หนดและสร้้างการมองเห็็น และการรัับรู้�ทั่�วไประหว่า่ งการสััญจร และการ ทำ� กิจกรรมภายในพน้ื ที่ การออกแบบและบรหิ ารจดั การภมู ทิ ัศนท์ ี่ดจี ะมสี ว่ นท�ำใหเ้ กดิ การรบั ร้คู ณุ ค่าทางประวัติศาสตร์ เกดิ ความสะดวก สบาย ความประทับใจ และความ ทรงจำ� ท่ีดตี ่อผ้มู าเยอื นและผใู้ ช้ชีวติ ภายในพืน้ ที่ 58 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

มรดก ัวฒนธรรม ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปโภค การใช้ที่ดิน ว่่าด้้วยการพััฒนาระบบสาธารณููปโภคพื้้�นฐานให้้สามารถใช้้งานได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ออกแบบการใช้้งานอย่่างอเนกประโยชน์์ ยั่่�งยืืน และยืืดหยุ่�น ปรัับตััวให้้สอดคล้อ้ งกัับ ูภ ิมทัศน์ ความต้้องการของประชาชนและสภาวะภูมู ิอิ ากาศโลกที่ไ�่ ม่่แน่่นอน การจราจร ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปการ วา่ ด้วยการพัฒนาระบบสาธารณูปการอเนกประโยชน์ (Multi-functional Public Fa- สาธาร ูณปโภค cilities) เพอื่ รองรับการเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำหน้าทห่ี ลกั ในการให้บรกิ ารคณุ ภาพ สูงเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่คนในชุมชนและเพ่ิมขีดความสามารถในการให้บริการ กายภาพและวิถีชุมชน สาธาร ูณปการ เพื่อตอบสนองความต้องการของคนทกุ กลุม่ ทงั้ คนในชุมชนและนักทอ่ งเทยี่ วทเี่ พิม่ ข้นึ ในอนาคต การท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ด้านกายภาพและวิถีชุมชน ว่าด้วยการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของชุมชนให้สามารถอยู่ร่วมกับมรดกวัฒนธรรมได้ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ปรงุ พื้นท่สี าธารณะและสาธารณปู การต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพสัังคมและการใช้้งานที่่เ� ปลี่�ย่ นไปตามยุคุ สมััย การต่่อยอดภูมู ิิปััญญาท้้องถิ่�นในเชิิง เศรษฐกิิจ และการเรีียนรู้�เพื่�อให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุดแก่่ชุุมชน รวมถึึงการส่่งเสริิมการ อนุรุ ัักษ์ม์ รดกวัฒั นธรรมให้้ดำำ�รงอยู่�อย่่างยั่�งยืนื ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว ว่าด้วยการสร้างสรรค์การท่องเที่ยวที่ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในประวัติศาสตร์ศิลป วฒั นธรรมของชาตแิ ละชมุ ชน การสง่ เสริมการอนุรกั ษม์ รดกทางวฒั นธรรมอยา่ งย่ังยนื ไปพร้อมกับการสร้างการพัฒนาทางเศรษฐกิจใหก้ บั ชมุ ชน แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 59

เหนือ ที่่�มา: แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์แ์ ละพััฒนากรุงุ รััตนโกสิินทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์์การอนุุรัักษ์์และพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๖๘ 60 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์ก์ ารอนุุรัักษ์แ์ ละพัฒั นากรุงุ รััตนโกสิินทร์์ แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 61 การท่่องเที่�่ยว กายภาพและวิิถีีชุุมชน สาธารณููปการ สาธารณููปโภค การจราจร ภููมิิทััศน์์ การใช้้ที่่�ดิิน มรดกวััฒนธรรม

มรดกวัฒนธรรมสำ� คญั ทคี่ วรไดร้ ับการขับเนน้ ขอบเขตโครงการ เหนือ เขตโครงการ แขวง ทางหลวง ถนน ซอย แม่น�้ำ คลอง หว้ ย อ่างเก็บน�้ำ หนอง บึง ที่ม่� า: แผนผัังแม่่บทการอนุรุ ัักษ์์และพััฒนากรุุงรััตนโกสิินทร์์ (เล่่มยุุทธศาสตร์์การอนุุรัักษ์์และพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๕ 62 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์์ที่่� ๑ ด้้านมรดกวััฒนธรรม มรดก ัวฒนธรรม ยุทธศาสตร์ด้านมรดกวัฒนธรรมเป็นการด�ำเนินการเพื่อขับเน้นแหล่งมรดกทาง วฒั นธรรม มกี ารก�ำหนดกลยุทธ์ในการ อนุรกั ษ์ ฟน้ื ฟู บรู ณปฏสิ งั ขรณ์ สนบั สนุนและ การใช้ ี่ท ิดน คุ้�มครองแหล่่งมรดกทางวััฒนธรรมที่่�สำำ�คัญั รวมถึึงการจััดทำำ�มาตรการสนัับสนุนุ การ ฟื้�นฟูแู หล่ง่ มรดกที่่�เป็็นวิถิ ีีวัฒั นธรรม ประกอบด้้วย ๒ แผนงานและโครงการรวมทั้้�งสิ้้�น ๗ โครงการ โดยมีีการจััดทำำ�แผนผััง แม่่บทการอนุรุ ัักษ์์และพััฒนากรุุงรัตั นโกสินิ ทร์ ์ ด้้าน มรดกวัฒนธรรม มรี ายละเอยี ดดงั น้ี กลยทุ ธ์ บ�ำรุงรักษา และคุ้มครองแหล่งมรดกสำ� คัญ และจดั ทำ� มาตรการสนับสนนุ ภู ิม ัทศน์ การฟน้ื ฟูแหล่งมรดก แผนงาน โครงการ การจราจร ๑.๑ การคุ้�มครองและ ๑.๑.๑ โครงการคุ้�มครองแม่่น้ำำ�� เจ้า้ พระยา บรู ณปฏิสังขรณแ์ หล่ง ๑.๑.๒ โครงการบููรณปฏิสิ ังั ขรณ์แ์ หล่่งมรดกสำำ�คััญ มรดก ๑.๑.๓ โครงการบููรณปฏิสิ ังั ขรณ์์โบราณสถานในพื้้�นที่�่ กรงุ รัตนโกสินทร์ ๑.๑.๔ โครงการขึ้น� ทะเบีียนโบราณสถานที่�่ ยัังไม่่ได้้รัับการ สาธาร ูณปโภค ขึ้นทะเบียน ๑.๑.๕ โครงการจััดทำำ�ทะเบีียนแหล่่งมรดกท้้องถิ่�น และ สนบั สนนุ การบรู ณปฏิสงั ขรณ์แหลง่ มรดกท้องถิ่น กลยทุ ธ์ จัดทำ� มาตรการสนบั สนุนการฟ้นื ฟูแหล่งมรดกทเ่ี ป็นวถิ วี ฒั นธรรม กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ แผนงาน โครงการ ๑.๒ การส่่งเสริมิ ฟื้�นฟูู ๑.๒.๑ โครงการสืบื สานฟื้�นฟููขนบธรรมเนีียมประเพณีีและ วิถีวัฒนธรรม เทศกาลทอ้ งถน่ิ ๑.๒.๒ โครงการฟื้�นฟููภูมู ิิปััญญาท้อ้ งถิ่�น วััฒนธรรมอาหาร นาฏศลิ ปแ์ ละหัตถศลิ ป์ การท่องเที่ยว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 63

แผนงาน ๑.๑ การคุ้้�มครองและบูรู ณปฏิิสัังขรณ์์แหล่่งมรดก โครงการ โครงการคุ้มครองแม่น้ำ� เจ้าพระยา ๑ลำ� ดับความส�ำคญั หน่วยงานรับผดิ ชอบ ๑.๑.๑ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๑๐ ล้า้ นบาท ๑๐ ล้า้ นบาท หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้อง ขึ้น� ทะเบีียนโบราณสถานแม่น่ ้ำำ�� เจ้า้ พระยา เพื่�อคุ้�มครองอัตั ลักั ษณ์์ และคุณุ ค่า่ ทางวัฒั นธรรมของ แม่น่้ำำ�� เจ้า้ พระยา ห้า้ มโครงการก่อ่ สร้า้ งขนาดใหญ่ท่ ี่่�รุกุ ล้ำำ�� ลำำ�น้ำำ�� หรือื โครงการพัฒั นาที่�่ ส่ง่ ผลกระทบ ต่อ่ ทัศั นีียภาพของแม่น่ ้ำำ�� โดยเฉพาะช่ว่ งระหว่า่ งคลองบางกอกน้อ้ ย และคลองบางกอกใหญ่่ และ พิจิ ารณาขยายขอบเขตไปทางด้า้ นทิศิ เหนืือและทิิศใต้ท้ ี่�่อยู่�ในพื้้น� ที่่ก� รุุงรัตั นโกสินิ ทร์์ โครงการ โครงการบูรณปฏสิ ังขรณแ์ หล่งมรดกสำ� คัญ ๑ล�ำดบั ความสำ� คญั หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ ๑.๑.๒ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๓๒๔ ล้า้ นบาท ๓๒๔ ล้า้ นบาท หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง ดำำ�เนิินการบููรณปฏิิสัังขรณ์์แหล่่งมรดกสำำ�คััญ ซึ่่�งเป็็นแหล่่งมรดกสำำ�คััญที่�่ควรขัับเน้้นเพื่ �อเล่่า เรื่�องราวเชิิงพื้้�นที่ข�่ องกรุุงรััตนโกสินิ ทร์์ ได้้แก่่ ๑. ป้้อมมหากาฬพร้อ้ มด้้วยปราการ ๒. วัดั บวรสถานสุุทธาวาส หรือื วัดั พระแก้ว้ วัังหน้า้ โครงการ โครงการบูรณปฏิสังขรณ์โบราณสถานในพ้ืนท่ี ๒ล�ำดับความส�ำคัญ หน่วยงานรบั ผิดชอบ ๑.๑.๓ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ๓,๐๗๕ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๑,๐๒๕ ล้า้ นบาท ๑,๐๒๕ ล้า้ นบาท ๑,๐๒๕ ล้า้ นบาท ล้า้ นบาท หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง บููรณปฏิิสัังขรณ์์โบราณสถานที่�่ทรุุดโทรมตามกาลเวลา หรืือมีีความจำำ�เป็็นเร่่งด่่วนที่�่จะต้้อง รีีบเร่ง่ ดำำ�เนิินการอย่่างต่อ่ เนื่�อง โครงการ โครงการขึ้นทะเบียนโบราณสถานทยี่ งั ไม่ได้รับ ๒ล�ำดับความส�ำคญั หน่วยงานรบั ผิดชอบ ๑.๑.๔ การขึ้นทะเบยี น งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๑๕๓ ๕๓ ล้้านบาท ๕๐ ล้า้ นบาท ๕๐ ล้้านบาท ล้้านบาท หน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง ดำ� เนินการข้นึ ทะเบียนโบราณสถานท่ียงั ไม่ได้ขึน้ ทะเบียนใหเ้ สร็จส้ิน 64 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

มรดก ัวฒนธรรม หน่วยงานรับผดิ ชอบ โครงการ โครงการจัดท�ำทะเบียนแหล่งมรดกทอ้ งถนิ่ ๑ลำ� ดบั ความสำ� คัญ ๑.๑.๕ และสนับสนนุ การบูรณปฏสิ ังขรณ์แหลง่ มรดกทอ้ งถิ่น งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๑๗๐ การใช้ ี่ท ิดน ล้า้ นบาท ๗๐ ล้า้ นบาท ๕๐ ล้า้ นบาท ๕๐ ล้า้ นบาท หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง จัดั ทำำ�เกณฑ์ก์ ารขึ้น� ทะเบีียนแหล่ง่ มรดกสำำ�หรับั แหล่ง่ มรดกสำำ�คัญั อื่�น ๆ (มรดกท้อ้ งถิ่�น) แต่ง่ ตั้้ง� คณะกรรมการผู้ �ทรงคุุณวุุฒิิพิิจารณาการขึ้ �นทะเบีียนและอนุุมััติิงบประมาณสนัับสนุุนการบููรณะ ภู ิม ัทศน์ ฟื้�นฟููแหล่ง่ มรดกตามหลักั วิิชาการ พิิจารณาแผนปฏิบิ ัตั ิกิ ารบููรณะฟื้�นฟููแหล่่งมรดกที่่�ผู้�ทรงสิทิ ธิิ เสนอขอรัับการสนัับสนุุนงบประมาณ สนัับสนุุนงบประมาณในการดำำ�เนิินการ และตรวจสอบ ผลการดำำ�เนินิ การ แผนงาน ๑.๒ การส่ง่ เสริิมฟื้้�นฟููวิถิ ีีวัฒั นธรรม หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการ โครงการสืบสานฟน้ื ฟูขนบธลร�ำรดับมคเวนามยี สม�ำคปญั ระเพณี และ ๓ลำ� ดบั ความสำ� คญั ๑.๒.๑ เทศกาลท้องถ่นิ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่�่ ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๒๒๕ การจราจร ล้า้ นบาท ๗๕ ล้้านบาท ๗๕ ล้้านบาท ๗๕ ล้้านบาท หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง ก�ำหนดหลักเกณฑ์และจัดตั้งกรรมการพิจารณาสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรม สบื สาน ฟื้นฟขู นบธรรมเนยี ม ประเพณี และเทศกาลท้องถิ่น โดยเฉพาะกิจกรรมเกี่ยวกับวิถี สาธาร ูณปโภค วฒั นธรรมท่ีได้รบั การประเมินคณุ ค่า แตง่ ตงั้ คณะกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิพิจารณาการอนมุ ตั งิ บ ประเมินคุณคา่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิพจิ ารณาการอนุมตั งิ บประมาณสนับสนนุ การจดั กิจกรรมสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินการ และตรวจสอบผลการดำ� เนินการ ล�ำดบั ความส�ำคัญ หนว่ ยงานรับผิดชอบ โครงการ โครงการฟืน้ ฟภู ูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ วัฒนธรรมอาหาร ๒ลำำ�ดับั ความสำำ�คััญ ๑.๒.๒ นาฏศลิ ป์ และหัตถศลิ ป์ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๒๒๕ กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ ล้้านบาท ๗๕ ล้้านบาท ๗๕ ล้า้ นบาท ๗๕ ล้้านบาท หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ก�ำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณากิจกรรมและจัดตั้งกรรมการพิจารณาสนับสนุนงบประมาณใน การฟืน้ ฟูและส่งเสริมภมู ิปัญญาท้องถิ่น วฒั นธรรมอาหาร นาฏศลิ ป์ หตั ถศลิ ป์ ของชมุ ชนและ ย่าน โดยเฉพาะกจิ กรรมเก่ียวกับวถิ วี ัฒนธรรมที่ได้รบั การประเมินคณุ ค่า แตง่ ต้งั คณะกรรมการ ผู้ทรงคณุ วุฒิพจิ ารณาการอนุมตั งิ บประมาณสนบั สนนุ การดำ� เนนิ การ สนบั สนนุ งบประมาณใน การด�ำเนินการ และตรวจสอบผลการดำ� เนนิ การ การท่องเที่ยว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 65

สถานทร่ี าชการ เขตผงั เมืองเฉพาะ ขอบเขตโครงการ เหนือ พน้ื ท่ีสเี ขียว เขตโครงการ ศาสนสถาน, โบราณสถาน, เพื่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูเมืองและ แขวง พน้ื ท่อี นุรักษ์ ส่งเสริมการท่องเท่ียวริมฝั่ง ทางหลวง ถนน ซอย แมน่ ำ�้ เจา้ พระยา ทอี่ ยู่อนรุ กั ษ์ แม่นำ้� คลอง ห้วย เพ่ือการอนุรักษ์ฟื้นฟูเมืองและ อ่างเกบ็ นำ้� หนอง บึง พาณชิ ยกรรม ส่งเสริมการท่องเท่ียวริมฝั่ง แม่น้�ำเจา้ พระยา ที่่�มา: แผนผัังแม่่บทการอนุรุ ัักษ์์และพััฒนากรุงุ รััตนโกสิินทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์ก์ ารอนุุรัักษ์แ์ ละพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๑๔ 66 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์์ที่่� ๒ ด้้านการใช้้ที่่�ดิิน มรดก ัวฒนธรรม ยุุทธศาสตร์์ด้้านการใช้้ที่�่ ดิินเป็็นการดำำ�เนิินการโดยอาศััยเครื่�องมืือทางผัังเมืือง มีีการ กำำ�หนดกลยุุทธ์์ในการควบคุุมการใช้้ประโยชน์์ที่่�ดิินและอาคารของทั้้�งภาครััฐและเอกชน การใช้ท ี่ที่ดดิน รวมถึึงการดำำ�เนิินโครงการอนุุรักั ษ์์ฟื้�นฟูเู มือื ง ประกอบด้้วย ๒ แผนงาน และโครงการ รวมทั้้�งสิ้้�น ๕ โครงการ โดยมีีการจััดทำำ�แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุุงรััตน- โกสินิ ทร์์ ด้า้ นการใช้้ที่�่ ดิิน มีีรายละเอีียดดัังนี้้� กลยทุ ธ์ ควบคมุ การใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ โดยเคร่ืองมือทางผงั เมือง ภูมิ ัทศน์ แผนงาน โครงการ การจราจร ๒.๑ การปรัับปรุงุ ๒.๑.๑ โครงการแก้้ไขปรัับปรุงุ แผนผังั ข้้อกำำ�หนดและมาตรการ มาตรการการควบคุม ตามกฎหมายผังเมือง การใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ ๒.๑.๒ โครงการแก้ไ้ ขปรับั ปรุงุ ข้อ้ บัญั ญัตั ิกิ รุงุ เทพมหานครตาม และอาคาร กฎหมายควบคุุมอาคาร ๒.๑.๓ โครงการจัดั ทำำ�มาตรการคุ้�มครองสิ่�งแวดล้อ้ มศิลิ ปกรรม กลยทุ ธ์ ด�ำเนนิ โครงการอนุรักษฟ์ ื้นฟเู มอื ง สาธาร ูณปโภค แผนงาน โครงการ กายภาพและวิ ีถ ุชมชน สาธาร ูณปการ ๒.๒ การวาง จัดั ทำำ� และ ๒.๒.๑ โครงการวาง จัดั ทำำ�และดำำ�เนินิ การให้เ้ ป็น็ ไปตาม ดำ� เนินการให้เป็นไป ผงั เมืองเฉพาะ บรเิ วณรมิ ฝัง่ แมน่ ำ้� เจา้ พระยา ตามผังเมืองเฉพาะ ๒.๒.๒ โครงการวาง จััดทำำ�และดำำ�เนิินการให้้เป็น็ ไปตาม ผงั เมืองเฉพาะ ในพ้นื ทีเ่ ปลีย่ นถ่ายการสัญจร โดยรอบสถานีรถไฟฟา้ การท่องเท่ียว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 67

แผนงาน ๒.๑ การปรบั ปรุงมาตรการการควบคมุ การใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ และอาคาร โครงการ โครงการแก้ไขปรบั ปรุงแผนผงั ข้อก�ำหนดและมาตรการตาม ๑ล�ำดับความส�ำคัญ หน่วยงานรับผิดชอบ ๒.๑.๑ กฎหมายผังเมือง งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๕๐ ล้า้ นบาท ๕๐ ล้้านบาท การวางและจััดทำำ�แผนผังั และข้้อกำำ�หนดการใช้้ประโยชน์ท์ ี่�่ ดินิ ของผังั เมืืองรวมกรุุงเทพมหานคร หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง โดยอาศััยอำำ�นาจแห่ง่ พระราชบัญั ญัตั ิิการผังั เมือื ง พ.ศ. ๒๕๑๘ (ผนวกรวมอยู่�ในโครงการวาง และจััดทำำ�ผัังเมือื งรวมกรุงุ เทพมหานคร ปรัับปรุุงครั้ง� ที่่� ๔) โครงการ โครงการแก้ไขปรับปรุงขอ้ บัญญัตกิ รงุ เทพมหานครตาม ๑ล�ำดบั ความสำ� คญั หน่วยงานรบั ผิดชอบ ๒.๑.๒ กฎหมายควบคมุ อาคาร งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๔๐ ๓๐ ล้้านบาท ๑๐ ล้า้ นบาท ล้า้ นบาท การแก้ไ้ ขปรับั ปรุงุ ข้อ้ บัญั ญัตั ิกิ รุงุ เทพมหานคร เรื่�อง กำำ�หนดบริเิ วณห้า้ มก่อ่ สร้า้ ง ดัดั แปลง ใช้ห้ รือื เปลี่่ย� นการใช้้อาคารบางชนิดิ หรืือบางประเภท บริิเวณกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ช์ั้น� ใน กรุุงรัตั นโกสินิ ทร์์ ชั้น� นอก บริเิ วณฝั่ง� ธนบุรุีีตรงข้า้ มบริเิ วณกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ และบริเิ วณพื้้น� ที่่�ต่อ่ เนื่�องกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ ชั้�นนอก เพื่�อการควบคุมุ แบบซ้อ้ นทับั ๑ (Overlay Control) โดยอาศััยอำำ�นาจแห่ง่ กฎหมาย ควบคุมุ อาคาร โครงการ โครงการจดั ทำ� มาตรการคมุ้ ครองส่งิ แวดล้อมศลิ ปกรรม ๒ลำ� ดบั ความสำ� คัญ หน่วยงานรับผิดชอบ ๒.๑.๓ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๒๐ ล้้านบาท ๒๐ ล้้านบาท การออกมาตรการคุ้�มครองสิ่�งแวดล้้อมศิิลปกรรม บริิเวณกรุุงรััตนโกสิินทร์์ชั้�นใน บริิเวณกรุุง- หน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง รัตั นโกสินิ ทร์ช์ั้น� นอก บริเิ วณฝั่่ง� ธนบุรุ ีีตรงข้า้ มบริเิ วณกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ และบริเิ วณพื้้น� ที่่�ต่อ่ เนื่�อง บริิเวณกรุุงรัตั นโกสิินทร์ช์ั้น� นอก 68 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนงาน ๒.๒ มรดก ัวฒนธรรม การวาง จดั ทำ� และดำ� เนินการใหเ้ ป็นไปตามผังเมอื งเฉพาะ ๑หน่วยงานรับผดิ ชอบ โครงการ โครงการวาง จดั ทำ� และด�ำเนนิ การให้เปน็ ไปตามผงั เมืองเฉพาะ ล�ำดับความส�ำคัญ ๒.๒.๑ บริเวณริมฝ่ังแม่นำ�้ เจา้ พระยา การใช้ท ี่ที่ดดิน งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๑๕๐ ล้้านบาท ๑๐๐ ล้า้ นบาท ๕๐ ล้า้ นบาท หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง การวาง จัดั ทำำ� และดำำ�เนินิ การให้เ้ ป็น็ ไปตามผังั เมือื งเฉพาะโดยอาศัยั อำำ�นาจแห่ง่ กฎหมายผังั เมือื ง เพื่�อการอนุุรัักษ์์ฟื้้�นฟููเมืือง และส่่งเสริิมการท่่องเที่�่ยวริิมฝั่่�งแม่่น้ำำ��เจ้้าพระยา (Riverfront Development) ย่่านท่่าพระจัันทร์์-ท่่าช้้าง-ท่่าเตีียน ย่่านเยาวราช-ทรงวาด และย่่านปาก ภูมิ ัทศน์ คลองตลาด ๑หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ โครงการ โครงการวาง จดั ท�ำ และด�ำเนินการให้เปน็ ไปตามผงั เมืองเฉพาะ ล�ำดับความสำ� คญั ๒.๒.๒ ในพื้นท่ีเปล่ียนถ่ายการสัญจรโดยรอบสถานีรถไฟฟา้ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๕๐๐ การจราจร ล้า้ นบาท ๑๕๐ ล้้านบาท ๑๕๐ ล้้านบาท ๒๐๐ ล้้านบาท หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง การวางและจััดทำำ�ผัังเมืืองเฉพาะโดยอาศััยอำำ�นาจแห่่งกฎหมายผัังเมืือง เพื่�อการพััฒนาพื้้�นที่�่ สาธาร ูณปโภค เปลี่่�ยนถ่่ายการสััญจร (Transit Oriented Development หรืือ TOD) บริิเวณโดยรอบสถานีี รถไฟฟ้า้ ขนส่ง่ มวลชน สถานีีสนามไชย สถานีีร่ว่ มวังั บููรพา-สามยอด สถานีีวััดมังั กรกมลาวาส สถานีีอิสิ รภาพ สถานีีสนามหลวง สถานีีร่ว่ มผ่า่ นฟ้า้ -อนุสุ าวรีีย์ป์ ระชาธิปิ ไตย สถานีีหลานหลวง สถานีีศิริ ิริ าช สถานีีบางขุนุ พรหม และสถานีีสะพานพระพุุทธยอดฟ้้า กายภาพและวิ ีถ ุชมชน สาธาร ูณปการ การท่องเท่ียว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 69

ภูมทิ ัศนร์ ิมน้�ำ พน้ื ทไี่ ฟส่องสวา่ ง ขอบเขตโครงการ เหนอื เขตโครงการ ภมู ิทศั นร์ มิ คลอง ภูมทิ ัศน์รอบโบราณสถาน แขวง พืน้ ทโ่ี ล่งสาธารณะ ทางหลวง ถนน ซอย ภููมิิทัศั น์ร์ ิมิ ถนน ระดับั ๑ แม่น�้ำ คลอง ห้วย ภูมู ิิทััศน์ร์ ิิมถนน ระดัับ ๒ อา่ งเกบ็ น�ำ้ หนอง บงึ ที่�ม่ า: แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุงุ รััตนโกสินิ ทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์์การอนุุรัักษ์์และพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๒๒ 70 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์์ที่�่ ๓ ด้้านภููมิิทััศน์์ มรดก ัวฒนธรรม ยุทธศาสตร์ด้านภูมิทัศน์เป็นการด�ำเนินการเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์และขับเน้นความ สง่่างามของมรดกทางวััฒนธรรมและโบราณสถานที่่�มีีอยู่ �ในพื้้�นที่�่ให้้ดำำ�เนิินควบคู่ �ไปกัับ การใช้ ี่ท ิดน การพัฒั นาของเมือื งสมัยั ใหม่ ่ มีีการกำำ�หนดกลยุทุ ธ์ใ์ นการส่ง่ เสริมิ การรับั รู้�โครงสร้า้ งของ กรุงุ รััตนโกสินิ ทร์์ การเสริิมสร้้างสิ่�งแวดล้อ้ มและการเพิ่�มศักั ยภาพของผู้�ปฏิบิ ัตั ิิงานด้้าน ภููมิทิ ััศน์์ประกอบด้้วย ๒ แผนงานและโครงการรวมทั้้�งสิ้้�น ๖ โครงการ โดยมีีการจััดทำำ� แผนผังั แม่บ่ ทการอนุรุ ักั ษ์แ์ ละพัฒั นากรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ ์ ด้า้ นภูมู ิทิ ัศั น์ ์ มีีรายละเอีียดดังั นี้้� ูภมิ ัทศน์ กลยทุ ธ์ ขับเนน้ การรับรู้โครงสร้างของกรงุ รตั นโกสินทร์ แผนงาน โครงการ การจราจร ๓.๑ การปรับั ปรุงุ ภูมู ิทิ ัศั น์เ์ มือื ง ๓.๑.๑ โครงการปรับั ปรุงุ ภูมู ิทิ ัศั น์โ์ ดยรอบโบราณสถาน ๓.๑.๒ โครงการปรับั ปรุงุ ภูมู ิทิ ัศั น์ใ์ นโครงสร้า้ งทัศั นภาพ ๓.๑.๓ โครงการปรับั ปรุงุ ภูมู ิทิ ัศั น์ใ์ นแนวแม่น่ ้ำำ�� เจ้า้ พระยา สาธาร ูณปโภค และแนวคลองสำ� คญั ๓.๑.๔ โครงการปรับั ปรุงุ พื้้น� ที่โ�่ ล่ง่ สาธารณะ ๓.๑.๕ โครงการฉายไฟส่อ่ งสว่า่ งอาคารสำำ�คัญั และ พนื้ ทส่ี าธารณะ กลยุทธ์ เสรมิ สร้างสิ่งแวดล้อม และเพิม่ ศักยภาพของผปู้ ฏบิ ตั ิงาน กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ ด้านภมู ิทศั น์ แผนงาน โครงการ ๓.๒ การบริหิ ารจัดั การ ๓.๒.๑ โครงการวางระบบงานดูแู ลรักั ษาต้น้ ไม้ใ้ หญ่่ ภมู ทิ ศั นเ์ มอื ง การท่องเ ่ทียว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 71

แผนงาน ๓.๑ การปรับั ปรุงุ ภููมิทิ ัศั น์์เมืือง โครงการ โครงการปรับปรงุ ภมู ิทัศนโ์ ดยรอบโบราณสถาน ๒ลำ� ดับความสำ� คญั หน่วยงานรับผดิ ชอบ ๓.๑.๑ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่่� ๖-๑๐) ๕๖๕.๖ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๘๙.๖๐ ล้้านบาท ๓๐๘ ล้้านบาท ๑๖๘ ล้้านบาท ล้้านบาท หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ขอบเขตพ้ืนท่ีท่ีต้องปรับปรุงภูมิทัศน์แต่ละแห่งครอบคลุมพ้นื ที่เข้าสู่โบราณสถานและบริเวณท่ี กลุ่�มคนเข้า้ มาใช้พ้ ื้้น� ที่เ�่ ป็น็ ประจำำ� ทำำ�การวางผังั ออกแบบ และก่อ่ สร้า้ งเพื่�อให้ไ้ ด้พ้ ื้้น� ที่ร�่ อบโบราณ สถานตามวัตั ถุปุ ระสงค์์การใช้ง้ าน เสริิมคุณุ ค่่าด้้านการมองเห็น็ ให้ก้ ับั โบราณสถานจากมุุมมอง สำำ�คัญั ทั้้ง� ภายนอกและภายในพื้้น� ที่�่ และใช้ง้ านได้โ้ ดยคนทุกุ กลุ่�ม (Universal Design) โครงการ โครงการปรับปรงุ ภูมทิ ศั นใ์ นโครงสรา้ งทัศนภาพ ๑ล�ำดับความสำ� คัญ หน่วยงานรบั ผิดชอบ ๓.๑.๒ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ๔๑๐.๔ระยะที่่� ๒ (ปีีที่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๑๒๗.๒ ล้า้ นบาท ๗๙.๒ ล้า้ นบาท ๒๐๔ ล้า้ นบาท ล้า้ นบาท หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง การปรับั ปรุงุ ในระยะที่่� ๑ เป็น็ การปรับั ปรุงุ เส้น้ ทางเดินิ เท้า้ ทั้้ง� สภาพทางเท้า้ และการมองเห็น็ จาก ทางเท้้า (Sequenctial View) และบรรยากาศโดยรวม การปรัับปรุุงระยะที่่� ๒-๓ เป็็นการ ออกแบบภูมู ิทิ ัศั น์ถ์ นน ได้แ้ ก่่ การจัดั การภาพที่ม่� องเห็น็ จากแนวถนนในลักั ษณะภาพต่อ่ เนื่�อง ซึ่ง่� ต้อ้ งอาศััยความร่ว่ มมือื ของเจ้้าของอาคาร โครงการ โครงการปรบั ปรุงภูมิทัศน์ในแนวแม่นำ้� เจ้าพระยาและ ๒ล�ำดบั ความส�ำคัญ หน่วยงานรับผดิ ชอบ ๓.๑.๓ แนวคลองส�ำคัญ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ๗๙๒.๔ระยะที่่� ๒ (ปีีที่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่่� ๑๑-๑๕) ๒๖๙.๒ ล้้านบาท ๑๗๕.๒ ล้า้ นบาท ๓๔๘ ล้้านบาท ล้้านบาท ออกแบบปรบั ปรงุ ทงั้ ดา้ นประโยชนก์ ารใชท้ ด่ี นิ ชมุ ชนรมิ นำ�้ เสน้ ทางสญั จรทางบกทมี่ ศี กั ยภาพใน หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง การเขา้ ถงึ พน้ื ทร่ี มิ นำ้� โดยการดำ� เนนิ การจะดำ� เนนิ การเปน็ ชว่ ง ๆ อาศยั ความรว่ มมอื ระหวา่ งภาค รฐั และเอกชน โครงการ โครงการปรบั ปรุงพ้นื ท่ีโลง่ สาธารณะ ๒ลำ� ดับความส�ำคัญ หน่วยงานรับผิดชอบ ๓.๑.๔ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๓๗๘ ๓๓๓ ล้้านบาท ๔๕ ล้้านบาท ล้้านบาท หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ ง ปรบั ปรงุ พน้ื ทโ่ี ลง่ สาธารณะใหส้ ง่ เสรมิ การใชง้ านรว่ มกนั โดยผคู้ นโดยรอบ เกดิ การรวมตวั ของผคู้ น ใหเ้ กดิ พนื้ ทเี่ มอื งทมี่ ชี วี ติ เกดิ ปฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คม 72 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

มรดก ัวฒนธรรม หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ โครงการ โครงการฉายไฟสอ่ งสว่างอาคารส�ำคญั และพืน้ ทสี่ าธารณะ ๓ลำ� ดับความสำ� คัญ งบประมาณรวม ๓.๑.๕ ๑๕๗๑.๔๒ ระยะที่่� ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) การใช้ ี่ท ิดน ล้า้ นบาท หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง ๑๔๗๓.๔๓ ล้า้ นบาท ๔๒ ล้้านบาท ๕๖ ล้า้ นบาท ฉายไฟส่องโครงสร้างเมืองเก่าและแหล่งมรดกส�ำคัญให้ดูน่าประทับใจเมื่อมองจากทางสัญจร สำ� คญั ในยามคำ่� คนื ูภมิ ัทศน์ แผนงาน ๓.๒ การบริิหารจััดการภูมู ิิทััศน์์เมือื ง หน่วยงานรบั ผิดชอบ โครงการ โครงการวางระบบงานดูแลรกั ษาต้นไมใ้ หญ่ ๑ล�ำดับความส�ำคญั การจราจร งบประมาณรวม ๓.๒.๑ ๔๑๐.๔ ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่่� ๑๑-๑๕) ล้า้ นบาท หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง ๔๐ ล้า้ นบาท ๔๐ ล้า้ นบาท จััดตั้้�งหน่่วยงานด้้านรุุกขกรรมโดยเฉพาะหรืือมอบหมายหน่่วยงานที่�่เกี่�่ยวข้้องเพื่ �อดููแลต้้นไม้้ สาธาร ูณปโภค โดยเฉพาะและจััดทำำ�งบประมาณ โครงการ เพื่�อจ้้างและสร้้างบุุคลากรเพื่�อเป็็นรุุกขกรและคน งานที่่ไ� ด้ร้ ัับการอบรมเพื่�อการดูแู ลรัักษาต้น้ ไม้้ขึ้�นในหน่่วยงาน มีีแผนจััดการและเพิ่�มพููนความรู้� กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ ความเชี่่�ยวชาญ จััดหาอุุปกรณ์์และเครื่ �องมืือเพื่ �อการดููแลต้้นไม้้ใหญ่่ ติิดตั้้�งซอฟแวร์์ระบบการ ดููแลรัักษาต้น้ ไม้ใ้ หญ่ใ่ นเมืือง(เช่่น ArborSoftWorx, ArborPro, TreePro) จัดั ทำำ�ฐานข้้อมููล ต้น้ ไม้ใ้ หญ่ใ่ นพื้้น� ที่เ�่ พื่�อใช้ส้ ำำ�หรับั การติดิ ตามการดูแู ลรักั ษา วางแผนการดูแู ลรักั ษาต้น้ ไม้ร้ ายพื้้น� ที่�่ รายต้้น เป็น็ รายปีี การท่องเ ่ทียว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 73

สถานีรถไฟฟ้า จุดจอดระบบขนส่งมวลชนรอง (Shuttle Bus) ขอบเขตโครงการ เหนือ ระบบขนสง่ มวลชนรอง (Shuttle Bus) เขตโครงการ ทา่ เรอื แขวง เส้นทางรถไฟ ทางหลวง ถนน ซอย พืน้ ท่จี อดรถ ถนนสายหลัก แมน่ ้�ำ คลอง ห้วย ถนนสายรอง อา่ งเก็บนำ�้ หนอง บึง ที่่�มา: แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุงุ รััตนโกสินิ ทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์์การอนุุรัักษ์แ์ ละพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๓๑. 74 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์์ที่่� ๔ ด้้านการจราจร มรดก ัวฒนธรรม ยุุทธศาสตร์์ด้้านการจราจรเป็็นการดำำ�เนิินการเพื่ �อพััฒนาระบบการสััญจรภายในพื้้�นที่�่ กรุงุ รััตนโกสิินทร์์ให้้มีีประสิทิ ธิิภาพและเป็็นมิิตรกัับแหล่ง่ มรดกและวิถิ ีีวัฒั นธรรม มีีการ การใช้ ี่ท ิดน กำำ�หนดกลยุทุ ธ์ใ์ นการเชื่�อมโยงโครงข่า่ ยการสัญั จรอย่า่ งเป็น็ ระบบ การส่ง่ เสริมิ การสัญั จร ที่�เ่ ป็น็ มิิตรต่อ่ สิ่�งแวดล้้อม รวมถึึงการพััฒนาจุุดเปลี่�ย่ นถ่า่ ยการสัญั จรให้ม้ ีีประสิทิ ธิิภาพ ภูมิ ัทศน์ เชื่�อมโยงกัับการใช้ป้ ระโยชน์์ที่่�ดิิน ประกอบด้้วย ๓ แผนงานและโครงการรวมทั้้�งสิ้้�น ๗ โครงการ โดยมีีการจัดั ทำำ�แผนผังั แม่บ่ ทการอนุรุ ักั ษ์แ์ ละพัฒั นากรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ ์ ด้า้ นการ จราจร มีีรายละเอีียดดัังนี้้� กลยุทธ์ เชอ่ื มโยงโครงข่ายการสัญจรอย่างเปน็ ระบบ แผนงาน โครงการ การจราจร ๔.๑ การเชื่�อมโยงโครงข่า่ ย ๔.๑.๑ โครงการส่ง่ เสริมิ การเชื่�อมต่อ่ ยานพาหนะ การสญั จร ตา่ งประเภท ๔.๑.๒ โครงการทดแทนที่จ่� อดรถบนพื้้น� ผิวิ จราจร กลยุทธ์ สง่ เสรมิ การสญั จรท่ีเป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนที่กรงุ รัตนโกสินทร์ สาธาร ูณปโภค แผนงาน โครงการ ๔.๒ การสนับั สนุนุ การเดินิ เท้า้ ๔.๒.๑ โครงการจำำ�กัดั การสัญั จรในบริเิ วณ กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ และการใชจ้ กั รยาน กรงุ รตั นโกสนิ ทรช์ น้ั ใน ๔.๒.๒ โครงการส่ง่ เสริมิ การใช้ข้ นส่ง่ มวลชนเพื่�อลดการใช้้ ยานพาหนะสว่ นบคุ คล ๔.๒.๓ โครงการเก็บ็ ค่า่ ธรรมเนีียมการเข้า้ บริเิ วณ กรงุ รตั นโกสนิ ทรช์ นั้ นอกดว้ ยยานพาหนะสว่ นบคุ คล กลยทุ ธ์ พัฒนาจุดเปล่ยี นถา่ ยการสญั จรใหม้ ีประสทิ ธิภาพเช่อื มโยงกบั การใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน แผนงาน โครงการ ๔.๓ การออกแบบ พัฒั นาและ ๔.๓.๑ โครงการจัดั การจราจรในเขตเศรษฐกิจิ เฉพาะกิจิ การท่องเ ่ทียว ปรบั ปรงุ จดุ เปลยี่ นถา่ ยการ ๔.๓.๒ โครงการพัฒั นาและปรับั ปรุงุ ท่า่ เรือื สญั จร แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 75

แผนงาน ๔.๑ การเชื่่�อมโยงโครงข่่ายการสัญั จร โครงการ โครงการสง่ เสรมิ การเชื่อมตอ่ ยานพาหนะต่างประเภท ๒ล�ำดบั ความสำ� คัญ หน่วยงานรับผิดชอบ ๔.๑.๑ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๑๕๐ ๑๕๐ ล้้านบาท ล้า้ นบาท กำำ�หนดพื้้น� ที่่�ที่ส่� ามารถรองรับั การเปลี่ย�่ นยานพาหนะได้อ้ ย่า่ งสะดวกสบาย สามารถเชื่�อมต่อ่ เข้า้ หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง สู่่�จุดุ จอดร่ว่ มกันั (Public Parking) เชื่�อมโยงเข้า้ กับั ระบบขนส่่งมวลชนรองภายในพื้้�นที่แ�่ ละ เชื่�อมต่อ่ ภายนอกพื้้น� ที่ไ�่ ด้อ้ ย่า่ งสะดวก และจะต้อ้ งไม่ใ่ ช้เ้ ส้น้ ทางที่จ่� ะรบกวนการสัญั จรภายในพื้้น� ที่่� ซึ่ง�่ ระบบการจัดั การที่จ่� ะสามารถนำำ�เข้า้ มาใช้ง้ านเป็น็ ระบบอัตั โนมัตั ิ ิ มีีความเสถีียรและความมั่�นคง ในการให้้บริกิ ารตลอด ๒๔ ชั่่�วโมง โครงการ โครงการทดแทนที่จอดรถบนพืน้ ผวิ จราจร ๑ล�ำดบั ความสำ� คญั หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ ๔.๑.๒ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๑๐๕ ๕๕ ล้้านบาท ๕๐ ล้า้ นบาท ล้้านบาท ศึึกษาและตรวจสอบพื้้น� ที่�่ ที่�่ มีีข้อ้ จำำ�กัดั ด้า้ นการจอดรถบนพื้้น� ผิวิ จราจร จัดั หาพื้้น� ที่่�สำำ�หรับั จอดรถ หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง รวมทั้้ง� ในพื้้น� ที่ข�่ องรัฐั และเอกชน ซึ่ง�่ ตำำ�แหน่ง่ ของพื้้น� ที่จ่� อดรถรวมจะต้อ้ งสามารถเชื่�อมไปภายนอก พื้้�นที่่�เป้้าหมายและกระจายอยู่ �ภายในพื้้�นที่�่เป้้าหมายอย่่างทั่ �วถึึง กำำ�หนดมาตรการที่�่สามารถ สร้้างแรงจูงู ใจให้แ้ ก่่เจ้้าของพื้้น� ที่�่ ดำำ�เนิินการจัดั พื้้น� ที่�่ สำำ�หรับั จัดั เป็น็ ที่จ�่ อดรถรวม และมาตรการ ด้้านราคาและอื่�น ๆ เพื่�อส่่งเสริิมให้ผ้ ู้้�ที่่จ� ะจอดรถเข้า้ มาใช้้บริกิ ารในพื้้�นที่�ห่ รือื อาคารจอดรถรวม แผนงาน ๔.๒ การสนัับสนุุนการเดิินเท้้าและการใช้จ้ ัักรยาน โครงการ โครงการจำ� กดั การสัญจรในบริเวณกรุงรัตนโกสนิ ทร์ชนั้ ใน ๒ล�ำดบั ความส�ำคญั หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ ๔.๒.๑ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่่� ๑๑-๑๕) ๑๐ ๑๐ ล้า้ นบาท ล้้านบาท บริเิ วณกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ช์ั้น� ในเป็น็ เขตการท่อ่ งเที่ย่� วเชิงิ ประวัตั ิศิ าสตร์แ์ ละวัฒั นธรรม มีีการสัญั จร หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง ที่ห่� นาแน่น่ มาก เหมาะแก่ก่ ารส่ง่ เสริมิ การเดินิ เท้า้ และระบบขนส่ง่ มวลชน เพื่�อเป็น็ การประหยัดั พื้้น� ที่ก�่ ารสัญั จร สร้า้ งมาตรการกำำ�หนดเวลาการเข้า้ ออกพื้้น� ที่่� และประเภทของยานพาหนะ ตาม แต่่ความเหมาะสมในแต่ล่ ะพื้้น� ที่�่ ซึ่่�งมีีข้อ้ กำำ�หนดดังั ต่่อไปนี้้� ๑. กำำ�หนดช่ว่ งเวลา เช่่น ช่ว่ งเวลา ๘.๐๐-๒๑.๐๐ น. ในพื้้น� ที่่�ที่�่ มีีนักั ท่่องเที่ย�่ วหรืือ ผู้ �คนสััญจรด้้วยการเดิินเท้้าเป็็นจำำ�นวนมากกำำ�หนดให้้ยานพาหนะประเภทรถขนส่่งมวลชนหรืือ ระบบขนส่่งสาธารณะเข้า้ ออกพื้้�นที่่�ได้เ้ ท่า่ นั้้น� ช่ว่ งเวลา ๒๑.๐๐–๘.๐๐ น. หรืือช่ว่ งเวลากลาง คืืน สามารถเข้้าออกพื้้น� ที่ไ่� ด้้ทุุกยานพาหนะ ๒. กำำ�หนดประเภทยานพาหนะที่่ส� ามารถเข้า้ ออกพื้้น� ที่่�ได้ ้ คือื ยานพาหนะประเภท รถขนส่งมวลชนหรอื ระบบขนสง่ สาธารณะ และผทู้ ่อี ยูอ่ าศยั เดมิ ในพ้ืนท่ี ๓. ยกเว้้นพื้้�นที่�่สถานีีสนามหลวงและสนามไชย ยานพาหนะส่่วนบุคุ คลสามารถเข้้า ถงึ ไดเ้ พยี งสถานีและกลบั ออกไป 76 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

หน่วยงานรบั ผิดชอบ โครงการ โครงการส่งเสริมการใชข้ นส่งมวลชนเพอื่ ลดการใช้ ๒ลำ� ดบั ความส�ำคญั มรดก ัวฒนธรรม ๔.๒.๒ ยานพาหนะสว่ นบคุ คล งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๓๐ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๓๐ ล้า้ นบาท ล้้านบาท จััดหาระบบขนส่ง่ เฉพาะประเภทล้้อยางในบริิเวณกรุงุ รัตั นโกสิินทร์์ชั้�นใน เพื่�อรองรัับการเข้้าถึึง การใช้ ี่ท ิดน ของประชาชนและนักั ท่อ่ งเที่ย่� วที่จ�่ ะเดินิ ทางภายในพื้้น� ที่�่ โดยให้ม้ ีีจุดุ จอดบริเิ วณจุดุ ตัดั กับั บริเิ วณ กรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ช์ั้น� นอก สถานีีขนส่ง่ มวลชน และอาคารจอดรถรวม ออกแบบเส้น้ ทางที่ส�่ ามารถ เชื่�อมเข้้าสู่่�สถานที่�่ ท่อ่ งเที่�ย่ วสำำ�คััญ ๆ ได้อ้ ย่า่ งสะดวก หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ โครงการ โครงการเก็บค่าธรรมเนียมการเขา้ บริเวณกรงุ รัตนโกสินทร์ ๒ลำ� ดับความส�ำคัญ ภูมิ ัทศน์ ๔.๒.๓ ชัน้ นอกดว้ ยยานพาหนะสว่ นบคุ คล งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๓๐ ๑๕ ล้า้ นบาท ๑๕ ล้้านบาท ล้า้ นบาท หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง พ้ืนท่ีท่ีจะมีการเก็บค่าธรรมเนียมการน�ำยานพาหนะส่วนบุคคลเข้าถึงพื้นท่ีจัดอยู่ในบริเวณกรุง รัตั นโกสิินทร์ช์ั้น� นอก โดยจำำ�กััดปริิมาณยานพาหนะส่ว่ นบุุคคลที่จ�่ ะเข้้ามายัังพื้้น� ที่่�พาณิชิ ยกรรม และการบริิการย่่านธุุรกิิจ ด้้วยการเก็็บค่่าธรรมเนีียมในช่่วงเวลาเร่่งด่่วน โดยมีีรููปแบบในการ การจราจร จัดั เก็บ็ ที่�่ทั่�วถึึงและมีีความสะดวก เช่น่ ระบบอัตั โนมัตั ิติ รวจการเข้า้ ออกพื้้น� ที่่� การเพิ่�มมาตรการ ยกเว้้นค่่าธรรมเนีียมสำำ�หรัับขนส่่งสาธารณะหรืือผู้้�ที่่�มีีที่่�อยู่�อาศััยและแหล่่งงานในพื้้�นที่�่ ที่�่ จััดเก็็บ ค่่าธรรมเนีียม แผนงาน ๔.๓ การออกแบบ พัฒั นาและปรับั ปรุุงจุดุ เปลี่่�ยนถ่า่ ยการสัญั จร หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการ โครงการจดั การจราจรในเขตเศรษฐกจิ เฉพาะกิจ ๑ลำ� ดบั ความส�ำคญั สาธาร ูณปโภค ๔.๓.๑ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๒๐ ๑๐ ล้้านบาท ๑๐ ล้้านบาท ล้า้ นบาท หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง พื้้�นที่่�เขตเศรษฐกิิจเฉพาะภายในกรุุงรััตนโกสิินทร์์ บริิเวณโดยรอบสถานีีขนส่่งมวลชนสามารถ พัฒั นา ด้้วยหลัักการ Transit Oriented Development ซึ่�่งมีีความแตกต่า่ งจากพื้้�นที่่�อื่�น ๆ ที่�่ กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ สามารถเพิ่�มความหลากหลายของกิิจกรรมในแต่่ละพื้้�นที่�่ ที่่�มีีการเข้้าออกเพื่�อการท่่องเที่่�ยวใน ย่า่ นเมือื งเก่า่ จะต้อ้ งออกแบบพื้้น� ที่โ่� ดยรอบสถานีีเป็น็ ศูนู ย์ก์ ลางรวบรวมและกระจายการขนส่ง่ ไม่ม่ ีีกิจิ กรรมประเภทพาณิชิ ยกรรมระบายการเข้า้ ออกให้ร้ วดเร็ว็ ที่่�สุดุ กระจายสู่�ระบบการขนส่ง่ ด้้วยยานพาหนะที่�่ มีีความหลากหลาย หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ โครงการ โครงการพัฒนาและปรบั ปรุงท่าเรือ ๒ล�ำดบั ความส�ำคญั ๔.๓.๒ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๔๘ ๒๔ ล้า้ นบาท ๒๔ ล้้านบาท ล้้านบาท หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง การขนส่่งทางน้ำำ�� เป็น็ ทางเลืือกอีีกทางหนึ่่ง� ที่่�มีีความสะดวกรวดเร็ว็ เนื่�องจากมีีทางวิ่�งเฉพาะไม่่ ปะปนกัับระบบการขนส่่งประเภทอื่�น ๆ ซึ่่�งจะต้้องคำำ�นึึงถึึงระดัับของน้ำำ��และการไหลของแม่่น้ำำ�� เจ้า้ พระยา ท่่าเรือื จะต้้องมีีความยืืดหยุ่�น มีีความแข็็งแรงมั่�นคง เข้้าออกได้้สะดวกรวดเร็ว็ และ การท่องเ ่ทียว ปรับั ปรุงุ พื้้น� ที่่�ด้า้ นหน้า้ ให้เ้ ข้า้ ออกและพื้้น� ที่�่ สำำ�หรับั พักั คอย อีีกทั้้ง� เพิ่�มพื้้น� ที่เ่� ชื่�อมโยงเข้า้ กับั ระบบ การขนส่ง่ ประเภทอื่�น ๆ และที่่จ� อดรถสาธารณะ แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 77

โครงข่ายสาธารณปู โภค ขอบเขตโครงการ เหนอื ฟนื้ ฟสู ภาพคลองและคุณภาพ เขตโครงการ ปรบั ปรุงโครงสร้างเข่อื นเพอื่ ขบั เน้นคุณภาพอตั ลักษณ์ แขวง ของพื้้น� ที่ร�่ ะดับั ๑ ๒ และ ๓ ทางหลวง ถนน ซอย ศูนยป์ ระสานงานสาธารณูปโภครตั นโกสนิ ทร์ แม่น�้ำ คลอง ห้วย สถานีสบู น้ำ� /ประตูน�้ำ/บ่อสูบนำ�้ ท่ตี อ้ งออกแบบพิเศษ อา่ งเกบ็ น้�ำ หนอง บงึ โรงควบคุมคณุ ภาพน�้ำ การประปานครหลวง การไฟฟ้านครหลวง ที่่�มา: แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุงุ รััตนโกสิินทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์ก์ ารอนุุรัักษ์์และพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๔๐ 78 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์์ที่�่ ๕ ด้้านสาธารณููปโภค มรดก ัวฒนธรรม ยุุทธศาสตร์์ด้้านสาธารณููปโภคเป็็นการดำำ�เนิินการเพื่ �อสนัับสนุุนการพััฒนาในพื้้�นที่่� อนุรุ ักั ษ์ใ์ ห้เ้ กิดิ เป็น็ รูปู ธรรมและมีีคุณุ ประโยชน์์ เป็น็ การวางโครงสร้า้ งพื้้น� ฐานเพื่�อคุณุ ภาพ การใช้ ่ีท ิดน ชีีวิิตและความเป็็นอยู่่�ที่่�ดีีของประชาชนควบคู่ �ไปกัับการจััดการสภาพแวดล้้อมทาง กายภาพให้เ้ หมาะสมกัับพื้้�นที่่�ที่เ�่ ป็น็ แหล่่งมรดกทางวัฒั นธรรม มีีการกำำ�หนดกลยุทุ ธ์์ใน ภูมิ ัทศน์ การปรัับปรุุงสาธารณููปโภคพื้้น� ฐานให้ม้ ีีประสิทิ ธิิภาพและอเนกประโยชน์์ รวมถึึงการยก ระดับั รููปแบบของระบบสาธารณูปู โภคให้ส้ อดคล้อ้ งกับั พื้้น� ที่�่อนุรุ ักั ษ์ ์ จึึงเป็็นยุุทธศาสตร์์ ที่�่ใช้้งบประมาณต่่อแผนงานและโครงการสููงที่่�สุุดเมื่ �อเทีียบกัับยุุทธศาสตร์์อื่ �นประกอบ ด้้วย ๒ แผนงานและโครงการรวมทั้้�งสิ้้น� ๕ โครงการ โดยมีีการจัดั ทำำ�แผนผัังแม่่บทการ อนุุรัักษ์แ์ ละพััฒนากรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ ์ ด้า้ นสาธารณูปู โภค มีีรายละเอีียดดังั นี้้� กลยทุ ธ์ ปรบั ปรงุ สาธารณูปโภคพืน้ ฐานให้มีประสิทธภิ าพและอเนกประโยชน์ การจราจร แผนงาน โครงการ สาธาร ูณปโภค ๕.๑ การป้อ้ งกันั น้ำำ�� ท่ว่ ม ๕.๑.๑ โครงการพัฒั นาแนวป้อ้ งกันั น้ำำ�� ท่ว่ ม และปรบั ปรงุ คณุ ภาพนำ�้ ๕.๑.๒ โครงการฟื้�นฟูรู ะบบคูคู ลอง และปรับั ปรุงุ คุณุ ภาพน้ำำ�� ๕.๑.๓ โครงการปรับั ปรุงุ ระบบการระบายน้ำำ�� กลยุทธ์ ยกระดับรูปแบบของระบบสาธารณปู โภคให้สอดคล้องกับพนื้ ทอ่ี นรุ ักษ์ แผนงาน โครงการ กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ ๕.๑ การปรับั ปรุงุ โครงสร้า้ ง ๕.๒.๑ โครงการนำำ�สายไฟฟ้า้ และสายสื่�อสารลงใต้ด้ ินิ พนื้ ฐานของระบบ ๕.๒.๒ โครงการจัดั ตั้้ง� ศูนู ย์ป์ ระสานงานและข้อ้ มูลู และ สาธารณปู โภค พฒั นาเครอื ขา่ ยระบบสารสนเทศสาธารณปู โภค ๓ มิติ ิิ การท่องเ ่ทียว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 79

แผนงาน ๕.๑ การป้้องกัันน้ำำ��ท่่วมและปรัับปรุงุ คุณุ ภาพน้ำำ�� โครงการ โครงการสง่ เสรมิ การเชือ่ มตอ่ ยานพาหนะต่างประเภท ๒ลำ� ดับความสำ� คัญ หน่วยงานรับผิดชอบ ๕.๑.๑ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่่� ๑๑-๑๕) ๒,๒๗๖ ๒,๒๗๖ ล้า้ นบาท ล้้านบาท พััฒนาศัักยภาพการป้้องกัันน้ำำ��ท่่วม ขัับเน้้นอััตลัักษณ์์ของพื้้�นที่�่ ใช้้ประโยชน์์จากระบบคููคลอง แนวป้อ้ งกันั น้ำำ�� ท่ว่ มให้ห้ ลากหลายและเต็ม็ ประสิทิ ธิภิ าพ เพื่�อการระบายน้ำำ�� การสัญั จร นันั ทนาการ และการท่่องเที่�ย่ ว โครงการ โครงการฟื้นฟรู ะบบคูคลอง และปรับปรงุ คุณภาพนำ�้ ๒ล�ำดบั ความสำ� คัญ หน่วยงานรบั ผิดชอบ ๕.๑.๒ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๑,๗๒๘.๖ ๒๑๔.๔ ล้า้ นบาท ๑๕๑๔.๒ ล้้านบาท ล้้านบาท ฟื้�นฟูรู ะบบคูคู ลอง และปรับั ปรุงุ คุณุ ภาพน้ำำ�� เพื่�อการระบายน้ำำ�� การสัญั จร การอนุรุ ักั ษ์ ์ นันั ทนาการ และการท่อ่ งเที่�ย่ วด้้วยการบริิหารจััดการดููแลรักั ษาคุณุ ภาพน้ำำ��และสภาพ คูู คลอง อาทิิ การขุดุ ลอกและกำำ�จัดั ขยะการเปิดิ -ปิดิ ประตูรู ะบายน้ำำ�� เพื่�อให้เ้ กิดิ การระบายน้ำำ�� ตามธรรมชาติิ การนำำ�น้ำำ��ที่่� บำำ�บัดั แล้ว้ มาใช้ป้ ระโยชน์ก์ ารใช้ป้ ระโยชน์จ์ ากตะกอนน้ำำ�� เสีียสำำ�หรับั งานต้น้ ไม้้ และเพิ่�มศักั ยภาพ การบำำ�บัดั น้ำำ�� ในคูู คลอง ในพื้้น� ที่่�ต่อ่ เนื่�องฝั่่ง� ธนบุรุ ีี และการสูบู น้ำำ�� ในคลองเข้า้ บำำ�บัดั น้ำำ�� และเชื่�อม ท่อ่ ระบายน้ำำ��เข้า้ สู่่�แนวท่อ่ ส่่งเข้า้ โรงควบคุุมคุุณภาพน้ำำ�� ๒โครงการ เพิ่มศกั ยภาพการระบายนำ�้ จากคคู ลอง และจากทอ่ ระบายน้ำ� ลำ� ดบั ความส�ำคัญ หน่วยงานรับผดิ ชอบ ๕.๑.๓ รับปรุงภูมทิ ัศน์โดยรอบใหส้ อดคลอ้ งกับอตั ลักษณข์ องพื้นท่ี งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๔๘๐ หน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง ๒๑๕ ล้้านบาท ๒๒๐ ล้า้ นบาท ๔๕ ล้า้ นบาท ล้้านบาท เพิ่�มศัักยภาพการระบายน้ำำ��จากคููคลอง และจากท่่อระบายน้ำำ�� ปรัับปรุุงภููมิิทััศน์์โดยรอบให้้ สอดคล้้องกัับอััตลัักษณ์์ของพื้้�นที่�่ 80 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนงาน ๕.๒ การปรัับปรุงุ โครงสร้้างพื้้�นฐานของระบบสาธารณููปโภค หนว่ ยงานรับผิดชอบ โครงการ โครงการน�ำสายไฟฟา้ และสายสอ่ื สารลงใต้ดิน ๒ลำ� ดับความส�ำคัญ งบประมาณรวม ๕.๒.๑ ๔,๑๓๗.๒๑ ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ล้้านบาท ๒๑๑๓.๖๔ ล้า้ นบาท ๒๐๒๓.๕๖ ล้า้ นบาท น�ำสายไฟฟ้า และสายสือ่ สารลงใต้ดิน โดยมหี ลักเกณฑ์ในกำ� หนดพน้ื ทีโ่ ครงการ ไดแ้ ก่ บริเวณ หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง แนวถนนสายหลักแนวโครงสร้างเมืองเก่า แนวก่อสร้างรถไฟฟ้าและสาธารณูปโภคส�ำคัญ บริเวณย่านการค้าและแหล่งโบราณสถานส�ำคญั หนว่ ยงานรับผิดชอบ โครงการ โครงการจัดตัง้ ศนู ย์ประสานงานและขอ้ มูล ๓ลำ� ดบั ความส�ำคญั ๕.๒.๒ และพัฒั นาเครืือข่่ายระบบสารสนเทศสาธารณูปู โภค ๓ มิติ ิิ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๑๓๐ ๑๑๐ ล้า้ นบาท ๑๐ ล้า้ นบาท ๑๐ ล้า้ นบาท ล้้านบาท หน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง จััดตั้้�งสำำ�นัักงานในรููปแบบของศููนย์์ปฏิิบััติิการด้้านสาธารณููปโภคเพื่�อชุุมชนในกรุุงรััตนโกสิินทร์์ เพื่�อรองรับั หน่ว่ ยงานประสานงานด้า้ นสาธารณูโู ภคในบริเิ วณกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ และพื้้น� ที่ใ่� ห้บ้ ริกิ าร ประชาชนในส่ว่ นงานด้า้ นสาธารณูปู โภค รวมถึึงเป็น็ พื้้น� ที่�่ กิจิ กรรมสันั ทนาการ ท่อ่ งเที่ย�่ ว และให้้ ความรู้้� พร้้อมกัับจััดทำำ�แผนที่ฐ�่ านเชิงิ เลข (Digital Map) โครงข่า่ ยระบบสาธารณูปู โภค ๓ มิติ ิิ สามารถเห็น็ โครงข่า่ ยของทุกุ งานระบบ ท่อ่ สายไฟฟ้า้ รวม ท่อ่ ประปา ท่อ่ ระบายน้ำำ�� อุโุ มงค์์ และ ระบบอื่�นที่�่เกี่�่ยวข้้อง และวางโครงข่่ายระบบสาธารณููปโภค โดยใช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศเข้้ามา ช่ว่ ยในการตรวจจับั และตอบสนองความต้อ้ งการและการเปลี่ย่� นแปลงการใช้ส้ าธารณูปู โภคระดับั ท้อ้ งถิ่�น รวมถึึงทำำ�หน้า้ ที่เ่� ป็น็ ศูนู ย์ต์ รวจวัดั คุณุ ภาพด้า้ นพลังั งานและสิ่�งแวดล้อ้ ม แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 81

พน้ื ทีร่ องรับภัยพิบตั ิและภาวะฉกุ เฉนิ ระดับเมือง ขอบเขตโครงการ เหนอื เขตโครงการ พื้นท่ีปรบั ปรงุ วดั และโรงเรียนเปน็ ศนู ยบ์ ริการชมุ ชนและ แขวง รองรับภัยพบิ ตั แิ ละภาวะฉกุ เฉนิ ทางหลวง ถนน ซอย ชมุ ชนท่ีมกี ารตดิ ตง้ั อปุ กรณเ์ พอ่ื ความปลอดภยั ของชุมชน แมน่ ำ้� คลอง หว้ ย การปรับปรงุ พื้นท่สี าธารณะเพือ่ การใช้งานของชมุ ชน อ่างเกบ็ น้�ำ หนอง บงึ และสื่อคณุ ค่ามรดกวัฒนธรรม ที่่ม� า: แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุงุ รััตนโกสินิ ทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์ก์ ารอนุุรัักษ์แ์ ละพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๔๗ 82 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์์ที่่� ๖ ด้้านสาธารณููปการ มรดก ัวฒนธรรม ยุุทธศาสตร์์ด้้านสาธารณููปการเป็็นการดำำ�เนิินการเพื่ �อส่่งเสริิมคุุณภาพชีีวิิตและความ เป็็นอยู่�ของประชาชนในพื้้�นที่่�กรุุงรััตนโกสิินทร์์ รองรัับการเปลี่่�ยนแปลงของโครงสร้้าง การใช้ ่ีท ิดน ประชากร และรูปู แบบของการอยู่�อาศััยในพื้้�นที่�่อนุุรักั ษ์ ์ ซึ่ง�่ มีีทั้้ง� ศาสนสถาน และสถาน ศึึกษากระจายตััวอยู่ �เป็็นจำำ�นวนมาก มีีการกำำ�หนดกลยุุทธ์์ในการยกระดัับการใช้้งาน ภู ิม ัทศน์ สาธารณููปการให้้สอดคล้้องกัับโครงสร้้างประชากรและบริิบททางสัังคมที่่�เปลี่�่ยนแปลง รวมถึึงการปรัับปรุุงสาธารณูปู การเพื่�อรองรับั ภัยั พิิบััติิและภาวะฉุุกเฉิิน ประกอบด้้วย ๒ แผนงานและโครงการรวมทั้้ง� สิ้้�น ๔ โครงการ โดยมีีการจััดทำำ�แผนผัังแม่บ่ ทการอนุรุ ักั ษ์์ และพัฒั นากรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ด้า้ นสาธารณููปการ มีีรายละเอีียดดังั นี้้� กลยทุ ธ์ ยกระดับการใช้งานสาธารณปู การใหส้ อดคลอ้ งกบั โครงสรา้ งประชากรและ บรบิ ททางสงั คมที่เปลีย่ นแปลง แผนงาน โครงการ การจราจร ๖.๑ การปรับั ปรุงุ การให้บ้ ริกิ าร ๖.๑.๑ โครงการปรับั ปรุงุ วัดั และโรงเรีียนเป็น็ ศูนู ย์บ์ ริกิ าร สาธารณปู การ ครบวงจรแก่ผ่ ู้้�สููงอายุแุ ละผู้้�ด้้อยโอกาส ๖.๑.๒ โครงการเพิ่�มประโยชน์ก์ ารใช้ส้ อยโรงเรีียนเป็น็ ศูนู ย์์ การเรีียนรู้้� ศููนย์ฝ์ ึกึ อาชีีพ และพื้้�นที่่�กิิจกรรม สาธาร ูณปโภค สันั ทนาการ กลยทุ ธ์ ปรบั ปรงุ สาธารณูปการเพ่อื รองรบั ภัยพบิ ัติและภาวะฉกุ เฉนิ แผนงาน โครงการ กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ ๖.๒ การเตรีียมพร้อ้ ม ๖.๒.๑ โครงการปรับั ปรุงุ อาคารเรีียนเป็น็ ที่�่ พักั ยามภัยั พิบิ ัตั ิ ิ สาธารณปู การเพอื่ รองรบั และภาวะฉุุกเฉินิ ยามภยั พบิ ตั แิ ละ ๖.๒.๒ โครงการติดิ ตั้้ง� อุปุ กรณ์เ์ พื่�อความปลอดภัยั ของชุมุ ชน ภาวะฉกุ เฉนิ การท่องเ ่ทียว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 83

84 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนงาน ๖.๑ การปรัับปรุุงการให้้บริกิ ารสาธารณููปการ มรดก ัวฒนธรรม หน่่วยงานรับั ผิดิ ชอบ โครงการ โครงการปรับั ปรุงุ วัดั และโรงเรียี นเป็น็ ศูนู ย์์บริกิ ารครบวงจร ๓ลำำ�ดับั ความสำำ�คัญั ๖.๑.๑ แก่่ผู้้�สูงู อายุแุ ละผู้้�ด้้อยโอกาส งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๙๕ การใช้ ่ีท ิดน ๕๐ ล้้านบาท ๔๕ ล้า้ นบาท ล้้านบาท หน่ว่ ยงานที่่เ� กี่่�ยวข้อ้ ง ปรัับปรุุงอาคารของวััดและโรงเรีียนให้้เป็็นศููนย์์บริิการด้้านความรู้�และกิิจกรรมทางสัังคมให้้กัับ ผู้้�สููงอายุุและผู้้�ด้้อยโอกาส โดยการพััฒนาเป็็นอาคารสำำ�หรัับการพัักผ่่อนหย่่อนใจและกิิจกรรม นัันทนาการ มีีการติิดตั้้�งอุุปกรณ์์และสิ่�งอำำ�นวยความสะดวกสำำ�หรัับผู้้�สููงอายุุ รวมถึึงปรัับปรุุง ภู ิม ัทศน์ โรงเรีียนอนุบุ าลและศูนู ย์เ์ ด็ก็ เล็ก็ ให้เ้ ป็น็ ศูนู ย์ด์ ูแู ลผู้้�สูงู อายุใุ นชุมุ ชน เพื่�อผู้้�สูงู อายุุ และผู้้�ด้อ้ ยโอกาส มีีกิจิ กรรมที่�เ่ หมาะสมในชีีวิติ ประจำำ�วันั และสามารถดำำ�เนินิ ชีีวิติ ได้้อย่า่ งมีีความสุุข หน่ว่ ยงานรับั ผิิดชอบ โครงการ โครงการเพิ่่�มประโยชน์์การใช้ส้ อยโรงเรียี นเป็น็ ศูนู ย์์การเรีียนรู้� ๓ลำำ�ดัับความสำำ�คัญั ๖.๑.๒ ศูนู ย์์ฝึึกอาชีีพ และพื้้�นที่่�กิิจกรรมสันั ทนาการ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๓๘ ๒๐ ล้้านบาท ๑๘ ล้้านบาท ล้า้ นบาท ปรับั ปรุงุ อาคารใช้ส้ อยของโรงเรีียนให้เ้ ป็น็ ศูนู ย์ฝ์ ึกึ อบรมอาชีีพ ความรู้�ทางภาษาและคอมพิวิ เตอร์์ การจราจร แก่ผ่ ู้้�สูงู อายุแุ ละผู้้�ด้อ้ ยโอกาส รวมถึึงพัฒั นาห้อ้ งสมุดุ โรงเรีียนเป็น็ หอสมุดุ ชุมุ ชน เพื่�อให้โ้ รงเรีียน ทำำ�หน้้าที่่�ในการบริิการได้้สอดคล้้องกัับสภาพของชุุมชนที่่�ประสบกัับสถานการณ์์การลดลงของ ประชากรเด็ก็ และการเพิ่�มขึ้น� ของผู้้�สูงู อายุแุ ละนัักท่่องเที่ย�่ ว แผนงาน ๖.๒ การเตรียี มพร้้อมสาธารณููปการ เพื่่�อรองรัับยามภัยั พิิบัตั ิแิ ละภาวะฉุกุ เฉิิน สาธาร ูณปโภค หน่ว่ ยงานรัับผิิดชอบ โครงการ โครงการปรัับปรุงุ อาคารเรียี นเป็น็ ที่่�พักั ยามภัยั พิบิ ัตั ิแิ ละ ลำำ�ดับั ความสำำ�คัญั ๖.๒.๑ ภาวะฉุุกเฉินิ ๓ลำำ�ดับั ความสำำ�คัญั งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๔๑.๘ ๒๒ ล้า้ นบาท ๑๙.๘ ล้า้ นบาท ล้า้ นบาท ปรับั ปรุงุ อาคารเรีียนเป็น็ ที่�่ พักั ยามฉุกุ เฉินิ หรือื ภัยั พิบิ ัตั ิิ (Shelter) มีีการเตรีียมพร้อ้ มสิ่�งอำำ�นวย กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ ความสะดวกพื้้น� ฐานที่ส�่ ามารถเป็็นที่่�พึ่�่งพาให้้กับั ชุมุ ชนในยามขัับขันั ต่า่ งๆ ได้ใ้ นระยะเวลาหนึ่ง่� พร้อ้ มติดิ ตั้้ง� แผนที่แ�่ สดงเส้น้ ทางอพยพ เพื่�อเคลื่�อนย้า้ ยคนในชุมุ ชนและนักั ท่อ่ งเที่ย�่ วให้ส้ ามารถ ไปอยู่�ในพื้้น� ที่ป�่ ลอดภัยั ที่�่ จััดเตรีียมไว้ไ้ ด้้ในเวลาอันั รวดเร็ว็ หน่่วยงานรับั ผิิดชอบ โครงการ โครงการติดิ ตั้้�งอุุปกรณ์์เพื่่�อความปลอดภััยของชุุมชน ๒ลำำ�ดัับความสำำ�คัญั งบประมาณรวม ๖.๒.๒ ระยะที่่� ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๓๗.๔ ๑๘.๗ ล้้านบาท ๑๘.๗ ล้า้ นบาท ล้า้ นบาท หน่่วยงานที่่เ� กี่ย�่ วข้้อง ติดิ ตั้้ง� อุปุ กรณ์เ์ พื่�อความปลอดภัยั ของชุมุ ชน ได้แ้ ก่่ การติดิ ตั้้ง� หัวั จ่า่ ยน้ำำ�� ดับั เพลิงิ ตามพื้้น� ที่่�ชุมุ ชน เพื่�อป้้องกัันและบรรเทาอััคคีีภััย เนื่�องจากสภาพพื้้�นที่่�ชุุมชนมีีสภาพบ้้านเรืือนที่�่หนาแน่่นเป็็น ซอยแคบที่่�มีีการเข้้าถึึงของรถดัับเพลิิงค่่อนข้้างยาก นอกจากนี้้� ยัังมีีการติิดตั้้�งกล้้องวงจรปิิด การท่องเ ่ทียว เพื่ �อช่่วยรัักษาความสงบเรีียบร้้อยภายในชุุมชนและป้้องกัันอาชญากรรมที่่�อาจจะเกิิดกัับคนใน ชุมุ ชนและนัักท่่องเที่�ย่ ว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 85

ขอบเขตกลุ่มชุมชน ขอบเขตโครงการ เหนอื เขตโครงการ การปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มการอยอู่ าศัยในชมุ ชน แขวง การปรบั ปรุงพ้ืนทีส่ าธารณะเพื่อการใชง้ านของชุมชน ทางหลวง ถนน ซอย และสอ่ื คุณค่ามรดกวัฒนธรรม พืน้ ท่ชี มุ ชน แมน่ �้ำ คลอง หว้ ย อ่างเก็บน�ำ้ หนอง บงึ วัด ที่่�มา: แผนผัังแม่่บทการอนุรุ ัักษ์แ์ ละพััฒนากรุุงรััตนโกสินิ ทร์์ (เล่่มยุุทธศาสตร์์การอนุรุ ัักษ์์และพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๕๓ 86 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์์ที่�่ ๗ ด้้านกายภาพและวิิถีีชุุมชน มรดก ัวฒนธรรม ยุุทธศาสตร์์ด้้านกายภาพและวิิถีีชุุมชนเป็็นการดำำ�เนิินการเพื่ �อเน้้นความเป็็นอยู่่�ที่่�ดีี ส่ง่ เสริมิ การพัฒั นาด้า้ นเศรษฐกิจิ และสังั คม รวมถึึงสนับั สนุนุ ให้ช้ ุมุ ชนสามารถอยู่่�ร่วมกับั การใช้ ่ีท ิดน พื้้น� ที่โ�่ บราณสถานได้อ้ ย่า่ งเกื้้อ� กูลู กันั มีีการกำำ�หนดกลยุทุ ธ์ใ์ นการปรับั ปรุงุ สภาพแวดล้อ้ ม ชุมุ ชนให้อ้ ยู่่�ร่วมกับั มรดกวัฒั นธรรมได้อ้ ย่า่ งเหมาะสม การส่ง่ เสริมิ การเรีียนรู้�แก่ส่ าธารณะ ภูมิ ัทศน์ รวมถึึงการส่ง่ เสริิมการต่่อยอดภููมิิปััญญาและการสร้า้ งเศรษฐกิจิ ชุมุ ชน ประกอบด้้วย ๒ แผนงานและโครงการรวมทั้้�งสิ้้น� ๔ โครงการ โดยมีีการจััดทำำ�แผนผัังแม่่บทการอนุรุ ัักษ์์ และพัฒั นากรุุงรััตนโกสิินทร์์ ด้า้ นกายภาพและวิถิ ีีชุมุ ชนมีีรายละเอีียดดังั นี้้� กลยุทธ์ ปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มชมุ ชน ให้อยู่ร่วมกบั มรดกวัฒนธรรม ไดอ้ ย่างเหมาะสมและส่งเสรมิ การเรยี นรแู้ กส่ าธารณะ แผนงาน โครงการ การจราจร ๗.๑ การปรับั ปรุงุ ๗.๑.๑ โครงการปรับั ปรุงุ สภาพแวดล้อ้ มการอยู่�อาศัยั ใน สภาพแวดลอ้ มชมุ ชน กลุ่�มชุมุ ชนที่่�สำำ�คััญ ๗.๑.๒ โครงการปรับั ปรุงุ พื้้น� ที่ส�่ าธารณะระดับั กลุ่�มชุมุ ชน ภายในศาสนสถาน สาธาร ูณปโภค กลยุทธ์ สง่ เสรมิ การต่อยอดภมู ิปญั ญาและการสร้างเศรษฐกจิ ชุมชน แผนงาน โครงการ กายภาพและวิ ีถีชุชมชน สาธาร ูณปการ ๗.๒ การส่ง่ เสริมิ เศรษฐกิจิ ๗.๒.๑ โครงการพัฒั นาผลิติ ภัณั ฑ์ข์ องผู้�ประกอบการภายใน ชมุ ชน ชุมุ ชน ๗.๒.๒ โครงการส่ง่ เสริมิ ให้้เกิิดผู้�ประกอบการดิจิ ิทิ ััล การท่องเ ่ทียว แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 87

88 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนงาน ๗.๑ การปรัับปรุุงสภาพแวดล้อ้ มชุมุ ชน มรดก ัวฒนธรรม หน่่วยงานรัับผิดิ ชอบ โครงการ โครงการปรัับปรุงุ สภาพแวดล้้อมการอยู่่�อาศััยในกลุ่่�ม ๒ลำำ�ดัับความสำำ�คัญั ๗.๑.๑ ชุุมชนที่่�สำำ�คัญั งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่�่ ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๓๐๐ หน่ว่ ยงานที่่�เกี่ย�่ วข้้อง ๑๕๖ ล้า้ นบาท ๑๔๔ ล้า้ นบาท ล้า้ นบาท การใช้ ่ีท ิดน ให้้มีีการดำำ�เนินิ การปรัับปรุงุ สภาพแวดล้้อมการอยู่�อาศััยของกลุ่�มชุมุ ชนที่่�มีีความโดดเด่น่ หรืือ มีีศัักยภาพในการส่ง่ เสริิมการเรีียนรู้้� โดยเน้้นการปรับั ปรุงุ พื้้น� ที่�่สาธารณะ และสิ่�งอำำ�นวยความ สะดวกที่อ่� ยู่�ในความดูแู ลขององค์ก์ รปกครองส่ว่ นท้อ้ งถิ่�น อาทิิ ถนน ทางเท้า้ ไฟฟ้า้ ส่อ่ งสว่า่ ง ฯลฯ ให้ส้ ามารถใช้ง้ านได้ส้ ะดวกสบายและมีีการออกแบบที่ส่� ามารถสื่�อถึึงอัตั ลักั ษณ์ข์ องแต่ล่ ะพื้้น� ที่ไ่� ด้้ หน่่วยงานรัับผิดิ ชอบ โครงการ โครงการปรัับปรุุงพื้้�นที่่�สาธารณะระดับั กลุ่่�มชุุมชน ๓ลำำ�ดับั ความสำำ�คััญ ภูมิ ัทศน์ ๗.๑.๒ ภายในศาสนสถาน งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีีที่่� ๑๑-๑๕) ๓๔๔ ล้้านบาท หน่ว่ ยงานที่่�เกี่�่ยวข้้อง ๑๒0 ล้้านบาท ๑๑๒ ล้า้ นบาท ๑๑๒ ล้า้ นบาท ให้้ดำำ�เนิินการปรับั ปรุงุ พื้้�นที่�่ภายในกลุ่�มชุมุ ชน โดยเน้น้ การใช้ง้ านพื้้�นที่�บ่ างส่ว่ นของศาสนสถาน การจราจร และพื้้�นที่่�โล่่งว่่างในชุุมชน เพื่�อให้้เป็็นพื้้�นที่่�สาธารณะที่่�ผู้�อยู่�อาศััยในพื้้�นที่�่สามารถใช้้ประโยชน์์ เพื่ �อการพบปะสัังสรรค์์และส่่งเสริิมสุุขภาวะและอาจพ่่วงประโยชน์์สำำ�หรัับการใช้้งานในกรณีี ฉุุกเฉินิ เช่่น มีีการฝัังแท็็งก์์น้ำำ�� เพื่�อสามารถ ใช้้งานเมื่�อเกิดิ เหตุอุ ัคั คีีภััย ทั้้�งนี้้� เพื่�อมุ่�งเน้น้ การ สร้า้ งความสัมั พันั ธ์ภ์ ายในชุมุ ชนให้เ้ ข้ม้ แข็ง็ รวมถึึงเป็น็ พื้้น� ที่่�ที่ส�่ ามารถสื่�อสารความสัมั พันั ธ์์ แบบบ.ว.ร. (บ้า้ น วัดั โรงเรีียน) และแสดงถึึงเอกลักั ษณ์ข์ องชุมุ ชน แผนงาน ๗.๒ การส่่งเสริิมเศรษฐกิจิ ชุุมชน สาธาร ูณปโภค หน่ว่ ยงานรัับผิิดชอบ โครงการ โครงการพััฒนาผลิิตภััณฑ์ข์ องผู้้�ประกอบการภายในชุุมชน ๓ลำำ�ดับั ความสำำ�คัญั ๗.๒.๑ งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๑๐๐ ล้า้ นบาท หน่ว่ ยงานที่่เ� กี่่ย� วข้อ้ ง ๕๐ ล้า้ นบาท ๕๐ ล้า้ นบาท ส่่งเสริิมการพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ทั้้�งที่�่เป็็นสิินค้้าและการบริิการของผู้ �ประกอบการภายในชุุมชน กายภาพและวิ ีถีชุชมชน สาธาร ูณปการ หรืือผู้�อยู่�อาศัยั ในชุุมชนที่�ร่ วมตััวกััน โดยคัดั เลือื กจากสินิ ค้า้ และบริกิ ารของชุุมชนที่่�เหมาะสม จะเป็็นวิิสาหกิิจชุุมชน และต้้องเป็น็ การต่อ่ ยอดจากภูมู ิิปััญญาและองค์ค์ วามรู้�ของชุุมชน การ สนับั สนุุนดำำ�เนิินการโดยการให้ง้ บประมาณสนัับสนุนุ การพัฒั นาผลิติ ภััณฑ์์แก่ช่ ุุมชน และให้้การ สนับั สนุนุ การพัฒั นาผลิติ ภััณฑ์์โดยผู้�เชี่�ย่ วชาญ หน่ว่ ยงานรับั ผิิดชอบ โครงการ โครงการส่ง่ เสริิมให้เ้ กิิดผู้้�ประกอบการดิิจิทิ ััล ๓ลำำ�ดับั ความสำำ�คััญ งบประมาณรวม ๗.๒.๒ ระยะที่่� ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่่� ๑๑-๑๕) ๖๐ ๓๐ ล้้านบาท ๓๐ ล้า้ นบาท ล้า้ นบาท หน่่วยงานที่่เ� กี่่�ยวข้อ้ ง ดำำ�เนินิ การส่ง่ เสริมิ ให้เ้ กิดิ ผู้�ประกอบการดิจิ ิทิ ัลั เพื่�อตอบสนองนโยบายเศรษฐกิจิ ดิจิ ิทิ ัลั ที่เ�่ ป็น็ การ ส่ง่ เสริิมการค้า้ และบริิการเดิมิ ที่�่ มีีอยู่�ในพื้้�นที่อ่� ยู่�แล้้ว หรือื เป็น็ การพััฒนารวมถึึงการต่่อยอดจาก การท่องเ ่ทียว องค์ค์ วามรู้�ที่�มีีอยู่�ในพื้้น� ที่�่ โดยเน้้นกิจิ กรรมการให้้องค์ค์ วามรู้�แก่่ผู้�ประกอบการ เช่น่ การอบรม การให้้ความช่่วยเหลือื โดยผู้�เชี่ย�่ วชาญด้า้ นต่า่ ง ๆ ที่เ�่ กี่ย�่ วข้อ้ ง แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 89

พนื้ ทปี่ รบั ปรงุ ทพี่ กั นักท่องเที่ยว เสน้ ทางทอ่ งเที่ยวหลกั ขอบเขตโครงการ เหนือ ร่วมกับชมุ ชน เส้นทางทอ่ งเท่ยี วยา่ นนางเลิ้ง หลานหลวง เขตโครงการ พื้นทีป่ รบั ปรุงท่พี ักนกั ทอ่ งเที่ยว เสน้ ทางทอ่ งเทย่ี ววถิ ชี ุมชนกะดจี นี แขวง และพน้ื ท่ีพาณิชยกรรม เสน้ ทางทอ่ งเท่ยี ววิถีชวี ติ ยา่ นบางล�ำพู ข้าวสาร ทางหลวง ถนน ซอย พื้นท่ีปรบั ปรงุ คณุ ภาพแหลง่ ท่องเทยี่ ว เส้นทางท่องเที่ยววถิ ชี ุมชนแพรง่ ภูธร แมน่ ำ้� คลอง ห้วย พน้ื ทป่ี รับปรงุ ท่ีพักนักทอ่ งเทยี่ ว เสน้ ทางทอ่ งเที่ยววิถชี าวจนี อ่างเก็บน�ำ้ หนอง บงึ ริมแมน่ ้�ำเจ้าพระยา พ้นื ทพ่ี ฒั นาจุดให้ขอ้ มูลนักทอ่ งเทยี่ ว ชมุ ชนทม่ี มี รดกทางวัฒนธรรม จุดพฒั นาแหลง่ ขอ้ มลู วถิ ีชุมชน สถานีรถไฟฟ้า แหลง่ ท่องเทย่ี วส�ำคญั ทค่ี วรปรบั ทา่ เรือ การให้ข้อมูลการทอ่ งเท่ยี ว ที่ม่� า: แผนผัังแม่่บทการอนุุรัักษ์์และพััฒนากรุุงรััตนโกสิินทร์์ (เล่่มยุทุ ธศาสตร์ก์ ารอนุรุ ัักษ์แ์ ละพััฒนา). ๒๕๖๓. หน้้า ๓-๖๐ 90 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ยุุทธศาสตร์์ที่่� ๘ ด้้านการท่่องเที่�่ยว มรดก ัวฒนธรรม ยุุทธศาสตร์์ด้้านการท่่องเที่่�ยวเป็็นการดำำ�เนิินการเพื่ �อต่่อยอดระบบและกิิจกรรมทาง เศรษฐกิิจสำำ�คััญที่่�มีีอยู่ �เดิิมในพื้้�นที่�่ให้้เกิิดความยั่ �งยืืนและสอดคล้้องกัับคุุณค่่าของมรดก การใช้ ี่ท ิดน ทางวััฒนธรรม รวมถึึงสามารถปรัับตััวให้้เข้้ากัับการพััฒนาด้้านต่่าง ๆ ในพื้้�นที่�่ มีีการ กำำ�หนดกลยุุทธ์์ในการเพิ่�มคุุณค่่า และความหลากหลายของการท่่องเที่่�ยว การพััฒนา ภู ิม ัทศน์ ระบบการให้ข้ ้อ้ มูลู และการเพิ่�มสิ่�งอำำ�นวยความสะดวกนักั ท่อ่ งเที่ย่� ว รวมถึึงการยกระดับั มาตรฐานแหล่ง่ ที่่�พักั ของนักั ท่อ่ งเที่ย�่ ว ประกอบด้ว้ ย ๓ แผนงานและโครงการรวมทั้้ง� สิ้้น� ๗ โครงการ โดยมีีการจัดั ทำำ�แผนผัังแม่่บทการอนุรุ ัักษ์์และพัฒั นากรุุงรััตนโกสิินทร์ ์ ด้้าน การท่อ่ งเที่่�ยวมีีรายละเอีียดดังั นี้้� กลยทุ ธ์ เพ่มิ คณุ คา่ และความหลากหลายของการท่องเทีย่ ว แผนงาน โครงการ การจราจร ๘.๑ การปรับั ปรุงุ แหล่ง่ ๘.๑.๑ โครงการปรับั ปรุงุ อุปุ กรณ์ส์ื่�อสารข้อ้ มูลู แหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย่� ว ทอ่ งเทย่ี ว ๘.๑.๒ โครงการพัฒั นาแหล่ง่ ข้อ้ มูลู วิถิ ีีชุมุ ชน ๘.๑.๓ โครงการจัดั กิจิ กรรมเพื่�อส่ง่ เสริมิ การท่อ่ งเที่ย่� ว เชิงิ วัฒั นธรรม สาธาร ูณปโภค ๘.๑.๔ โครงการจัดั ระเบีียบพื้้น� ที่�่ ท่อ่ งเที่ย�่ ว กลยุทธ์ พฒั นาระบบการใหข้ อ้ มลู และเพ่ิมส่ิงอำ� นวยความสะดวกนกั ท่องเทยี่ ว แผนงาน โครงการ กายภาพและวิถี ุชมชน สาธาร ูณปการ ๘.๒ การพัฒั นาเส้น้ ทาง ๘.๒.๑ โครงการปรับั ปรุงุ สถานที่แ่� ละอุปุ กรณ์ใ์ ห้ข้ ้อ้ มูลู การทอ่ งเทย่ี ว เส้น้ ทางการท่อ่ งเที่ย�่ ว ๘.๒.๒ โครงการพัฒั นาแผนที่แ�่ ละระบบออนไลน์เ์ พื่�อให้ข้ ้อ้ มูลู การท่อ่ งเที่�ย่ ว กลยทุ ธ์ ยกระดับมาตรฐานแหล่งท่พี กั นักท่องเทีย่ ว แผนงาน โครงการ การท่องเที่ท่ียว ๘.๓ การพัฒั นาแหล่ง่ ที่่�พักั ๘.๓.๑ โครงการส่ง่ เสริมิ การพัฒั นาแหล่ง่ ที่�่ พักั นักั ท่อ่ งเที่ย�่ ว นกั ทอ่ งเทย่ี วใหไ้ ด้ ให้ไ้ ด้ม้ าตรฐาน มาตรฐาน แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 91

แผนงาน ๘.๑ การปรัับปรุุงแหล่่งท่อ่ งเที่่�ยว โครงการ โครงการปรับปรุงอปุ กรณส์ ่อื สารขอ้ มลู แหล่งท่องเท่ียว ๓ล�ำดบั ความส�ำคญั หนว่ ยงานรับผิดชอบ ๘.๑.๑ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ๑๕.๒ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่่� ๑๑-๑๕) ๑๕.๒ ล้า้ นบาท ล้้านบาท ดำำ�เนินิ การติิดตั้้ง� ป้า้ ยข้อ้ มููลแหล่่งท่่องเที่ย�่ วที่่�สื่�อสารถึึงประวััติศิ าสตร์์ความเป็็นมา ความสำำ�คัญั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง เอกลักั ษณ์ร์ วมถึึงความเชื่�อมโยงทางประวัตั ิศิ าสตร์ก์ ับั แหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย�่ วอื่�นของกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ใ์ น บริเิ วณแหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย่� วที่่�มีีความสำำ�คัญั ในระดับั สูงู (แหล่ง่ มรดกที่่�มีีความสำำ�คัญั ลำำ�ดับั ๑-๓) โดย เฉพาะแหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย�่ วที่่�สำำ�คัญั ในพื้้น� ที่่�ต่า่ งๆ โครงการ โครงการพฒั นาแหลง่ ข้อมลู วิถชี มุ ชน ๒ล�ำดบั ความสำ� คัญ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ ๘.๑.๒ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่�่ ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่่� ๑๑-๑๕) ๑๒๖ ล้้านบาท ๑๒๖ ล้้านบาท หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง ดำำ�เนิินการพััฒนาศููนย์์ข้้อมููลรวมถึึงสถานที่�่ นำำ�เสนอข้้อมููลวิิถีีชุุมชนในชุุมชนที่�่ มีีความพร้้อม พัฒั นาไปสู่�การเป็็นแหล่่งท่อ่ งเที่ย่� วชุุมชน การพััฒนาศูนู ย์ข์ ้อ้ มูลู วิถิ ีีชุมุ ชนสามารถเป็็นได้้ทั้้�งการ พัฒั นาอาคารหรือื พื้้น� ที่่�ที่�่ มีีอยู่�เดิมิ ในชุมุ ชน รวมถึึงการพัฒั นาอาคารสถานที่�่ขึ้น� ใหม่เ่ พื่�อทำำ�หน้า้ ที่่� เป็น็ พิิพิธิ ภััณฑ์์หรือื ศููนย์ข์ ้อ้ มูลู การท่อ่ งเที่�ย่ วชุมุ ชนที่�แ่ สดงถึึงประวัตั ิคิ วามเป็น็ มา ความสำำ�คัญั และเอกลักั ษณ์ข์ องชุมุ ชนนั้้น� โครงการ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ ๒๘.๑.๓ โครงการจดั กิจกรรมเพอ่ื สง่ เสริมการท่องเท่ียวเชงิ วฒั นธรรม ล�ำดบั ความสำ� คญั งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่�่ ๖-๑๐) ๒,๗๙๐ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๙๓๐ ล้้านบาท ๙๓๐ ล้า้ นบาท ๙๓๐ ล้้านบาท ล้า้ นบาท ด�ำเนินการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวท่ีสอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมและบรรยากาศการท่องเท่ียว เชิงิ อนุรุ ักั ษ์ใ์ นกรุงุ รัตั นโกสินิ ทร์ ์ กิจิ กรรมการท่อ่ งเที่ย่� วสามารถเป็น็ ได้ท้ ั้้ง� การผนวกการท่อ่ งเที่ย�่ ว เข้้ากับั ประเพณีีวััฒนธรรมและเทศกาลที่�่ มีีการจััดอยู่�แล้ว้ และการจััดกิิจกรรมการท่อ่ งเที่�ย่ วขึ้�น ใหม่่ เพื่�อดึึงดูดู ให้น้ ักั ท่อ่ งเที่ย่� วเข้า้ มาเยี่ย่� มชม พำำ�นักั และจับั จ่า่ ยใช้ส้ อยในพื้้น� ที่ก่� รุงุ รัตั นโกสินิ ทร์์ โครงการ โครงการจัดระเบียบพ้นื ที่ทอ่ งเทย่ี ว ๒ล�ำดับความสำ� คญั หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ ๘.๑.๔ งบประมาณรวม ระยะที่�่ ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีีที่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีีที่�่ ๑๑-๑๕) ๖๐ ๖๐ ล้้านบาท ล้้านบาท ดำำ�เนิินการพััฒนาพื้้�นที่�่ ที่่�มีีศัักยภาพเป็็นแหล่่งท่่องเที่่�ยวให้้มีีความสวยงาม สะอาด ปลอดภััย หน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง และสะดวกสบายในระดัับสากล เพื่�อดึึงดููดให้้นัักท่่องเที่่�ยวเข้้ามาเยี่่�ยมชม พำำ�นััก และจัับจ่่าย ใช้้สอยในพื้้�นที่่�กรุุงรััตนโกสิินทร์์มากยิ่�งขึ้�น ทั้้�งนี้้� การปรัับปรุุงคุุณภาพแหล่่งท่่องเที่�่ยวมีีการ ดำำ�เนิินการทั้้�งในพื้้น� ที่่�ที่่เ� ป็็นแหล่่งท่อ่ งเที่ย�่ วอยู่�แล้ว้ และในพื้้น� ที่�่ ที่่�ต้อ้ งการส่่งเสริมิ การท่อ่ งเที่�ย่ ว ในอนาคต 92 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนงาน ๘.๒ การพัฒั นาเส้้นทางการท่่องเที่่�ยว หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ โครงการ โครงการปรบั ปรุงสถานท่แี ละอปุ กรณ์ให้ข้อมูลเสน้ ทาง ๓ลำ� ดบั ความสำ� คญั ๘.๒.๑ การท่องเทย่ี ว งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีีที่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีีที่่� ๑๑-๑๕) ๑๕.๒ ล้า้ นบาท ๑๕ ล้้านบาท ๕ ล้า้ นบาท หน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ดำำ�เนิินการติิดตั้้�งจุุดให้้ข้้อมููลการท่่องเที่�่ยวและป้้ายข้้อมููลเส้้นทางท่่องเที่�่ยวที่่�ระบุุถึึงตำำ�แหน่่ง ปัจั จุบุ ััน เส้น้ ทาง และทิิศทางการเดิินทางไปสู่�แหล่ง่ ท่่องเที่�ย่ วในบริิเวณใกล้เ้ คีียง โดยจุดุ ติดิ ตั้้�ง เป็็นจุุดที่่�สำำ�คััญบนเส้้นทางท่่องเที่�่ยวทั้้�ง ๗ เส้้นทาง เช่่น บริิเวณจุุดเปลี่่�ยนถ่่ายการสััญจร บริเิ วณทางแยก บริิเวณใกล้ส้ ถานที่�่ ท่่องเที่่ย� ว เป็น็ ต้น้ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ โครงการ โครงการพฒั นาแผนทีแ่ ละระบบออนไลนเ์ พ่ือใหข้ ้อมลู ๒ลำ� ดบั ความสำ� คญั ๘.๒.๒ การทอ่ งเที่ยว งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่�่ ๖-๑๐) ระยะที่�่ ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๖๐ ๖๐ ล้า้ นบาท ล้้านบาท หนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง ดำำ�เนินิ การจััดทำำ�แผนที่่�และระบบออนไลน์เ์ พื่�อประชาสััมพัันธ์์ ให้้ข้อ้ มูลู แหล่่งท่อ่ งเที่�ย่ วและเส้้น ทางท่่องเที่�่ยว ตลอดจนที่่�พัักในกรุุงรััตนโกสิินทร์์และพื้้�นที่�่ ต่่อเนื่�องเพื่�ออำำ�นวยความสะดวกแก่่ นัักท่่องเที่�ย่ วแผนที่่�แสดงเส้้นทางท่่องเที่ย่� วสามารถใช้้เผยแพร่ท่ ั้้ง� รูปู แบบเอกสารแจกตามจุุดให้้ ข้อ้ มูลู นักั ท่อ่ งเที่ย่� วและเผยแพร่ใ่ นรูปู แบบข้อ้ มูลู ดิจิ ิทิ ัลั ผ่า่ นระบบออนไลน์์ ในขณะเดีียวกันั ควรมีี การจััดทำำ�เว็็บไซต์์ และโปรแกรมประยุุกต์์ (Application) ที่�่แสดงข้้อมููลเส้้นทาง และแหล่่ง ท่่องเที่ย่� วในพื้้น� ที่เ�่ พื่�อให้น้ ักั ท่อ่ งเที่ย�่ วสามารถใช้ป้ ระโยชน์อ์ ุปุ กรณ์โ์ ทรคมนาคมสารสนเทศในการ เดินิ ทางได้อ้ ย่า่ งสะดวก ทั้้ง� นี้้� แผนที่แ�่ ละระบบออนไลน์ท์ ี่่�จัดั ทำำ�ขึ้้น� ควรมีีเนื้้อ� หาและการออกแบบ ที่ส�่ อดคล้อ้ งกับั สถานที่แ่� ละอุปุ กรณ์ใ์ ห้ข้ ้อ้ มูลู เส้น้ ทางการท่อ่ งเที่ย่� วที่่�ติดิ ตั้้ง� อยู่�ในพื้้น� ที่่� แผนงาน ๘.๓ การพััฒนาแหล่่งที่่�พัักนักั ท่่องเที่่�ยวให้้ได้้มาตรฐาน หน่วยงานรบั ผิดชอบ โครงการ โครงการสง่ เสรมิ การพัฒนาแหลง่ ทีพ่ กั นักทอ่ งเท่ียว ๓ลำ� ดบั ความสำ� คญั ๘.๓.๑ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน งบประมาณรวม ระยะที่่� ๑ (ปีที ี่่� ๑-๕) ระยะที่่� ๒ (ปีที ี่่� ๖-๑๐) ระยะที่่� ๓ (ปีที ี่�่ ๑๑-๑๕) ๕๐ ๕๐ ล้า้ นบาท ล้า้ นบาท หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ส่ง่ เสริมิ ให้เ้ กิดิ การปรับั ปรุงุ และดัดั แปลงอาคารรูปู แบบต่า่ ง ๆ ที่�่ มีีอยู่�ในชุมุ ชน รวมถึึงพัฒั นาอาคาร ให้้เป็น็ ที่่�พัักที่่�ได้ม้ าตรฐานสำำ�หรับั นักั ท่่องเที่ย�่ ว โดยการให้้คำำ�แนะนำำ�รวมถึึงให้้การช่่วยเหลือื เชิงิ เทคนิคิ ในการวางแผนและออกแบบ และสนับั สนุนุ งบประมาณบางส่ว่ นในการปรับั ปรุงุ และก่อ่ สร้า้ ง อาคารในพื้้�นที่�่ ต่่าง ๆ ที่�่ มีีทำำ�เลเหมาะสมหรืืออยู่�ในชุุมชนที่�่ มีีความพร้้อม ให้้สามารถให้้บริิการ เป็็นที่่�พัักนักั ท่่องเที่ย�่ วที่่�มีีความปลอดภัยั สะอาด และสะดวกสบายตามมาตรฐานสากล แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 93

94 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

ภาคผนวก ๑ ระเบียี บสำ�ำ นัักนายกรััฐมนตรีี ว่่าด้้วยการอนุุรักั ษ์์และการพัฒั นา กรุุงรัตั นโกสิินทร์์และเมืืองเก่า่ พ.ศ. ๒๕๖๔ แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 95

96 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์

แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 97

98 แผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์