Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

dao

Published by ruttikon3548, 2017-07-26 04:15:10

Description: dao

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอม บทที่ 1 โครงสรางอะตอม Atomic Structureแนวคิดในการพัฒนาแบบจําลองอะตอม จากการศกึ ษาปฏกิ ิรยิ าเคมีพบวา บางปฏิกริ ยิ าเกดิ งาย บางปฏิกิรยิ าเกิดยาก เพราะฉะนั้นปฏิกริ ยิ าเคมที เ่ี กดิ ขนึ้ นาจะเกย่ี วขอ งกับโครงสรางภายในของสาร (Democritus) ประมาณ 500 ปกอ นคริสตศักราช นกั ปราชญช าวกรีกชื่อ ดิโมเครตสุ (Democritus) และลาซิปปสุ(Leucippus) เชอ่ื วา เมื่อยอยสารลงเรอื่ ยๆจะไดสว นทเ่ี ล็กทส่ี ุดซงึ่ ไมส ามารถทาํ ใหเ ล็กลงกวา เดิมไดอกี และเรยี กอนุภาคท่เี ล็กทสี่ ุดวา “อะตอม” (atom มาจากภาษากรกี คําวา atomos แปลวาแบง แยกอกี ไมได) และสง่ิท่เี ล็กทีส่ ุดน้ขี องแตละธาตตุ า งกันจงึ ทําใหส มบตั ิตางๆของแตล ะธาตุแตกตา งกนั ไปดวย แตค วามเชอ่ื น้ไี มไ ดรับการยอมรับจากนกั ปราชญท่ีมชี อ่ื เสียงในสมยั นน้ั (Plato และ Aristotle) แบบจําลองอะตอมเปนมโนภาพทีน่ กั วิทยาศาสตรสรางขน้ึ โดยอาศยั ขอ มูลท่ไี ดจากการทดลอง เพ่อือธิบายสมมติฐานที่ต้ังขึน้ แบบจําลองอะตอมท่สี รางขึ้นมานั้นสามารถปรับปรุงและพัฒนาเม่อื พบขอมลู ใหมทีแ่ บบจําลองเดิมไมสามารถอธิบายไดแบบจาํ ลองอะตอมของดอลตัน ในป ค.ศ. 1808 John Dalton ครสู อนวิทยาศาสตรศาสตร คณติ ศาสตร และนักปรัชญา ชาวอังกฤษไดเสนอแนวคิดเก่ียวกับอะตอมท่ีเรยี กวา ทฤษฎีอะตอม มีใจความสาํ คญั วา 1. สสารทุกชนดิ ประกอบดวยอนุภาคทเ่ี ล็กท่สี ดุ ซึ่งไมสามารถแบงแยกตอไปไดอกี เรียกวา atom 2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน ยอมมสี มบัตเิ หมอื นกันทุกประการ(เชนมมี วลเทากนั ) และมสี มบัติ แตกตา งจากอะตอมของธาตุอนื่สาขาวิชาเคมี -1- โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เร่อื ง โครงสรางอะตอม 3. ไมส ามารถทาํ ใหอ ะตอมสญู หายหรอื เกิดใหมไ ด (กฎทรงมวล Law of conservation mass) 4. สารประกอบเกิดจากการรวมตวั ทางเคมีระหวางอะตอมของธาตตุ ัง้ แตสองชนิดข้นึ ไป และ จํานวนอะตอมของธาตุทีร่ วมตัวกันจะเปนอตั ราสวนตัวเลขลงตัวนอยๆ(กฎสดั สวนคงท่ี Law of multipleproperties) Dalton เสนอมโนภาพของแบบจําลองอะตอมวา อะตอมมีลกั ษณะทรงกลมตัน มขี นาดเลก็ มาก และไมสามารถแบงแยกไดอ กี เม่ือนกั วิทยาศาสตรไดทาํ การทดลองคนควาไดขอมูลเก่ยี วกับอะตอม มากข้นึ พบวา แบบจําลองของ Dalton ไมส ามารถอธบิ ายได เชน 1. ทาํ ไมอะตอมของธาตุตางกันจงึ มมี วลตางกนั 2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันอาจมสี มบตั ิตางกนั ได (เชน ไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป 1H, 2H และ 3 H เปนธาตุชนิด เดียวกัน แตมมี วลตางกัน) 3. ทาํ ไมธาตจุ งึ มีความวอ งไวในการเกดิ ปฏกิ ิริยาตางกนั 4. ทาํ ไมธาตุหนง่ึ ๆทําปฏกิ ิรยิ าไดเ ฉพาะบางธาตุ 5. อะตอมทาํ ใหเกิดขนึ้ ใหมห รอื เปลี่ยนไปเปนอะตอมของธาตุอืน่ ได หรือสามารถสงั เคราะหอ ะตอม ของธาตุใหมไดโดยอาศยั ปฏกิ ิรยิ านวิ เคลยี รดว ยสาเหตุดงั กลา วจึงทาํ ใหม ผี ูศกึ ษาคนควาแบบจาํ ลองอะตอมใหมเ พอ่ื อธบิ ายสง่ิ ท่เี กิดข้นึอเิ ล็กตรอน ในป 1890 นักวิทยาศาสตรพ ยายามทจ่ี ะศกึ ษา Radiation เชนการปลดปลอยคลืน่ แสง การเรอื งแสงการเคลื่อนที่ของแสงในอวกาศ ซง่ึ งานวจิ ยั เหลา นที้ าํ ใหเ รามคี วามเขา ใจเก่ยี วกับโครงสรา งอะตอมไดม ากข้นึเชน การถายโอนของประจุ บวกและลบ แมเหลก็ ไฟฟา ฟารองฟาผา ซง่ึ ปรากฏการณห นึง่ ของการนาํ ไฟฟาของอากาศหลอดรังสีแคโทดของ William Crookes จากปรากฎการณธรรมชาติทแี่ สดงใหเ หน็ วา gas นาํ ไฟฟา ไดคือ ปรากฎการณฟ ารอง ฟาผา นกั วทิ ยาศาสตรจ ึงไดท ําการทดลองเพอ่ื อธบิ ายการนําไฟฟาของ gas พบวา ท่ีความดนั 1 บรรยากาศ(1 atm) อากาศจะไมนาํ ไฟฟา แตถ า ลดความดนั ลง และเพมิ่ ความตา งศักยร ะหวางขัว้ มากๆ gas จะนาํ ไฟฟาไดดี William Crookesสาขาวชิ าเคมี -2- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอม William Crookes ไดป ระดิษฐอปุ กรณเพื่อจําลองปรากฎการณฟ ารอง ฟาผา ประกอบดวยหลอดแกวท่บี รรจุ gas ความดันตาํ่ มขี ั้วไฟฟาเปน แผน โลหะ(Electrode) 2 ข้ัว ตอเขากบั เครอ่ื งกําเนิดไฟฟาทม่ี คี วามตางศกั ยสงู (10,000 -20,000 volte) แผนโลหะดานไฟฟา ลบเรียกวา ข้วั cathode แผนโลหะดานไฟฟา บวกเรยี กวา ขั้ว anode และยงั ไดวางฉากเรืองแสง (ZnS ซิงคซลั ไฟด) ขนานไปตามยาวหลอด ดังรปู หลอดรังสีแคโทดของ William Crookesจากผลการทดลองของ Crookes พบวา1. ที่ความดัน 1 บรรยายกาศ ไมเ หน็ การเปลยี่ นแปลงใดๆ2. เมอ่ื ลดความดนั ลง gas ภายในหลอดแกวจะเรอื งแสง3. เมอื่ ลดความดันลงมากๆ บริเวณ anode จะเรืองแสงมาก4. เมื่อนาํ กังหนั หมุนไดไ ปไวระหวางขั้ว anode และ cathode ใบพัดจะหมุนได5. เมื่อนําฉากเรอื งแสง ZnS ไวระหวางขัว้ anode และ cathode ฉากดานท่ีหนั ไปทางขว้ั cathode เรืองแสงและเกดิ เงาสาขาวิชาเคมี หลอดรังสแี คโทดของ William Crookes ดดั แปลงใสก ังหนั ไวด านใน -3- โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรือ่ ง โครงสรา งอะตอม หลอดรังสแี คโทดของ William Crookes ดดั แปลงใสฉากก้นั เพอื่ แสดงการเกิดเงา เพราะฉะนน้ั จึงสามารถกลาวไดว ามีรังสีชนดิ หนึง่ พงุ ออกมาจากข้วั cathode เปน เสนตรงมายงั ขว้ัanode เรยี กรงั สีนว้ี า Cathode ray Cathode ray ประกอบดว ยอนุภาคไฟฟาท่มี ีประจลุ บและมีมวลเพราะสามารถทําใหใบพัดของกงั หันหมนุ ไดแบบจาํ ลองอะตอมของทอมสัน Sir Joseph John Thomson นักวทิ ยาศาสตรช าวองั กฤษไดร วบรวมนาํ การศึกษาดานตางของท่ีมีผสู นใจคน ควาในสาขาตา งๆ มารวมกันเปน แบบจําลองอะตอมใหม เพอ่ื อธิบายปรากฎการณทแ่ี บบจาํ ลองอะตอมของดอลตนั ไมส ามารถอธบิ ายได การทดลองท่สี าํ คญั คอื 1. หลอดรงั สแี คโทดของ William Crookes 2. หลอดรังสีแคโทดของ Sir Joseph Jhon Thomson 3. การหาคาประจุของอิเลก็ ตรอนโดยวธิ ีเมด็ น้าํ มัน ของ Robert Andrews Millikan 4. หลอดรังสแี คโทดของ Eugen Goldstrin หลอดรังสีแคโทดของ Sir Joseph John Thomson ค.ศ. 1897 (พ.ศ. 2440) Sir Joseph Jhon Thomson นกั วิทยาศาสตรช าวอังกฤษ ไดดดั แปลงหลอด รังสแี คโทด Sir Joseph John Thomsonสาขาวชิ าเคมี -4- โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรื่อง โครงสรา งอะตอม หลอดรังสีแคโทดของ Thomson ดัดแปลงมาจาก William Crookes เดิม พบวา เมื่อลดความดนั ลงจนเกือบเปน สญู ญากาศ จะมจี ุดสวา งบนฉากเรอื งแสง Thomson จึงต้งัสมมุติฐานวา รังสี cathode เปนอนภุ าคทม่ี ปี ระจุ ดงั นนั้ อนุภาคควรจะเบยี่ งเบนในสนามแมเหล็ก และสนามไฟฟา เมอ่ื นําสนามไฟฟา ภายนอก มาลอ จุดสวางบนฉากเรอื งแสงจะ เบย่ี งเบนเขาหาขัว้ บวกเสมอ เพราะฉะนั้น Thomson จึงสรปุ วา รังสี Cathode ประกอบดวยอนุภาคลบท่ี เคล่ือนท่ีออกจากขั้ว cathode ใน ลักษณะรงั สีหลอดรังสีแคโทดของ Thomson ดดั แปลงตอ ขว้ั ไฟฟาไวThomson ไดทาํ การทดลองตอ โดย 1. เปลี่ยน gas ภายในหลอดรังสี cathode โดยโลหะที่ทาํ ข้วั ยังคงเดิม พบวาไดผ ลการทดลอง เชน เดิม 2. เปลยี่ นโลหะทีใ่ ชท ําขั้ว เปนโลหะชนดิ ตางๆ แตใ ช gas ชนดิ เดมิ พบวา ไดผ ลการทดลอง เชน เดิม สรุปไดว า ไมว าจะบรรจุ gas ชนดิ ใด หรอื ใชโลหะชนิดใดมาทําข้วั หลอดรงั สี cathode จะใหร งั สีcathode ทีเ่ ปนอนภุ าคลบเหมือนกนัสาขาวชิ าเคมี -5- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอื่ ง โครงสรางอะตอม Thomson ไดท ําการทดลองตอ โดยนําหลอดรงั สี cathode วางไวใ นสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาท่ตี ้งั ฉากกนั ดงั รูป หลอดรังสีแคโทดของ Thomson ดดั แปลงเพือ่ ใชท ําการทดลองหาคาประจตุ อมวล จากน้ันคอ ยๆเพิม่ อํานาจสนามแมเหลก็ จนรงั สี cathode ไมมกี ารเบยี่ งเบน แสดงวาขณะน้นั ความแรงของสนามไฟฟามคี าเทา กับความแรงสนามแมเ หล็ก Thomson อาศัยคา ความแรงของสนามแมเ หล็กและความแรงของสนามแมเ หลก็ ท่ีกระทําตออนภุ าคลบในรงั สี cathode หาอตั ราสว นประจุตอมวล (e / m)ของอนุภาค ได e / m = 1.759 x 108 คลู อมบตอกรัม Thomson จงึ สรปุ วา อนุภาคไฟฟา ทม่ี ีประจลุ บเปน องคประกอบของอะตอมของธาตทุ ุกชนดิ และเรียกช่อื อนุภาคน้ีวา Electron จากการทดลองของ Thomson จึงคานแบบจําลองอะตอมของ Dalton “อะตอมไมใ ชสงิ่ ทเี่ ลก็ ท่ีสุด แตประกอบดวย electron และอนุภาคอืน่ ”การหาคา ประจุของอิเล็กตรอนโดยวิธเี มด็ น้าํ มัน ของ Robert Andrews Millikan ในป ค.ศ. 1909 (พ.ศ. 2452) Robert Andrews Millikan นักวิทยาศาสตร ชาวอเมริกัน ไดทดลองหาคาประจขุ องอิเลก็ ตรอนโดยวิธีเมด็ นาํ้ มนั (Oil-drop experiment)สาขาวิชาเคมี -6- โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เร่อื ง โครงสรา งอะตอม การทดลอง หาคาประจุของอเิ ล็กตรอนโดยวธิ ีเมด็ นา้ํ มนัเมื่อพนละอองเม็ดน้าํ มันเขาไป หยดนาํ้ มนั จะเคล่อื นท่ีจากบนลงลางตามแรงดงึ ดูดของโลก แตเ ม่ือฉาย X-ray จะทําใหอ ากาศภายในแตกตวั เปนอนภุ าคบวกและลบ ไปเกาะบนหยดนาํ้ มนั ทําใหหยดนํ้ามนัเกดิ ประจุ (ในการทดลองนีจ้ ะศึกษาเฉพาะหยดนาํ้ มันทมี่ ปี ระจลุ บเทานนั้ ) ดงั นน้ั เมื่อใสส นามไฟฟาเขาไปหยดน้ํามันท่ีมีประจุลบเกาะอยจู ะเคลื่อนท่ีลงมาชาลง เพราะข้วั บวกที่อยูดานบนดึงดูดเอาไว จากน้ันปรบัสนามไฟฟาจนกระทั่งแรงดึงดดู จากสนามไฟฟา (ดานบน) กบั แรงดงึ ดดู ของโลกมีคาเทา กนั หยดน้าํ มนั จะลอยน่งิ นน่ั คอืจากสมการ F1 = mg (1)เมอ่ื ถา m = มวลของหยดนํ้ามนั g = แรงดงึ ดูดของโลก F1 = แรงดงึ ดูดของโลกที่กระทําตอหยดนาํ้ มันและจากสมการ F2 = Eq (2)เมื่อ q = ประจบุ นหยดน้าํ มัน E = สนามไฟฟา F2 = แรงทส่ี นามไฟฟา กระทาํ ตอ ประจบุ นหยดนํา้ มันเมือ่ หยดน้ํามนั ลอยนิง่ สมการท่ี 1 = สมการท่ี 2 F1 = F2 mg = Eq q = (mg) / Eคา m และ E หาไดจ ากเครอื่ งมือที่ใช Millikan พบวา ประจบุ นเม็ดน้าํ มนั มีคา เปนเลขจาํ นวนเตม็ คณู ดวย 1.602 x 10-19 คูลอมบ (coulomb) Millikan จงึ นับคาประจไุ ฟฟา ของเมด็ น้าํ มนั ท่ีนอยสุดวา มคี า= 1 x 1.602x10-19 คูลอมบว า เปน ประจุของเมด็ น้ํามนั เมื่อมีอิเล็กตรอน 1 ตวัเพราะฉะนั้น ประจขุ องอเิ ลก็ ตรอนมคี า = 1.602 x 10-19 coulombสาขาวิชาเคมี -7- โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอมการหาคา มวลของอเิ ลก็ ตรอนเมอื่ ทราบคาประจุไฟฟา ของอิเล็กตรอน ก็สามารถนํามาแทนคา ในสมการของ Thomson e / m = 1.759 x 108 coulomb / gสมการของ Thomson = 1.602 x 10-19 coulombแทนคา e จาก Millikan e 9.11 x 10-28 gจะไดมวลของ electron m=หลอดรังสีแคโทดของ Eugen Goldstein (การคน พบ Proton ) การทอี่ ะตอมทกุ ชนดิ มี electron เปน องคป ระกอบ แตอ ะตอมมคี ณุ สมบตั เิ ปน กลางทางไฟฟา ทาํ ใหนกั วิทยาศาสตรเชอื่ วาจะตอ งมีอนุภาคทีม่ ีประจุไฟฟาเปน บวกเปน องคประกอบ ในป ค.ศ. 1889 (พ.ศ.2429) Eugen Goldstrin นกั ฟส ิกสชาวเยอรมัน ไดดดั แปลงหลอดรังสี cathode ดังรูป หลอดรังสแี คโทดของ Eugen Goldstrin โดยเลอ่ื น cathode และ anode ทเ่ี จาะรูมาไวเ กือบตรงกลาง และมฉี ากเรอื งแสงอยูท่ปี ลายท้งั สองขาง เม่ือผานกระแสไฟฟาศกั ยส งู เขา ไป ปรากฎวา มีแสงสวางเกิดข้นึ บนฉากเรอื งแสงทง้ั สอง ตรงกับตาํ แหนงที่เจาะรไู ว แสดงวา มรี ังสจี ากข้วั anode ไปขว้ั cathode ผา นรูตรงกลางท่ีเจาะไวไปกระทบกับฉากเรืองแสง รงั สีนีจ้ ะเกดิ ขนึ้ พรอ มๆกับ cathode ray เรียกรังสที ี่พบใหมว า positive ray หรอื anode ray หรือcanal ray เมอื่ ทดลองหลายครั้งโดยเปล่ยี นชนิดของ gas ในหลอด พบวาอนภุ าคท่ีมีประจบุ วกเหลานม้ี ีอัตราสว นประจตุ อ มวลไมค งที่ และจะขนึ้ อยกู ับชนิดของ gas ท่ีบรรจใุ นหลอด แตถาใช gas ชนิดเดิมแลวเปลยี่ นชนดิ ขว้ั โลหะท่ที าํ anode พบวา อัตราสวนประจุตอมวลมีคาคงเดมิ Goldstien ไดสรุปผลการทดลองวา อัตราสว นประจุตอมวลข้นึ อยูกบั ชนิดของ gas (gas ตา งชนดิกนั จะมมี วลตา งกนั ) เมื่อใช Hydrogen gas จะไดอ นุภาคบวก (H+(g)) มคี า ประจุตอมวลมากทสี่ ดุ โดยทอี่ นุภาคบวกนีม้ ีคา ประจเุ ทา กับ electron (ทาํ ใหม วลของอนุภาคบวกดงั กลาวมีคาตํา่ สุด) จึงเรียกอนุภาคบวกหรอื ไอออนบวกจาก Hydrogen gas วา Proton ซึง่ มาจากภาษากรกี วา Proteinos ซ่ึงมคี วามหมายวา เปน ส่งิ สาํ คญั ส่ิงแรก (first importance)สาขาวชิ าเคมี -8- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรือ่ ง โครงสรา งอะตอมคําถามใหนกั เรยี นเปรยี บเทยี บความแตกตางระหวา ง cathode ray กับ Positive ray Cathode ray Positive ray การเกดิ ชนดิ ของประจุ ทศิ ทางการเบย่ี งเบนในสนามแมเหลก็คา e / m เมอ่ื เปลีย่ นชนิด gas Thomson เสนอแบบจาํ ลองอะตอมวา อะตอมมี แบบจาํ ลองอะตอมของ Thomsonลักษณะเปน ทรงกลม ประกอบดวยอนุภาคโปรตอนท่มี ีประจุบวกและอเิ ล็กตรอนทมี่ ีประจุลบกระจายอยทู ั่วไปอยางสมํา่ เสมอ อะตอมในสภาวะเปน กลางจะมีประจบุ วกเทา กับประจุลบ นอกจากน้ยี ังหาคา e /m ของ hydrogen gas หรือproton ไดเทา กับ 9.58 x 104 coulomb/ g แทนคา e =1.6 x 10-19 จะไดค ามวลของ proton = 1.66 x 10-24 g เมื่อเปรยี บเทียบมวลของproton กับมวลของ electron พบวามวลของ protonจะมคี ามากกวามวลของ electron ประมาณ1800 เทาแบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด หลังจากนักวทิ ยาศาสตรช าวฝรัง่ เศส Henri Becquerel ไดพบสารกัมมนั ตรังสี และเรนิ ตเ กน (W.K.Rontgen) คน พบ X-ray Lord Ernest Ruthetford นกั วทิ ยาศาสตรช าวนวิ ซีแลนดไ ดทาํ การการศกึ ษาธรรมชาตขิ องรังสที ่ีเกิดจากสารกัมมันตรังสี พบวา มี 3 ชนิด คือ 1. รังสี เอลฟา ( α-ray) ประกอบดว ยอนุภาคทม่ี ีประจไุ ฟฟาเปน บวก (+2) เปนนวิ เคลียสของอะตอมของธาตฮุ เี ลียม คือประกอบดวย Proton 2 ตวั และ Neutron 2 ตัว ( 4 He ) อํานาจผา นทะลุวัตถุได 2นอ ยมาก ถกู ก้นั โดยกระดาษเพียงแผนเดียวหรอื สองแผน 2. รงั สีเบตา (β-ray) ประกอบดว ยอิเล็กตรอนทม่ี ีพลงั งานสูง มอี าํ นาจการผา นทะลุสูงกวารังสีเเอลฟา ถกู กน้ั โดยใชแผนโลหะบางๆ 3. รังสีแกมมา (γ-ray) แสดงสมบัติเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาท่มี ีความยาวคล่ืนสนั้ มากคลา ย X-rayรังสแี กมมาไมมีมวลไมม ปี ระจุ มีอาํ นาจผา นทะลสุ งู ถกู ก้ันไดโ ดยแผน ตะกั่วหนาสาขาวิชาเคมี -9- โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่อื ง โครงสรา งอะตอม กมั มันตรังสี ทีพ่ บท้งั 3 ชนิด ค.ศ. 1911(พ.ศ. 2454) Lord Ernest Ruthertford และ ฮันส ไกเกอร (Hans Geiger) และเออรเ นสต มารส เดน (Ernest Marsden) รวมกันทดลอง เก่ียวกับทศิ ทางของการเคลอ่ื นทข่ี องอนุภาคแอลฟาท่ีประเทศอังกฤษ ในการ ทดลอง Rutherford ไดใ ชอ นภุ าคแอลฟายิงไปยังแผน โลหะทองคําบางๆ และใช ฉากเรอื งแสง ZnS เปน ฉากรับ ดังรูป แผนภาพแสดงการทดลองการยงิ อนภุ าคแอลฟาไปยงั แผน ทองคํา จากผลการทดลอง การตรวจสอบทิศทางของอนุภาคแอลฟา จะใชฉากเรืองแสงทีท่ ําดว ยซิงคซ ลั ไฟด เมอ่ื อนุภาคแอลฟากระทบกบั ฉากจะปรากฏแสงสวา งแวบข้ึน จากการทดลองพบวา อนุภาคแอลฟาสวนมากจะวงิ่ ผานแผนทองคาํ ไปกระทบฉากเรืองแสงที่จุด A และมอี นภุ าคแอลฟาจาํ นวนหน่งึ เบนออกจากเสนตรงทาํ ใหเกดิการเรอื งแสงทีจ่ ดุ B และ Cสาขาวชิ าเคมี -10- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอื่ ง โครงสรา งอะตอม จากการทดลองของ Rutherford ไมส ามารถใชแบบจําลองของ Thomson อธิบายได เพราะตามแบบจําลองอะตอมของ Thomson อะตอมของแผน ทองคาํ จะมี Proton และ electron กระจายอยทู ่วั ทัง้อะตอม ถา แบบจาํ ลองอะตอมของ Thomson ถกู ตอ ง เมือ่ ยิงอนุภาคแอลฟาท่มี ปี ระจุบวกเขา ไปในแผนทองคาํ อนุภาคของแอลฟาจะทะลุผานแผนทองคําและเกดิ การเรอื งแสงทจ่ี ุด A เทานัน้ และตอ งไมเกิดการเรืองแสงทจี่ ดุ B และ C แตจากผลการทดลองของ Rutherford ปรากฎวาอนุภาคแอลฟาสว นใหญวิง่ ผานแผนทองคําเปนเสนตรง และมีสว นท่เี บี่ยงเบนออก และบางสวนสะทอ นกลบั แสดงวาแบบจาํ ลองของ Thomson ไมสอดคลองกับผลการทดลอง Rutherford อธิบายผลการทดลองดงั น้ี 1. การท่อี นภุ าคแอลฟาสวนใหญว ง่ิ ผานแผนทองคาํ เปน เสนตรงแสดงวา อะตอมไมใชข องแข็งทบึ ตนั แตภายในอะตอมมที วี่ า งอยมู าก (ผลการทดลอง จุด A เปนจดุ ท่ีรงั สีแอลฟาผา นชองวา งใน อะตอมไปยังฉากมาก จดุ นเ้ี รืองแสงมาก แสดงวาอะตอมมีชอ งวางมาก) 2. อนุภาคแอลฟาบางอนภุ าคท่หี ักเหออกจากทางเดมิ เพราะภายในอะตอมมีอนุภาคที่มมี วลมากและ มปี ระจุเปนบวกสูง มขี นาดเลก็ ดงั น้นั เมือ่ อนภุ าคแอลฟาเขาใกลอนุภาคนจ้ี ะถูกผลกั ใหเ บนออก จากทางเดิม หรือเมอ่ื นุภาคแอลฟากระทบโดยตรงก็เกดิ การสะทอ นกลับ (เกิดการเรืองแสงท่ีจดุ B และ C ) ดงั นนั้ เพื่ออธิบายผลการทดลอง Rutherford จงึ เสนอแบบจาํ ลองอะตอมข้นึ มาใหมดงั น้ี อะตอมประกอบดว ยโปรตอนซ่งึ รวมตัวเปนนวิ เคลียสอยตู รงกลาง นิวเคลียสมขี นาดเล็กมากแตม ีมวลมากและมีประจุบวก สว น electron ท่มี ีประจลุ บและมมี วลนอ ยมากวิง่ อยูรอบๆนวิ เคลยี สเปนบรเิ วณกวา ง แบบจาํ ลองอะตอมของ Rutherfordสาขาวิชาเคมี -11- โรงเรียนมหิดลวิทยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอื่ ง โครงสรา งอะตอม การอธบิ ายการทดลองโดยใชแบบจาํ ลองอะตอมของ thomsonอนภุ าคมลู ฐานของ atom จากการศกึ ษาแบบจําลองอะตอมของ Rutherford ทําใหทราบวาอะตอมประกอบไปดวยอเิ ลก็ ตรอน และโปรตอน โดยอเิ ลก็ ตรอนจะวิ่งอยูรอบๆ สวนโปรตอนจะรวมกันอยูตรงกลางเรยี กวานวิ เคลยี ส และมวลของโปรตอนมีคามากกวา มวลของอเิ ล็กตรอนอยูป ระมาณ 1800 เทา จงึ สามารถกลา วไดวา มวลอะตอม = มวลของนิวเคลยี ส = มวลรวมของ proton แตจ ากการหามวลอะตอมของธาตตุ างๆพบวา มวลอะตอมของธาตยุ กเวน H มคี า มากกวา มวลของนิวเคลยี ส มากกวาเทา กบั 2 เทา ทําให Rutherford สนั นิษฐานวา ภายในนวิ เคลียสนาจะมีอนุภาคอกี ชนดิหน่ึงซึง่ มีมวลใกลเ คียงกบั Proton และเปน กลางทางไฟฟา ในปค .ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) W. Bothe และ H. Becker นักเคมีชาวเยอรมันไดทดลองใชอนุภาคแอลฟายิงแผนโลหะแบรเิ ลย่ี ม (Be) ปรากฎวา เกิดรังสีชนิดหน่ึงทีม่ อี าํ นาจทะลผุ านไดด ี และรังสนี ้เี มอื่ ชนกบั โมเลกุลของพาราฟนจะได Proton ออกมา ตอมาในป ค.ศ. 1932(พ.ศ. 2475) JamesChadwick นักวทิ ยาศาสตรองั กฤษไดเสนอวา รงั สีที่ชนแผน พาราฟนจนไดProton ออกมาแสดงวาอะตอมจะตองประกอบไปดว ยอนภุ าคมากกวาโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอน และต้งั ชอ่ื ใหอนภุ าคใหมท พ่ี บวา neutronนอกจากน้ี chadwick ยงั ไดพสิ ูจนวา อนุภาค neutron ไมมี James Chadwickสาขาวิชาเคมี -12- โรงเรยี นมหิดลวิทยานสุ รณ (องคการมหาชน)

James Chadwick เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรางอะตอม ประจุ และคํานวณไดวา neutron มีมวลใกลเคียงกับ Protonการคนพบนวิ ตรอนของแชดวิค (ก) การทดลองยิงอนภุ าคแอลฟาผา นแผนโลหะ (ข) กอ นและหลงั การยิงอะตอมเบริลเลียมดวยอนุภาคแอลฟาปฏกิ ริ ิยานวิ เคลยี รท ี่เกดิ ขน้ึ เขียนไดดงั สามการ 12C + 1n 9Be + 4Heจากการคนพบ neutron ทาํ ใหท ราบวา atom ประกอบดว ยอนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด คือ1. Electron คนพบ โดย Thomson2. Proton คนพบโดย Glodstien3. Neutron คนพบโดย Chadwickอนภุ าคทั้ง 3 ชนิดนเี้ รยี กวา อนภุ าคมลู ฐานของอะตอม ซง่ึ มสี มบัติ ดงั นี้อนุภาค สัญลักษณ มวล(กรัม) เปรียบเทยี บ ประจไุ ฟฟา ชนดิ ของประจุ มวลกับ อเิ ลก็ ตรอน (คลู อมบ) ไฟฟาอิเล็กตรอน e 9.109x10-28 1 1.602x10-19 -1 1.602x10-19 +1โปรตอน p 1.672x10-24 1836 0 -นวิ ตรอน n 1.674x10-24 1839สาขาวชิ าเคมี -13- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอ่ื ง โครงสรางอะตอมไอโซโทป คือธาตุทีม่ ีเลขอะตอมเหมือนกนั แตม ีเลขมวลตางกนั หรือธาตุท่ีมจี าํ นวน Proton เทา กัน แตม ี จาํ นวน neutron ตางกันเชน 11H (โปรเทยี ม, สญั ลักษณ H) 12H (ดิวทเี รียม, สัญลกั ษณ D) 13H (ทริเทียม, สญั ลักษณ T) H2O D2O (heavy water) T2Oการหาไอโซโทป จะใชเครื่องมือทีเ่ รียกวา Mass spectrometerสาขาวิชาเคมี แผนผังแสดงหลกั การของ เคร่อื ง Mass Spectrometer -14- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เร่ือง โครงสรา งอะตอมวธิ กี าร: เรง ไอออนบวกผา นชอ งแคบเขา ไปในสนามแมเหล็ก ทิศทางของอนุภาคจะโคง เบน การเบนไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยกู ับมวลและประจุ¾ ถาประจุเทากัน : อนุภาคท่มี มี วลเบาจะเบนไปมากกวาอนุภาคท่ีมีมวลหนกั (หาไอโซโทป)¾ ถามวลเทา กัน : อนุภาคท่ีมีประจุมากจะเบนไปมากกวาอนุภาคท่ีมปี ระจุนอ ย (หาเลขออกซิเดชัน)เลขอะตอม เลขมวล และสัญลักษณน ิวเคลียรเลขอะตอม (Atomic number) ใชสัญลักษณเปน Z หมายถึง ตวั เลขทแ่ี สดงจาํ นวนโปรตอนท่มี ีอยูในนิวเคลยี สของธาตุ อะตอมของธาตุชนิดหนึ่งๆ จะมจี ํานวนโปรตอนเฉพาะตวั ไมซ ้าํ กบั ธาตุอน่ื ๆ ธาตชุ นดิเดยี วกันจะตอ งมจี ํานวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเทากันถา อะตอมเปนกลาง จํานวนอเิ ล็กตรอนเทากบั จํานวนโปรตอน∴ เลขอะตอม = จํานวนโปรตอน = จํานวนอิเล็กตรอนแตถา อะตอม ไมเปนกลาง จาํ นวนอิเล็กตรอนจะไมเทากบั โปรตอนเชน ไอออนบวกจะมโี ปรตอนมากกวา อเิ ล็กตรอน ไอออนลบจะมโี ปรตอนนอ ยกวา อเิ ล็กตรอน∴ เลขอะตอม = จํานวนโปรตอน ≠ จาํ นวนอิเลก็ ตรอนเลขมวล (Mass number) ใชส ัญลกั ษณเปน A หมายถงึ ผลรวมของจํานวนโปรตอน และนิวตรอนในนวิ เคลียส เลขมวลไมใชเลขมวลอะตอม เลขมวลจะตอ งเปนจํานวนเต็มเสมอ แตม วลอะตอมอาจจะเปนเลขจาํ นวนเต็มหรอื ไมก็ไดสญั ลกั ษณน ิวเคลยี ร (Nuclear symbol) เปนสง่ิ ทีใ่ ชเ ขยี นแทนโครงสรางของอะตอมโดยบอกรายละเอียดเกี่ยวกับจาํ นวนอนุภาคมลู ฐานของอะตอม วธิ กี ารเขียนตามขอตกลงสากลคือเขียนเลขอะตอมไวมมุ ลา งซายและเลขมวลไวมมุ บนซายของสัญลักษณข องธาตุเขยี นเปนสตู รทวั่ ไปไดดังนี้ สญั ลักษณน ิวเคลียร = A X Z X คือ สญั ลักษณข องธาตุ ถาให n = จํานวนนวิ ตรอน จะสามารถหาความสมั พนั ธร ะหวางเลขอะตอม เลขมวล และจาํ นวนนวิ ตรอนไดด งั น้ี เลขมวล = เลขอะตอม + จํานวนนวิ ตรอน A = Z +n ดังนนั้ สัญลักษณน ิวเคลยี รจึงทําใหทราบวาธาตุดงั กลาวนั้นมอี ิเลก็ ตรอน โปรตอน และนวิ ตรอนอยางละเทา ใดสาขาวิชาเคมี -15- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอมไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร ไอโซโทป (Isotope) หมายถงึ อะตอมของธาตชุ นิดเดยี วกนั ทม่ี ีโปรตอนเทา กนั (หรืออิเลก็ ตรอนเทากนั ) แตมเี ลขมวลและจํานวนนิวตรอนตางกนั (หรอื มีมวลตา งกนั ) อะตอมของธาตุชนิดเดยี วกันจะมจี าํ นวนโปรตอนและอเิ ล็กตรอนเทากัน แตจํานวนนิวตรอนอาจจะไมเ ทากันก็ได ซ่ึงมีผลทําใหม วลตางกัน อะตอมของธาตุดังกลา วเรียกวา ไอโซโทปเชน C12 C13 6 6และ C14 เปนไอโซโทปกัน 6สญั ลกั ษณนิวเคลียร จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน จาํ นวนโปรตอน จาํ นวนนิวตรอน เลขมวล C12 6 6 6 12 6 6 6 7 13 6 6 8 14 C13 6 C14 6 จะเห็นไดค ารบอนทั้ง 3 ชนดิ มอี ิเล็กตรอนและโปรตอนเทา กนั แตม จี าํ นวนนวิ ตรอนและเลขมวลไมเทากนั จงึ เปนไอโซโทปกนั การอา นชื่อไอโซโทป ใหเรยี กชื่อธาตุ แลว ตามดวยเลขอะตอม เชน C12 อานวา คารบอน 12 6 C13 อานวา คารบอน 13 6 C14 อา นวา คารบอน 14 6 การเขยี นสัญลกั ษณนวิ เคลยี รข องไอโซโทป อาจจะเขยี นแบบยอ ไดโดยเขยี นเฉพาะ สัญลกั ษณข องธาตกุ บั เลขมวลคกู นั เชน C12 C13 C14 ไอโซโทปของธาตบางชนดิ อจจะมชี ่ือเรยี กโดยเฉพาะ เชน ธาตุไฮโดรเจน มี 3 ไอโซโทป และมชี ื่อเฉพาะดังนี้ H1 เรยี กวา โปรเตรียม ใชสัญลักษณ H แทน H1 1 1 H2 เรยี กวา ดิวทเี รียม ใชสญั ลักษณ D แทน H2 1 1 H3 เรียกวา ตรเิ ตรียม ใชส ญั ลักษณ T แทน H3 1 1 ธาตทุ ีเ่ ปนไอโซโทปกนั ถงึ แมวาจะเปน ธาตุชนิดเดียวกนั แตมวลอะตอมจะไมเทากันดวย รวมทัง้ สมบัตทิ างกายภาพแตกตา งกนั ดว ย แตสมบัติทางเคมีเกอื บเหมอื นกนั ทุกประการ ปจจบุ ันมีการใชไอโซโทป เพ่ือประโยชนในทางตา งๆ มากขน้ึ เชน - ใช C12 เปนมาตรฐานเปรียบเทียบในการหามวลอะตอมของธาตตุ างๆ - ใช 14 C บอกอายขุ องวัตถโุ บราณ และใชศกึ ษากลไกของการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี - ใช 24 Na ในการแพทยเ พอ่ื ตรวจวงจรของโลหิต - ใช 60 Co สําหรับเปน แหลงกาํ เนดิ รงั สีแกมมาเพ่อื ประโยชนท างการแพทยค อื ใช รกั ษาโรคมะเรง็ - ใช I131 สําหรับตรวจอาการผิดปกตขิ องตอมไธรอยดสาขาวชิ าเคมี -16- โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรางอะตอม ไอโซโทปสามารถเกดิ ข้ึนไดเ องตามธรรมชาติหรือเกดิ ขนึ้ จากการสังเคราะหในหองปฏิบัติการก็ไดการหาไอโซโทป ใชเคร่ืองมอื ท่ีเรยี กวา Mass Spectrometer ซ่งึ แสดงหลกั การทํางานดงั ภาพดานลา ง Mass-spectrometer (Finnigan MAT251) for measuring stable carbon (12C/13C) and oxygen (16O/18O) isotopes in carbonaceous shells. Isotope laboratory of Alfred Wegener Institute for Polar and Marine Research, Bremerhaven, Germany. The engineer is checking the magnet for deflection and separation of the isotopes. The MAT251 was controlled by an Apple II computer (right).http://en.wikipedia.org/wiki/Image:Mass-spectrometer_awi_hg.jpgสาขาวชิ าเคมี -17- โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรื่อง โครงสรางอะตอม ไอโซโทน (Isotone) หมายถงึ ธาตตุ า งชนดิ กนั ท่มี ีจาํ นวนนวิ ตรอนเทากนั แตม ีเลขมวลและเลขอะตอมไมเทา กัน เชน O18 และ F19 เปน ไอโซโทนกัน มีนิวตรอนเทา กันคอื n = 10 8 9 ธาตุ เลขมวล เลขอะตอม นิวตรอน O18 18 8 10 8 F19 19 9 10 9 จะเหน็ ไดวาเฉพาะ นวิ ตรอน เทา น้นั ทเ่ี ทา กัน แต เลขอะตอม และ เลขมวล ไมเทา กนั จึงเปนไอโซโทน ไอโซบาร (Isobar) หมายถงึ ธาตุตา งชนดิ กนั ทม่ี ีเลขมวลเทากนั แตมเี ลขอะตอมและจํานวนนวิ ตรอนไมเทากัน เชน P30 กบั Si30 มีเลขมวลเทา กันเทากบั 30 15 14 ธาตุ เลขมวล เลขอะตอม นวิ ตรอน P30 30 15 15 15 Si30 30 14 16 14 จะเห็นไดว าเฉพาะ เลขมวล เทา นัน้ ทีเ่ ทากนั แต เลขอะตอม และ นิวตรอน ไมเ ทา กัน จงึ เปน ไอโซบารสาขาวชิ าเคมี -18- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่ือง โครงสรางอะตอมแบบฝกหัด 1. จงหาจาํ นวนของอเิ ล็กตรอนทมี่ ีมวลรวม 1 กรัม2. จงหามวลของอิเลก็ ตรอนจาํ นวน 12.04 x 10 23 อเิ ลก็ ตรอน3. ถา โมเลกุลของน้ํา ประกอบดวยไฮโดรเจน 2 อะตอมและออกซเิ จน 1 อะตอม เขียนสตู รแสดงไดเปนH2O เม่อื ไฮโดรเจนคือโปรเทียม จงเขียนสตู รของนาํ้ โดยแทนอะตอมของไฮโดรเจนดว ยดิวทเิ รียมและทริเทยี ม4. จงเขยี นสญั ลักษณน วิ เคลยี รของไอโซโทปตา งๆของธาตุ X ซ่งึ มี 9 อเิ ล็กตรอน และมีนวิ ตรอน 9 ,10และ 11 ตามลาํ ดับ5. ไอโซโทปของธาตุชนดิ หนง่ึ มีประจุในนวิ เคลยี สเปน 3 เทาของประจใุ นนิวเคลยี สของไฮโดรเจนและมีเลขมวลเปน 7 เทา ของมวลไฮโดรเจน ไอโซโทปนี้จะมอี นภุ าคมลู ฐานอยางละเทาใดสาขาวิชาเคมี -19- โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่อื ง โครงสรา งอะตอมพลังงานไอออไนเซชัน (Ionization Energy) พลงั งานไอออไนเซชัน (Ionization energy; IE) หมายถงึ พลงั งานทใ่ี ชเ พือ่ ทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของธาตุในสภาวะกาซ ธาตทุ ม่ี คี าพลงั งานไอออไนเซชันตาํ่ เปนธาตุ ทีเ่ สียอิเล็กตรอนงา ย เชนโลหะ และธาตทุ มี่ คี าพลังงานไอออไนเซชนั สูงเปน ธาตุที่เสียอิเลก็ ตรอนยาก เชน อโลหะ แนวโนมของคาพลังงานไอออไนเซชนั ลาํ ดับที่ 1 ของธาตพุ จิ ารณาไดจ ากกราฟตอไปนี้ กราฟแสดงคาพลังงานไอออไนเซชนั ของธาตุตารางตัวอยา งคาพลงั งานไอออนไนเซชันลาํ ดบั ตาง ๆ ของธาตุธาตุ IE1 IE2 IE3 พลังงานไอออไนเซชัน (MJ/mol) IE8 IE9 IE10 IE4 IE5 IE6 IE7 84.086 106.4431 H 1.318 92.047 115.389 131.442 23.0762 He 2.379 5.2573 Li 0.526 7.305 11.8224 Be 0.906 1.763 14.855 21.0135 B 0.807 2.433 3.665 25.033 32.8346 C 1.093 2.359 4.627 6.229 37.838 47.2857 N 1.407 2.862 4.585 7.482 9.452 53.274 64.3688 O 1.320 3.395 5.307 7.476 10.996 13.333 71.3439 F 1.687 3.381 6.057 8.414 11.029 15.171 17.87410 Ne 2.087 3.959 6.128 9.375 12.184 15.245 20.006สาขาวิชาเคมี -20- โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรื่อง โครงสรา งอะตอมธาตุทม่ี อี เิ ลก็ ตรอน 1 ตวั คือ ธาตไุ ฮโดรเจน (H) IE = 1,318 kJ/mol H(g) H+(g) + e- ธาตไุ ฮโดรเจนมพี ลงั งานไอออไนเซชนั เทากับ 1,318 กิโลจลู ตอโมล แสดงวาเราตอ งใหพ ลงั งานแกธาตุไฮโดรเจน 1,318 กิโลจูลตอ โมล จึงจะทําใหอ ิเล็กตรอนหลุดออกมาธาตุท่มี ีอิเลก็ ตรอนมากกวา 1 ตัว เชน ธาตลุ ิเทียม(Li) Li(g) Li+(g) + e- IE1 = 520 kJ/mol Li+(g) Li2+(g) + e- IE2 = 7,394 kJ/mol Li2+(g) Li3+(g) + e- IE3 = 11,815 kJ/mol จากการสงั เกตจากคาพลังงานไอออไนเซชนั จะพบวา IE1 คอื พลงั งานที่ใหแ กอ ะตอมเพ่ือดึงอิเล็กตรอนท่อี ยูวงนอกสุด(เวเลนซอิเล็กตรอน) มีคานอ ยท่ีสุด เพราะอิเลก็ ตรอนทีอ่ ยหู างจากนวิ เคลยี สหลุดออกไดง า ย ไมตอ งใชพลงั งานมากเพราะไดร บั แรงดงึ ดูดจากนิวเคลียสนอ ย แตอ เิ ลก็ ตรอนท่ีอยใู กลน ิวเคลยี สจะถูกดึงดดู ไวเ ราตองใชพลังงานมาก เพ่อื ท่จี ะทําใหอิเล็กตรอนนั้นหลุดออกมา ดังนนั้ คา IE3 จงึ มคี ามากท่ีสดุ ธาตุในหมูเดียวกนั พลังงานไอออไนเซชนั ลดลงจากบนลงลาง เพราะระยะหางระหวา งนวิ เคลยี สกบัเวเลนซอ เิ ล็กตรอนเพิม่ ข้นึ ทําใหแรงดึงดูดระหวา งนวิ เคลียสกับเวเลนซอิเล็กตรอนลดลง อิเลก็ ตรอนจงึ หลดุจากอะตอมไดง าย เชน ธาตใุ นหมู IA พลงั งานไอออไนเซชนั Li > Na > K > Rb > Cs > Fr ธาตุในคาบเดยี วกัน พลังงานไอออไนเซชนั เพิ่มขน้ึ จากซา ยไปขวา เพราะคา ประจุนิวเคลียสสทุ ธมิ ากขน้ึ อะตอมขนาดเลก็ จึงมีแรงดงึ ดูดระหวางนิวเคลียสกับเวเลนซอเิ ล็กตรอนมากขึ้น ทําใหอิเลก็ ตรอนหลุดยาก จงึ ตอ งใชพ ลงั งานสงู ในการดงึ อเิ ลก็ ตรอนออกจากอะตอม เชน ธาตใุ นคาบที่ 2 พลังงานไอออไนเซชันLi < Be < B < C < N < O < F ถาเราสงั เกตใหด จี ะเหน็ วา มีธาตทุ ไ่ี มเ ปน ไปตามแนวโนม ดังกลาวขา งตนธาตทุ ไ่ี มเ ปนไปตามแนวโนมพลังงานไอออไนเซชนั ของธาตใุ นตารางธาตุ เชน ธาตุเบรลิ เลยี ม(Be) และธาตไุ นโตรเจน(N)เชน Be มีพลงั งานไอออไนเซชนั มากกวา B เพราะ Be มกี ารจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนแบบ filled orbital(อเิ ล็กตรอนบรรจเุ ต็มในออรบิทลั ) ซึ่งเสถยี รมากจงึ ตองใชพลงั งานมากท่จี ะดงึ อเิ ลก็ ตรอนออกจากเวเลนซออรบ ิทัลสาขาวิชาเคมี -21- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอ่ื ง โครงสรางอะตอมธาตุ การจดั เรยี งอเิ ล็กตรอน แผนภาพออรบ ิทลัBe 1s22s22p1 B 1s22s2N มีพลังงานไอออไนเซชันมากกวา O เพราะ N มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบ half-filled orbitals (อเิ ลก็ ตรอนบรรจเุ ต็มคร่งึ ในออรบ ิทัล) ซ่ึงเสถียรมากจึงตอ งใชพ ลังงานมากท่ีจะดงึ อิเลก็ ตรอนออกจากเวเลนซออรบ ิทัลธาตุ การจดั เรียงอเิ ล็กตรอน แผนภาพออรบทิ ัลN 1s22s22p3 O 1s22s22p4สรุปปจจยั ทม่ี ีผลตอแนวโนมของคา พลังงานไอออไนเซชนั ตามคาบกค็ อื เลขอะตอมหรอื จํานวนโปรตอนในนวิ เคลยี สสาขาวิชาเคมี -22- โรงเรียนมหิดลวิทยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรื่อง โครงสรางอะตอมลักษณะความเปน คล่นื ของแสงแสง หมายถงึ คลนื่ แมเ หลก็ ไฟฟาท่ปี ระกอบดว ยสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาตัง้ ฉากซึ่งกนั และกันเคลื่อนที่ไปพรอ มกนั โดยทิศทางการเคลอ่ื นท่ขี องคลนื่ ต้ังฉากกบั ทิศทางของสนามทง้ั สองภาพนค้ี ัดลอกมาจาก Nick Strobel's Astronomy Notes, http://www.astronomynotes.com/, copyright 1998-2002 by Nick Strobel. ลกั ษณะความเปนคลน่ื ของแสงระบไุ ดดวยสมบตั อิ ยา งใดอยางหนึ่งใน 3 อยาง กลา วคือความยาวคล่นื ( ): ระยะระหวา งยอดคล่นื (crest) ที่อยูตดิ กนั วดั ในหนว ยความยาว เชน เมตรความถ่คี ลื่น (f): เซนตเิ มตรความเร็วคล่ืน (V): จาํ นวนการสน่ั ไหวของคลน่ื (wave oscillatation) หรอื จํานวนลูกคลืน่ ตอ วินาทีวดั ในหนว ย cm-1(Hz) สัมพนั ธกบั ความยาวคลน่ื และความถ่ีคล่นื ดงั สมการ V = f วดั ในหนว ย เมตรตอ วินาทีสาขาวชิ าเคมี -23- โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่อื ง โครงสรางอะตอมกรณีของคลน่ื แสง v คอื ความเรว็ แสง c = 3x108 เมตรตอวนิ าที ซง่ึ เปน คาคงท่ี ดังน้ัน คลื่นแมเ หลก็ ไฟฟา ทีม่ คี วามยาวคล่ืนสนั้ จะมีความถ่คี ลน่ื สูง คลน่ื ท่มี ีความยาวคล่ืนยาวจะมคี วามถ่ตี ํา่ คล่ืนแมเ หล็กไฟฟา ทกุ ชนดิ ไมวาจะเปนคล่ืนวิทยุ ไมโครเวพ อินฟราเรด อัลตราไวโอเลต็ รงั สีเอก็ ซ รงั สีแกมมา ฯลฯ เคลือ่ นทด่ี วยความเรว็เทา กันหมด คอื ความเร็วแสง แมว า คลื่นแตละชนดิ ดงั กลา วจะมพี ลังงานไมเทา กนั สมบตั ิความเปน คลนื่ ของแสงไดรบั การยืนยนั จากการทดลองเก่ยี วกบั การสะทอน การหกั เห การเลย้ี วเบน และการแทรกสอดวามีอยูจริงและสามารถคํานวณผลลพั ธไดอ ยา งถูกตอ งลักษณะความเปน อนภุ าคของแสง แสง ประกอบดวยกลุมอนภุ าคขนาดเลก็ แตละอนภุ าคมมี วลนอยมากจนถอื วาปราศจากมวลเคลื่อนที่ดว ยความเร็วแสง อนภุ าคดังกลา วเราเรียกวา โฟตอน พลังงานของแตละโฟตอนมีคาเทากับ hเรยี กวาปริมาณ 1 ควอนตัม โดย h คอื คาคงทีข่ องพลงั ค = 6.63x10-34 J s และ คอื ความถี่คล่ืนแสง ผูทเ่ี สนอความคดิ วาแสงประกอบดว ยกลมุ กอนพลังงานทเี่ รียกวา ควอนตา เปน คนแรกคอืมักซ พลังค ในป 1900 ผทู ี่พิสูจนเ ปนคนแรกวา แสงประกอบดวยลําโฟตอน คือ อัลเบิรต ไอนส ไตน จากการตพี มิ พค ําอธบิ ายเก่ยี วกบั ปรากฏการณโ ฟโตอิเลก็ ทริก ในป 1905การแผร ังสีความรอน การแผรงั สขี องวัตถดุ าํ การแผร ังสีความรอน จดั วา เปนรูปแบบพ้ืนฐานของการแผร งั สคี ล่ืนแมเหล็กไฟฟา วตั ถุหรืออนุภาคใดๆทีม่ ีอณุ หภมู ิสงู กวา อณุ หภมู ิสัมบรู ณ (K) จะแผรังสคี วามรอนเสมอเนือ่ งจากอณุ หภูมิของวัตถทุ าํ ใหอะตอมและโมเลกุลภายในวัตถเุ กิดการส่ันและเคลือ่ นไหวชนกนั ตลอดเวลาการชนทาํ ใหโ มเลกุลเปล่ียนทิศทาง การเปลย่ี นทศิ ทางของโมเลกลุ เทยี บไดว ามคี วามเรง เกดิ ขึ้นน่นั เอง เมอื่อนภุ าคที่มีประจเุ กดิ ความเรงจะมกี ารแผรังสีขนาดตา งๆกนั ดงั นน้ั พบไดว า ปรมิ าณการแผรงั สีของวัตถใุ ดจะมคี วามสัมพนั ธโดยตรงกับอณุ หภมู ขิ องวัตถุนน้ั เราเรยี ก การแผรังสแี บบนี้วา การแผร ังสขี องวัตถดุ าํตัวอยา ง : เม่ือนํากระทะเหล็กไปอุนบนเตาประมาณ 2-3 นาที ลองย่นื มือไปใกลๆกระทะ จะรูสกึ ไดวา มีไอรอนมาสมั ผสั ท่ีมือความรอนดังกลาวเกิดจากการแผร งั สีอนิ ฟราเรด ของกระทะเหล็กน่นั เอง หากใหความรอ นกบักระทะเพิ่มข้นึ เรอ่ื ยๆ จนกระท่งั อุณหภูมิสงู พอ ในทส่ี ุดจะเหน็ กระทะรอนขึ้นจนเปล่ยี นเปนสีแดง ซึ่ง ณขณะนนั้ นอกจากแผรงั สีอินฟราเรดแลว ยงั เกิดการแผรงั สีในชว งวสิ ิเบิลอีกดว ยสาขาวชิ าเคมี -24- โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่ือง โครงสรา งอะตอมวัตถุดาํ คอื อะไร ? วตั ถดุ าํ วธิ ีการแผรงั สผี า นรูเปด ของวัตถุ วตั ถุดาํ หมายถึง วัตถอุ ดุ มคติทส่ี ามารถดูดกลนื คล่ืนแมเหล็กไฟฟาท่มี าตกกระทบไดอยา งสมบรู ณในทางทฤษฎี เราอาจจนิ ตนาการวา เปนวัตถทุ ่ีมีลักษณะทรงกลมกลวง มีทวี่ างอยภู ายในและมรี เู ปด เล็กๆ อยู1 รู อาจทําดวยวสั ดใุ ดๆ ขนาดใดๆ กไ็ ด เพราะชนดิ และขนาดของวสั ดุทใ่ี ชไ มม ผี ลกระทบตอ การแผรงั สขี องวัตถดุ ํา ภาพทางซายแสดงสเปกตรมั ของวัตถดุ ําท่ีเกิดจากการแผรังสีของวตั ถุ ณ อณุ หภูมิตา งกัน 3 คา: 5000 K, 4000 K, และ 3000 K. เห็นไดวา วตั ถทุ ม่ี อี ุณหภมู ติ ํ่ากวา จะแผร งั สีทมี่ ีความยาวคลน่ื สูงกวาเมื่อวตั ถดุ ําเกดิ สมดลุ ของอณุ หภูมจิ ะแผร ังสีความรอนออกมาเปนสเปกตรัมทีม่ ีลักษณะเฉพาะตวั ตําแหนงสงู สุดของสเปกตรมั ณ ความยาวคลื่นคา หนง่ึ จะขน้ึ กับอณุ หภมู ขิ องวัตถุดําและคา คงทีบ่ างตวั เทา นั้น รังสที ี่หลดุ เลด็ ลอดออกมาจากรเู ปด เปนรงั สีทีถ่ ูกปลอ ยจากผนงั ไมใ ชรังสีสะทอนวัตถทุ ุกชนดิในจักรวาลจะแผร งั สใี นลกั ษณะเดยี วกับวัตถดุ ําในภาพแสดงการแผร ังสคี วามรอนในชวงวิสิเบลิ หรือ ชวงใกลวสิ ิเบลิ หากตอ งการเหน็ การแผรังสคี วามรอนในชว งคล่ืนวทิ ยุ ตอ งทาํ ใหวัตถุเยน็ ลงกวาน้ีมากๆ วตั ถุทเี่ ยน็กวา 1000 K จะแผร งั สีในชวงอนิ ฟราเรดมากกวาชว งวสิ ิเบลิสาขาวิชาเคมี -25- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรือ่ ง โครงสรา งอะตอมปรากฏการณโ ฟโตอเิ ลก็ ทรกิ ปรากฏการณโ ฟโตอิเลก็ ทรกิ หมายถึง ปรากฏการณที่อิเล็กตรอนในอะตอมของสสารถกู ปลดปลอ ยออกมาเม่ือสสารดูดซับคล่นื แมเหลก็ ไฟฟา (คลื่นแสง) เชน คลน่ื อัลตราไวโอเลตคลน่ื รังสเี อกซ เปน ตนอเิ ลก็ ตรอนที่หลดุ ออกมา เรยี กวา โฟโตอิเล็กตรอนปรากฏการณน ้จี ะเกิดขน้ึ ไดก ็ตอเมื่อมีคลืน่ แสงทมี่ ีความถ่ีสูงกวา คาความถ่ขี ดี เรม่ิ ของโลหะมาตกกระทบบนผิวโลหะ โดยที่โฟตอนจะถูกดูดซับเอาไว และอเิ ล็กตรอนจะถูกปลดปลอ ยออกมาซ่ึงสังเกตไดจ ากการพบวา มีกระแสไฟฟา เกิดข้ึน หากคลนื่ ทมี่ าตกกระทบมีความถี่ต่าํกวาคา ความถีข่ ีดเรมิ่ ของโลหะ ไมว าความเขม ของคล่นื แสงจะมีคา มากเทา ใดก็ตาม จะไมท าํ ใหเกดิ โฟโตอิเล็กตรอนได เพราะพลงั งานท่ีอเิ ลก็ ตรอนไดรับไมม ากพอทจ่ี ะชนะพลังงานยดึ เหนี่ยวภายในผลกึ โลหะ(ฟงกชนั งาน) ประวตั ิอยางยอ ป ค.ศ.1902 ฟลปิ ป เลนารด ศึกษาผลกระทบของความถ่ีคลืน่ แสงตอ พลังงาน จลนข องโฟโตอิเลก็ ตรอน โดยโฟกสั ลําของรงั สแี คโทดลงบนแผน โลหะบาง ภายในหลอดท่ีเกือบเปนสญุ ญากาศเพอ่ื ปลดปลอ ยอิเล็กตรอนออกมา แผน โลหะบางนเ้ี รยี กวา แผน ปลดปลอย อเิ ล็กตรอนท้ังหมดทีเ่ กิดขน้ึ ถูกรวบรวมไว ท่ีแผน โลหะอกี แผน หนงึ่ เรียกวา แผนรวบรวม กระแสโฟโตอเิ ล็กทริกทัง้ หมด วดั ไดโ ดยใชแอมปมเิ ตอร ในการทดลอง เขาไมไดวัดคา กระแสโฟโตอเิ ล็กทรกิ โดยตรง แตใ ชว ิธีตอความตา งศกั ยไฟฟาท่ีสามารถปรบั คาไดระหวา งแผน ปลดปลอยกบั แผน รวบรวม หลังจากน้นั เขาใสความตา งศักยต อ ตา นเขาไป เพ่อื ใหแ ผน รวบรวมมศี ักยเ ปน ลบเมือ่ เทยี บกับแผนปลดปลอ ย เขาเพม่ิ คาความตา งศกั ยตอตานจนกระทงั่ พบวากระแสโฟโตอิเล็กทรกิ มคี า เปนศนู ย แลวบนั ทกึ คาความตางศักยตอ ตา นสงู สุดท่อี านได สาํ หรับปริมาณกระแสไฟฟาทีถ่ กู ปลอ ยจากผิวโลหะถกู ควบคมุ โดยปรมิ าณความเขมหรือความสวา งของคลื่นแสงสาขาวชิ าเคมี -26- โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอมผลลพั ธทไ่ี ดจากการทดลอง อเิ ลก็ ตรอนท่หี ลุดจากแผน ปลดปลอ ยจะมีพลังงานจลนคา หนง่ึ เมือ่ เคลื่อนทผ่ี า นความตา งศักยต อ ตานจะมอี นั ตรกริ ิยากับความตา งศกั ยและสญู เสียพลังงานอยางตอ เนอ่ื ง จนกระทงั่ เปน ศนู ยเ ม่อื ความตา งศกั ยตอ ตานมีคาสงู สดุ ถา ใหคา สงู สุดของความตา งศักยตอ ตา นเทากบั Vo พลงั งานสงู สุดทอี่ ิเลก็ ตรอนสญู เสียจะเทากับ eVo (คา e คือ ประจุของอเิ ลก็ ตรอน เทากับ 1.6021x10-19 คูลอมบ) ซ่ึงเปนคา พลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอน (K.E.max) นน่ั เอง จากการแปรคา ความถ่ีของคล่นื แสงทต่ี กกระทบ ฟลปิ ป เลนารด พบวาคาพลงั งานจลนส ูงสุดของโฟโตอิเลก็ ตรอนเพิ่มขน้ึ เมื่อความถี่ของคลน่ื แสงสูงขึน้ น่นั หมายความวา ความตางศักยต อตา นทีจ่ ะทําใหก ระแสโฟโตอิเลก็ ทริกเปนศูนยสาํ หรบั คล่ืนอลั ตราไวโอเลต(ความถสี่ ูง) ยอมมคี าสงู กวาคลื่นแสงสนี ้ําเงนิ (ความถ่ตี ่ํา)สวนจากการแปรความเขม ของคลืน่ แสง พบวา เมือ่ เพมิ่ ความเขม ของคลืน่ แสงเปนสองเทา จาํ นวนอิเล็กตรอนทหี่ ลุดจากผวิ โลหะเพิ่มเปนสองเทา เชนกัน อยางไรกต็ าม ผลการทดลองของเลนารด เปนแคเ ชิงคณุ ภาพ ไมใ ชเชงิ ปริมาณ เนอ่ื งจากการทดลองแบบนตี้ อ งใชความระมดั ระวังสงู เชน แผนโลหะที่ใชเ มือ่ ตดั แลว ตองรบี ใชทนั ทเี พราะตอ งมคี วามบรสิ ุทธส์ิ งู หากปลอ ยทงิ้ ไวแ คไ มก น่ี าทีโลหะอาจถูกออกซิไดซไ ดง ายแมว า อยูในหลอดทเ่ี กอื บเปนสุญญากาศก็ตามคาํ อธิบายปรากฏการณโฟโตอิเลก็ ทรกิ เชิงฟสิกสด ้งั เดมิ ทฤษฎีทางฟส กิ สด ้ังเดิมกลาวคอื อเิ ล็กตรอนที่ถกู ปลดปลอ ยจากผิวโลหะจะตองคอยๆสะสมพลงั งานจากคลืน่ แสงท่ตี กกระทบ จนกระทงั่ ตวั มนั เองมีพลงั งานสงู พอจนชนะพลงั งานยึดเหนยี่ วภายในผลกึ โลหะ แลวดีดตัวออกมา หากเปน ตามทฤษฎนี จ้ี ริง แปลวา คลื่นแสงท่มี คี วามเขม มากกวา(สวางกวา ) ยอมถา ยเทพลงั งานใหอิเลก็ ตรอนไดมากกวา แตจ ากผลการทดลองของเลนารด พบวาคาพลังงานจลนของอิเลก็ ตรอนทว่ี ดั ไดจากคา ความตางศักยต อ ตา น ไมขนึ้ กบั ความเขมของคลื่นแสงเลย !! ข้ึนกบั ความถเ่ี ทา น้นั นอกจากนี้ ยังพบอกี วาหากคา ของความถขี่ องคลื่นแสงนอยกวา คา ความถีข่ ีดเร่มิ ของโลหะ ไมป รากฏวามีโฟโตอิเลก็ ตรอนเกิดขน้ึ นาประหลาดนะน่ีถอื ไดว าเปนความลม เหลวของฟส กิ สเชิงคลาสสกิ อยา งหนึ่งไอนสไตนเสมอื นจดสทิ ธิบัตรในกรงุ เบริ น อธิบายปรากฏการณน ้ไี ดถ กู ตอ งเปน คนแรกในปค .ศ.1905หลังจากการทดลองของเลนารด 3 ป อัลเบิรต ไอนส ไตน ซึ่งในขณะน้นั คนุ เคยกบั ปญหาเกยี่ วกบัปรากฏการณโ ฟโตอเิ ลก็ ทรกิ และการแผร ังสขี องวตั ถุดํา ตลอดจนผลงานอ่ืนๆของพลังคเปน อยางดี เปนผูอธบิ ายปรากฏการณโ ฟโตอิเลก็ ทริกไดถ ูกตองเปนคนแรก ทาํ ใหใ นป ค.ศ.1921 (16 ปต อ มา) เขาไดรับรางวัลโนเบลจากผลงานชน้ิ นเ้ี ขาอธบิ ายวา กอ นส่ิงอืน่ ใด ตอ งถอื วา คลื่นแสงประกอบดว ยกลุมอนภุ าคทเ่ี รยี กวา \"โฟตอน\"จาํ นวนมากมายแตล ะโฟตอนมพี ลังงานขนาดเทากบั เมื่อคล่นื แสงตกกระทบผิวโลหะ (แผนปลดปลอ ย) โฟตอนจะถายเทพลังงานทั้งหมดใหอ เิ ล็กตรอนทนั ที (ตามหลกั \"ท้งั หมด หรือ ศนู ย\" ) หากพลังงานกอนนี้นอยกวา พลังงานยดึ เหนี่ยวภายในผลึก จะไมเ กดิ โฟโตอเิ ลก็ ตรอน ถา มากกวา พลงั งานยดึเหน่ียวภายในผลกึ อิเลก็ ตรอนจะรับพลังงานกอ นน้ีท้ังกอน โดยจะใชพ ลงั งานสวนหนึง่ เพือ่ ใหตวั เองหลุดจากการถูกยึดเหนย่ี ว หลังจากนัน้ จะคอยๆสูญเสียพลงั งานบางสวนขณะเคล่ือนทีม่ ายังพืน้ ผวิ โลหะ เมือ่ ถึงพ้นื ผวิ ก็สาขาวชิ าเคมี -27- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่ือง โครงสรา งอะตอมจะดีดตัวเองออกมาดวยความเรว็ คาหน่งึ อเิ ล็กตรอนทมี่ ีความเรว็ สูงสุดในขณะหลุดจะเปน อเิ ล็กตรอนทีอ่ ยใู กลพื้นผวิ สมการของไอนส ไตนเกีย่ วกบั ปรากฏการณโฟโตอเิ ล็กทริกเปนดงั นี้ หรือ เม่ือ คอื ความถข่ี องโฟตอน, คอื ความถี่ขดี เรม่ิ , h คือ คาคงที่ของพลังค, K.E.max คอื พลังงานจลนสุงสดุ ของโฟโตอเิ ล็กตรอน, คอื พลงั งานควอนตมั , คือ ฟง กชันงาน, e คือ ประจุของอิเลก็ ตรอน, V0 คอื คาสงู สดุ ของความตางศักยต อตานขอสงั เกต :โฟตอน 1 ตัว จะปลดปลอ ยอเิ ล็กตรอนได 1 ตัวเทา นั้นเพราะพลงั งานท้งั หมดของโฟตอนจะถูกดูดซบั โดยอเิ ลก็ ตรอนเพยี งตัวเดยี ว พลังงานของโฟโตอิเลก็ ตรอนแปรผนั ตรงกับความถี่ของโฟตอน(รอเบิรต เอ มัลลิแกน เปนคนพิสจู นโ ดยการทดลองในป ค.ศ.1915)สาขาวชิ าเคมี -28- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรื่อง โครงสรา งอะตอมการเกิดสเปกตรัมอะตอม การศึกษาสเปกตรมั อะตอมเพราะสเปกตรัมอะตอมเปรียบเสมอื นลายพิมพน ว้ิ มือของมนษุ ยซง่ึ ใชพิสูจนบุคคลไดเ น่อื งจากลายพมิ พน้ิวมือ แตล ะคนไมเ หมือนกนั เปน ลักษณะเฉพาะบคุ คล สเปกตรมั อะตอมก็เชนกัน เปน ลกั ษณะเฉพาะอะตอม ธาตุแตละชนิดจะมีชุดของสเปกตรมั อะตอมไมเหมอื นกันเลย ดังนนั้ เราจงึใชขอมูลท่อี านไดจ ากชุดของสเปกตรัมเพอื่ พิสูจนอะตอมไดสเปกตรัมอะตอมเกิดข้นึ ไดอ ยา งไร แบบที่ 1: เกดิ จากการเผาวัตถุแข็งหรอื วัตถเุ หลวใหรอ น เชน การเผาเกลือแกง (NaCl) จะไดไ อ รอนของโซเดียมบริสทุ ธซิ์ ่ึงจะปลอยคล่ืนแสงท่ปี ระกอบดว ยคลน่ื ทกุ ยานความถ่อี ยาง ตอ เนอ่ื ง สเปกตรัมท่เี กดิ จากวธิ ีน้เี รยี กวา สเปกตรมั ตอ เนอ่ื งแถบสวาง (continuousbright spectrum) แบบท่ี 2: เกดิ จากการเผาแกส ใหรอน แทนทจ่ี ะเปน วตั ถแุ ข็ง สเปกตรัมที่เกิดจากวิธนี ้เี รยี กวา สเปกตรมั เสนสวา ง (bright line spectrum) แบบท่ี 3: เกดิ จากการปลอ ยใหค ลื่นแสงทม่ี คี วามถีต่ อ เนื่อง(จากแบบท่ี 1) ผา นแกส เยน็ สเปกตรัม ที่เกิดจากวิธนี ี้ เรยี กวา สเปกตรัมตอ เนือ่ งกบั เสน มดื (continuous spectrum with dark lines) ภาพนดี้ ดั แปลงมาจาก http://www.astro.virginia.edu/class/majewski/astr313/lectures/spectroscopy/spec.html สงั เกตตําแหนงของเสนสวางในแบบท่ี 2 จะเห็นไดว า ทุกเสน จะอยูตรงตําแหนง เดียวกบั ตําแหนงของเสน มืด ในแบบท่ี 3 ทง้ั น้เี ปน เพราะวา แกส เยน็ ซง่ึ อยใู นสภาวะปกติ (ไมถ ูกกระตุน) ดดู กลนื คลนื่ แสงท่ีมีความถค่ี า ตรงกัน กบั ความถีข่ องคลื่นทมี่ ันปลดปลอ ยออกมาขณะรอน นน่ั หมายความวา สถานะพลงั งานของแกส ตองมคี ณุ ลักษณะ อะไรบางอยา งทแ่ี นนอน และกระบวนการเปลย่ี นแปลงระดบั พลงั งานตอ งยอ นกลบั ไดสาขาวิชาเคมี -29- โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรือ่ ง โครงสรา งอะตอมสเปกตรัมของไฮโดรเจนอะตอม ทําไมตอ งสนใจสเปกตรัมของไฮโดรเจนอะตอมนกั วิทยาศาสตรใ หความสนใจศึกษาและเจาะลึกขอ มูลทมี่ าจากสเปกตรมั ของไฮโดรเจนอะตอมมากเปน พิเศษ มากกวาอะตอมของธาตุอื่น เพราะแมดวงอาทิตยมธี าตชุ นิดตางๆจํานวนมากมาย แตธ าตทุ ี่พบมากทีส่ ดุ คือ ธาตไุ ฮโดรเจน ช้ันบรรยากาศบนดวงอาทติ ยเ พยี ง 2 ชน้ั เทา นั้นท่ีมนุษยสามารถมองเห็นได คือ ชัน้ โฟโตสเฟยรก บั ชน้ั โครโมสเฟย ร เปน ชั้นบรรยากาศท่ีเยน็ เพยี งพอสําหรบั ธาตุไฮโดรเจนทีส่ ามารถมีอยไู ดในรูปอะตอม และตรงนน้ี เ่ี องทเ่ี รามองเหน็สเปกตรมั การดูดกลนื และการคายคลน่ื แสงของไฮโดรเจนอะตอม การวเิ คราะหข อ มูลจากลักษณะของสเปกตรมั เพอื่ เสนอโครงสรางอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนอะตอมกอนป ค.ศ.1913 ซงึ่ เปนปที่นีล บอหร เสนอรปู แบบโครงสรางอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนอะตอมพรอ มทง้ัแผนผงั ระดับพลงั งานในอะตอม ยังไมมใี ครพิสจู นทราบแนช ัดวา รปู แบบโครงสรางทถ่ี กู ตองควรเปน อยา งไรไดแตเ พยี งพยายามตั้งสมมติฐานแลว เสนอสมการทางคณติ ศาสตรอ ยา งงายเพอ่ื ทาํ นายตาํ แหนงของเสนสเปกตรัมใหตรงกบั ผลการวัดเทานัน้รปู แบบโครงสรางพื้นฐานท่ีนา จะนกึ ถงึ มากท่ีสดุ คอื ใหเปรยี บเทียบกับระบบสุริยะ โดยคดิ วาอะตอมไฮโดรเจนประกอบดวยนวิ เคลยี ส (เทียบไดกบั ดวงอาทติ ย) อยูต รงกง่ึ กลางของระบบ มีอิเลก็ ตรอนหนง่ึ ตัว(เทียบไดกับวาระบบนี้มีดาวเคราะหเพียงดวงเดยี ว) เคล่อื นท่รี อบนวิ เคลยี สเปนวงโคจรท่ีมรี ัศมขี นาดตา งๆโดยมีเงอื่ นไขวา อิเล็กตรอนสามารถโคจรในวงโคจรไดทลี ะวงตามที่กําหนด เราจะเรียกเปน วงท่ี 1, 2,......nจากวงในสดุ ตามลําดับ เม่ืออเิ ล็กตรอนกระโดดจากวงในวงหนงึ่ ไปยงั วงนอกอกี วงหน่งึ มนั จะดูดกลืนพลังงานคาหน่งึ ท่มี คี าแนน อน ทาํ ใหเราไดสเปกตรมั การดดู กลนื แตถาหลนลงมาจากวงนอกวงเดิมเขา สวู งในวงเดมิ มันจะปลดปลอยพลังงานดว ยคา เดียวกัน และเราจะไดส เปกตรัมการปลดปลอยกระบวนการดดู กลืนและปลดปลอยพลังงานดวยวิธีนเี้ ราอาจสรางสมการคณิตศาสตรอยางงา ยเพ่อื ทาํ นายตําแหนงสาขาวิชาเคมี -30- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่อื ง โครงสรา งอะตอมแบบจําลองโครงสรางอเิ ลก็ ตรอนของไฮโดรเจนตามทฤษฎีของบอหร ทฤษฎีของบอหรเกีย่ วกบั โครงสรา งอิเลก็ ตรอนของไฮโดรเจนอะตอมถงึ แมว าสมการของบลั เมอรจะประสบผลสําเรจ็ อยา งยงิ่ ในการทํานายตําแหนงเสนสเปกตรมั ของไฮโดรเจนอะตอมไดแ มนยาํ กต็ าม แตเราเห็นแลว วา การอาศยั แนวความคิดจากทฤษฎีคลื่นแมเ หล็กไฟฟา ดงั้ เดมิ ไมส ามารถอธิบายโครงสรา งคลายระบบสรุ ยิ ะของไฮโดรเจนอะตอมได ในป ค.ศ.1913 นลี ส บอหร ไดผ สมผสานหลกั คดิ จากทงั้ ทฤษฎเี ชิงฟส กิ สด ง้ั เดิมและทฤษฎคี วอนตัมของพลังค ซ่งึ ใชอธบิ ายโครงสรา งดงั กลา วไดถูกตอ งระดับหนง่ึ จนเปนท่ียอมรบั นานหลายปก อ นทจี่ ะเขาสูยุคของทฤษฎคี วอนตมั แผนใหมใ นป ค.ศ.1920 ของบอหรกี่ยวกบั โครงสรา งอเิ ลก็ ตรอนของไฮโดรเจนอะตอม มดี ังนี้ อะตอมจะคงสภาวะท่ปี ระกอบดว ยวงโคจรใดๆ ของอิเลก็ ตรอนไดโดยไมมกี ารปลดปลอ ยรงั สี โดยมี เง่อื นไขวา แตละวงโคจรตอ งมคี าโมเมนตมั เชงิ มุมคงทีอ่ ยคู าหนงึ่ เปนสภาวะท่ีเสถียร เรยี กวา สภาวะนิ่ง คา โมเมนตมั เชงิ มุมทเี่ ปน ไปไดจ ะเปน ไปตามเงอื่ นไขท่ีเรยี กวา เงอ่ื นไขวงโคจรควอนตัม ดังนี้ โดย mevr คอื โมเมนตัมเชิงมมุ ของอเิ ล็กตรอน, me คือ มวลของอิเลก็ ตรอน, v คอื ความเร็วของอเิ ล็กตรอน, r คอื รัศมีวงโคจรท่ี n คอื ชน้ั ของอเิ ล็กตรอน, h คือ คา คงท่ขี องพลังค, n คอื เลขจาํ นวนเตม็ บวก = 1, 2, 3,........สาขาวิชาเคมี -31- โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอมโดยอาศัยหลักการพน้ื ฐานเชิงฟสกิ สด ้ังเดมิ และถอื วาอะตอมมรี ปู แบบโครงสรางคลายระบบสุริยะจําลองจะไดส ูตรอยางงา ยสําหรับรศั มวี งโคจรทเ่ี สถยี รและพลังงานในแตล ะวงโคจรของอิเล็กตรอน ดงั น้ี ,โดย r คอื รศั มวี งโคจรที่ n, En คือ พลงั งานในวงโคจรท่ี n, e คอื ประจอุ ิเลก็ ตรอน = 1.602176x10-19คลู อมบ ถา แทนคา n =1 จะได r1 = 5.3x10-9 m หรอื 5.3 nm ซ่งึ เปนคารศั มวี งในสดุ เรยี กวา รศั มีของบอหร และ E1 = -13.6 eV ซึง่ เปน คา พลังงานต่ําสดุ เรียกวา พลังงานตํา่ สดุ ตรงสภาวะพนื้ การปลดปลอ ยและการดดู กลนื รังสีของอะตอม(และใหเสน สเปกตรมั ออกมา) จะเกดิ ไดก ต็ อเมื่อ เมื่อ คอื ความถขี่ องรังส,ี Ei และ Ef คือ พลังงานของอะตอมในสภาวะเร่มิ ตน และสุดทายตามลําดบั ถา Ei มากกวา Ef ไฮโดรเจนอะตอมจะปลดปลอยโฟตอน ถา Ei นอ ยกวา Ef ไฮโดรเจนอะตอมจะดดู กลืนโฟตอนแบบจําลองอะตอมของบอหร นีล บอหร เปนคนแรกที่อธิบายวาอิเล็กตรอนไมแผคล่ืนแมเหล็กไฟฟาเม่ือโคจรรอบนิวเคลียส โดยเสนอวา อิเล็กตรอนสามารถโคจรแบบไมตกใสนิวเคลียสไดที่บางวงโคจร เปนวงโคจรที่เสถียร ในกรณีที่มีการเปลี่ยนวงโคจรเทาน้ัน ที่จะมีการปลอยพลังงานออกมา เปนโฟตอน (คลื่นแมเหล็กไฟฟาท่ีเปนอนุภาค)ซึ่งเปนท่มี าของสเปกตรมั ของธาตตุ าง ๆ สเปกตรมั ของอะตอมนส้ี ามารถอธบิ ายไดอ ยา งดโี ดยใชแบบจําลองอะตอมของบอหร เปนที่ทราบกันกอนยุคของบอหร แลววาเมื่อใหพลังงานกับสาร อะตอมแตละชนิดจะสงเสนแสงท่ีเปน เอกลักษณของอะตอมแตละชนิดออกมา เสนแสงเหลาน้ีเปนชุดเรียกวา สเปกตรัม ซึ่งจากการศึกษาโดยนักเคมแี ละนักฟสิกส สรปุ เปนสมการท่ไี ดจากการทดลอง โดยเร่ิมตน ในป 1885 บาลม เมอรไดเ สนอสูตรโดยประมวลจากขอ มูลการศกึ ษาสเปกตรัมไฮโดรเจนสาขาวิชาเคมี -32- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เร่อื ง โครงสรางอะตอม 1 = RH ⎛ 1 − 1 ⎞ λ ⎝⎜ 22 n2 ⎟⎠โดยท่ี n = 3, 4, 5, … และ RH = 1.0973732x107 m-1 (คาคงทขี่ องริดจเบิรก ) สเปกตรมั ชดุ ตาง ๆ ของอะตอมไฮโดรเจนภายหลังสตู รของบาลมเมอร มกี ารเสนอสูตรของชุดสเปกตรัมอ่นื ๆ ƒ ชดุ ของไลมาน 1 = RH ⎛1 − 1 ⎞ λ ⎝⎜ 12 n2 ⎟⎠ ƒ ชดุ ของพาสเชน 1 = RH ⎛ 1 − 1 ⎞ λ ⎝⎜ 32 n2 ⎟⎠ ชดุ ของแบร็กเกต็ ต 1 = RH ⎛ 1 − 1 ⎞ λ ⎝⎜ 42 n2 ⎠⎟บอหรไดใชทฤษฎีควอนตัมในการอธิบายสเปกตรัมที่เกิดจากอะตอมของไฮโดรเจน สมมติฐานของบอหร คือ อิเลก็ ตรอนเคล่อื นท่ีเปน วงรอบโปรตรอน โดยมีเพียงบางวงโคจรเทานั้นที่จะเสถียร พลังงานแตละระดับ (En) และรศั มวี งโคจร (rn) มีคา En = − kee2 1 2a0 n2 rn = n2h2 mkee2โดยที่ n = 1, 2, 3, … เมื่อ n = 1 วงโคจรมขี นาดเลก็ ท่สี ดุ เรียกวา รัศมขี องบอหร (Bohr Radius, a0) มีคา0.0529 nm การแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดขึ้นเมื่ออิเล็กตรอนกระโดด เปลี่ยนวงโคจรสูท่ีระดับต่ํากวา Ei-Ef= hf(ความตางระหวา งพลงั งานสถานะตน กบั สถานะปลาย) สเปกตรัมที่เกิดขึ้นทุกชุดสามารถทํานายไดดวย สูตรจากแบบจําลองอะตอมของบอหร ซ่งึ สอดคลอ งกับสูตรจากการทดลองทุกสูตรขางตน 1 = kee2 ⎛ 1 − 1 ⎞ λ 2a0hc ⎝⎜⎜ nf 2 ni 2 ⎠⎟⎟โดยที่ kee2/2a0hc มคี าเทา กับ คา คงทขี่ องริดจเบริ กที่หาไดจากการทดลอง (RH =1.0973732x107 m-1)สาขาวิชาเคมี -33- โรงเรยี นมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอม ขอบกพรองของแบบจําลองอะตอมของบอหรคือ เขาตอบไมไดวาเหตุใดจึงมีบางวงโคจรที่เสถียร?จนกระทัง่ เดอบรอยล ไดเสนอความคิดวาอิเล็กตรอนท่ีโคจรรอบนิวเคลียสในแบบจําลองอะตอมของบอหร มีพฤติกรรมเปนคล่ืนน่ิงมีความถ่ีท่ีไมตอเน่ือง (ดังกรณีคล่ืนนิ่งในเสนเชือก) คลื่นนิ่งของอิเล็กตรอน (เปนวงปด พอดี) จะเกิดข้ึนเม่ือ nλ = 2πr λ= h mvแทนคาความยาวคล่นื อนภุ าคตามทเ่ี สนอโดยเดอบรอยล mvr = n h = nh 2πเง่อื นไขนี้เปน กรณขี องวงโคจรที่เสถยี รน่ันคือโมเมนตมั เชงิ มมุ ในแบบจําลองของบอหร มคี า ไมตอเนอื่ ง แบบจําลองอะตอมของบอหรนอี้ ธบิ ายอะตอมไดด ีกวา รทั เธอรฟอรด และสามารถอธบิ ายสเปกตรัมของอะตอมไดเปน อยางดี นอกจากนก้ี ารใชท ฤษฎีควอนตมั ยังอธิบายสเปกตรมั ของ X-ray ไดดว ยในทฤษฎีควอนตัม อเิ ล็กตรอนเปนคลื่นอนุภาค ดงั นั้นแบบจําลองที่ใกลเคียงความจริงท่ีสุด จะไดมาจากการแกสมการชโรดิงเจอร เพ่ืออธิบายอิเล็กตรอนในอะตอม การแกสมการชโรดิงเจอรของอะตอมของไฮโดรเจนเปนกรณที ่ีงายที่สุดตวั อยา งคลน่ื แมเหล็กไฟฟาสาขาวิชาเคมี -34- โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรางอะตอม แสงท่ีประสาทตาของมนุษยสามารถรบั รูไดเรียกวาแสงท่ีมองเหน็ ได ซงึ่ มีความยาวคล่นื อยใู นชวง400 – 700 นาโนเมตร แสงในชวงคลนื่ น้ีจะประกอบดวยแสงสตี า งๆ กนั ตามปกติประสาทตาของมนษุ ยสามารถสมั ผัสแสงบางชวงคล่นื ที่สอ งมาจากดวงอาทติ ยได จงึ มองเห็นเปน สรี วมกันซ่ึงเรยี กวา แสงขาว สเปกตรัมคลนื่ แมเ หล็กไฟฟา ท่ปี ระสาทตาของมนุษยสามารถสมั ผัสไดอ ยใู นชว งความยาวคลนื่ 400-700 นาโนเมตร ซึ่งแสดงวา แสงทีม่ องเห็นไดตามปกติมนษุ ยเ ราจะมองไมเห็นสีของแสงจากดวงอาทิตย จึงเรยี กแสงจากดวงอาทิตยวาแสงขาว ซงึ่ เปนแสงท่ปี ระสาทตาของมนษุ ยส ัมผสั ได ถา ใหแสงขาวสอ งผา นปรซิ ึม แสงขาวจะแยกออกเปน แสงสตี อเนอ่ื งกนั ซึ่งเรยี กวา สเปกตรัมของแสงขาว ตารางแสดงแสงสีตางๆ ในแถบสเปกตรมั ของแสงขาว สเปกตรมั ความยาวคลน่ื (nm) แสงสมี ว ง 400 - 420 แสงสคี ราม – นา้ํ เงิน 420 – 490 แสงสีเขยี ว 490 – 580 แสงสีเหลือง 580 – 590 แสงสแี สด (สม ) 590 – 650 แสงสีแดง 650 - 700สาขาวชิ าเคมี -35- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอื่ ง โครงสรา งอะตอม รูปแสดงการหักเหและการกระจายของแสงขาวเมอื่ ผา นปริซมึ จากรปู เมอื่ แสงขาวเคลือ่ นท่ีไปกระทบบนผิวของปริซมึ คล่นื แมเ หล็กไฟฟาที่มคี วามยาวคล่นืแตกตา งกนั ในแสงขาวจะเกิดการหกั เหทเ่ี ปนมุมแตกตางกันไป กลาวคอื คลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟาทมี่ ีความยาวคล่นื สน้ั จะหกั เหไดม ากกวาคลนื่ แมเ หล็กไฟฟา ท่ีมีความยาวคลืน่ ยาวกวา ดังนั้น แสงขาวก็จะแยกออกเปนแถบสีกลมกลนื ตอ เนือ่ งกนั ไป 7 สี คือ สีมว ง คราม นา้ํ เงนิ เขียว เหลอื ง แสด และแดง ซ่งึ สีมว งหักเหไดม ากทสี่ ดุ และแสงสีแดงหกั เหไดนอ ยทส่ี ุดใน 7 สี เราเรียกแถบสีท่ีตอ เนอื่ งกันวา “สเปกตรัมของแสงขาว” เครอื่ งมอื สเปกโตรสโคป จัดเปน อุปกรณท ีใ่ ชแ ยกสขี องแสงตามความถี่ตา งๆ กันได ดังนั้น สขี องเปลวไฟทเ่ี กิดจากการเผาสารประกอบตา งๆ หรือโลหะทมี่ องเห็นไดด ว ยตาเปลา เพียงสเี ดยี ว เมือ่ ใชเครือ่ งสเปกโตรสโคปทาํ ใหสามารถแยกออกไดเปน หลายสีซง่ึ สแี ตล ะสจี ะแยกออกเปน เสน เรียกวา “เสน สเปกตรมั ”(line spectrum) เสน สเปกตรมั ทมี่ คี วามเขม และความชัดท่สี ุดจะเปน เสน เดยี วกบั สีของเปลวไฟทม่ี องเห็นดว ยตา เม่ือผานสเี ปลวไฟจากการเผาสาร โดยถกู โฟกัสผา นเลนสเปน ลําแสงไปกระทบท่ปี รซิ ึมจะเกดิ การหักเหของแสงดวยมมุ ทต่ี างกัน ทาํ ใหแยกแยกสีออกเปนเสน ไดโ ดยถูกบนั ทึกไวบ นแผน ฟลมสาขาวชิ าเคมี -36- โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรื่อง โครงสรา งอะตอม1. ธาตุตา งชนิดกันจะมจี ํานวนและลักษณะสีสเปกตรัมแตกตา งกัน จํานวนและสีเสนสเปกตรมั เปน สมบัติเฉพาะตวั ของธาตุ2. ธาตตุ างชนดิ กนั อาจมเี สนสเปกตรัมบางเสน มีความถเ่ี ทากนั แตพิจารณาทงั้ ชดุ จะแตกตางกนัเสนสเปกตรมั ของธาตุ และการแปรความหมายนกั วทิ ยาศาสตรยงั พบวาถา เผาสารประกอบของโลหะตางๆ ก็จะไดสเี ปลวไฟแตกตา งกนั เชน เผาสารประกอบของโซเดียมจะไดเปลวไฟสเี หลือง สารประกอบของแคลเซียมไดเปลวไฟสีแดงอฐิ ตอ มาบนุ เซนและกุสตาฟ คีรช ฮอฟฟ นกั วทิ ยาศาสตรชาวเยอรมนั ไดผลติ สเปกโทรสโคป ซ่งึ ตอมาไดใ ชเปนอุปกรณสําคญั ในการศึกษาสเปกตรัมทีไ่ ดจากการเผาสารประกอบ ทําใหสามารถหาธาตอุ งคประกอบทอ่ี ยูในสารประกอบไดเสนสเปกตรมั ของธาตุเกิดข้ึนจากการเพ่มิ พลังงานใหแ กส ารโดยการเผา เม่ือมองดว ยตาเปลาจะเหน็สีของเปลวไฟมสี เี ดน ชัดเพยี งสเี ดยี ว แตถ าใชสเปกโตรสโคปสอ งดูสเี ปลวไฟ จะปรากฏเปนเสน หลายสีเรียกวา “เสน สเปกตรมั ” ธาตุแตละชนิดจะใหเ สน สเปกตรัมตา งกนั มีลักษณะและจาํ นวนเฉพาะตวัสารประกอบของโลหะบางชนดิ เม่ือนํามาเผาจะใหสขี องเปลวไฟหรือเสนสเปกตรัมการศกึ ษาสีของเปลวไฟจากสารประกอบและเสน สเปกตรมั ของธาตบุ างชนิดเมอื่ เผาสารประกอบบางชนดิ จะเหน็ สีของเปลวไฟ และสขี องเสน สเปกตรมั แตกตางกัน ดงั นี้ สารประกอบ สีของเปลวไฟ สีของเสนสเปกตรมั BaCl2 สเี ขยี วอมเหลอื ง สเี ขยี ว Ba(NO3)2 สีเขียวอมเหลอื ง สเี ขียว สีเหลืองเขม NaCl สีเหลือง Na2SO4 สเี หลอื ง สเี หลอื งเขม CaCl2 สีแดงอิฐ สแี ดงเขม CaSO4 สีแดงอิฐ สแี ดงเขม CuCO3 สเี ขยี ว สเี ขียวเขม CuSO4 สเี ขียว สเี ขียวเขมจากขอมูลสรปุ ไดว า 1. สีของสเปกตรัมท่ีมองเห็นนั้นเกดิ จากอะตอมของโลหะที่เปน ไอออนของโลหะหรอื ไอออนบวก เชน Na+ 2. โลหะชนดิ เดยี วกันใหสสี เปกตรัมเดียวกนั โดยไมขึ้นกับชนดิ ของสารประกอบ เชน NaCl และ Na2SO4 ใหส ีเหลอื ง 3. โลหะตางชนดิ กนั ใหส ีสเปกตรมั ตางกนั เชน NaCl และ BaCl2 ใหสีสเปกตรัมตางกันสาขาวชิ าเคมี -37- โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรางอะตอมสเปกตรมั ขอธาตเุ กดิ ขนึ้ ไดอยา งไร เม่ือใหพลงั งานแกอะตอม(เผา) จะทําใหอเิ ลก็ ตรอนมพี ลงั งานสงู ขึ้น โดยจะข้นึ ไปอยูทรี่ ะดับพลงั งานสูงกวาเดิม เรียกวา “สภานะกระตนุ ” (E2) (ระดับใดนัน้ ข้ึนอยกู บั พลังงานท่อี ิเลก็ ตรอนรบั เขา ไป ซ่งึ ยงั ไมเกิดสเปกตรัม) แตทําใหอะตอมไมเ สถยี ร อเิ ลก็ ตรอนจงึ พยายามกลับลงมาทเ่ี ดมิ หรอื ท่เี รยี กวา “สถานะพืน้ ” (E1)โดยการคายพลงั งานออกมา ΔE = E2 – E1 รูปคลนื่ แมเหลก็ ไฟฟา ซ่ึงมคี วามยาวคลนื่ ความถ่ี และพลังงานตา งกนั ปรากฏเปนแสงสแี ละเสน สเปกตรมั ตา งๆ พลังงาน E2 (สภาวะกระตนุ ) คายพลังงานในรปู แสงเปน สเปกตรัม E1 (สภาวะพื้น)การแปลความหมายสเปกตรมั ของไฮโดรเจน ไฮโดรเจนเปน ธาตหุ นงึ่ เมื่อผา นกระแสไฟฟา เขา ไปในหลอดซง่ึ มกี าซไฮโดรเจนอยจู ะปรากฏเสนสเปกตรัมเปนเสนๆ ซ่ึงสามารถมองเหน็ ได 4 เสน แสดงวา อิเลก็ ตรอนสามารถรับและคายพลงั งานไดเ ฉพาะบางคาเทาน้ันพบวา เมอ่ื ใหพ ลงั งานกับกาซไฮโดรเจน ไฮโดรเจนจะใหส เปกตรัมออกมาจาํ นวนมาก มที ั้งที่อยูใ นชวงความยาวคล่นื ท่มี องเห็นไดแ ละไมได สําหรับเสน สเปกตรมั ที่มองเหน็ ไดจะมี 4 เสน ประกอบดว ยเสนสมี ว ง สนี ํา้เงิน สนี ํ้าทะเล และสีแดง ซ่ึงมีความยาวคลนื่ 410 , 434 , 486 และ 656 นาโนเมตร ตามลําดบัสาขาวชิ าเคมี -38- โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรือ่ ง โครงสรางอะตอม รปู แสดงความยาวคล่ืนของสเปกตรัมของไฮโดรเจน รูปแสดงการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอเิ ล็กตรอนของธาตุไฮโดรเจนจากเสนสเปกตรมั สรุปไดว า อิเลก็ ตรอนนอกจากจะอยูใ นสภาวะพื้น อิเลก็ ตรอนยังสามารถอยูในสภาวะกระตนุ ไดห ลายระดับพลังงาน ซ่ึงแตล ะระดับมพี ลังงานตางกนั และผลตางของแตล ะระดับพลังงานก็ไมเทากัน ระดับพลังงานตํา่ จะมผี ลตา งของระดบั พลงั งานมาก และผลตางจะลดลงเร่ือยๆเม่ือระดับพลงั งานสงู ขึ้น ดงั ตาราง แสดงสเปกตรัมของไฮโดรเจนเสนสเปกตรัม ความยาวคลืน่ (nm) พลงั งาน (kJ) ผลตางระหวางพลังงานสมี ว ง 410 4.84 x 10-22 2.7 x 10-23สีน้าํ เงนิ 434 4.57 x 10-22 4.9 x 10-23สีน้าํ ทะเล 486 4.08 x 10-22 10.6 x 10-23สแี ดง 656 3.02 x 10-22สาขาวชิ าเคมี -39- โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เร่อื ง โครงสรา งอะตอมจากขอมลู สรุปไดว า 1. เมื่ออิเล็กตรอนไดรบั พลงั งานทเ่ี หมาะสมจะขึน้ ไปอยูในระดับพลงั งานทส่ี ูงกวา ระดับพลงั งาน เดมิ ซึง่ จะขึน้ ไปอยูใ นระดับพลังงานใดก็ขึน้ อยกู ับปริมาณพลังงานท่ไี ดรบั การทอ่ี ิเลก็ ตรอนข้นึ ไปอยใู นระดับพลงั งานใหมจะทําใหอ ะตอมไมเสถยี ร อิเล็กตรอนจงึ กลับมาอยูในระดับพลงั งาน เดิมหรือระดับพลงั งานต่ํากวา ในการเปลย่ี นตาํ แหนงอิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกมาเปน คลนื่ แมเหลก็ ไฟฟา 2. การเปลย่ี นระดบั พลังงานของอิเล็กตรอนไมจ าํ เปนตองเปลย่ี นระหวางระดบั พลงั งานทีอ่ ยูติดกนั อาจมกี ารเปลย่ี นขา มชน้ั กันได 3. ระดับพลงั งานทอี่ ยูต ํา่ จะอยูหา งกันมากกวา ระดบั พลงั งานสงู ระดบั พลงั งานย่ิงสูงขนึ้ จะอยูช ิดกัน มากขึ้น 4. ระดบั พลงั งานของอเิ ล็กตรอนทต่ี า่ํ ท่ีสดุ จะอยใู กลนิวเคลียส ระดับพลังงานสงู จะอยูไกลนิวเคลียส “อิเล็กตรอนจะเคลอื่ นท่ีรอบนวิ เคลียสเปนวงคลา ยกับวงโคจรของดาวเคราะหร อบดวงอาทิตย แตล ะวงจะมีพลังงานเฉพาะตัว และเรียกระดบั พลังงานของอิเลก็ ตรอนท่อี ยูใกลน ิวเคลยี สทส่ี ุด ซง่ึ มรี ะดับพลังงานต่าํ ท่ีสุดวา ระดบั พลังงาน K และระดบั พลังงานท่อี ยถู ดั ออกมาเปน L, M, N, … ตามลําดบั แตปจจุบันเรียกระดับพลงั งานทอี่ ยใู กลนวิ เคลยี สที่สดุ วา ระดับพลงั งาน n = 1 และเรียกระดบั พลังงานทอ่ี ยถู ัดไปเปน n =2 , n = 3 , n = 4 ตามลาํ ดับ ”การจดั เรยี งอิเล็กตรอนการจัดอิเลก็ ตรอนในระดับพลังงานหลัก (Shell /Energy level) จากการศึกษาเรื่องพลังงานไอออไนเซชัน ทําใหนักวิทยาศาสตรสมารถทราบวาในแตละระดับพลังงานมีจํานวนอเิ ลก็ ตรอนไดมากท่ีสดุ ก่ีอเิ ลก็ ตรอน โดยให n แทนลาํ ดบั ทขี่ องพลงั งาน ( n มคี าเปน เลขจํานวนเตม็ = 1 , 2 , 3 , ….ตามลําดบั ) จํานวนอเิ ลก็ ตรอนท่มี ไี ดม ากที่สุดในแตละระดับพลงั งาน = 2n2 ระดับพลังงาน n = 1 มจี ํานวนอเิ ลก็ ตรอนไดมากทสี่ ุด = 2n2 = 2 x 12 = 2 ระดบั พลังงาน n = 2 มีจํานวนอิเล็กตรอนไดมากทส่ี ดุ = 2n2 = 2 x 22 = 8 ระดบั พลังงาน n = 3 มจี าํ นวนอเิ ล็กตรอนไดม ากทส่ี ดุ = 2n2 = 2 x 32 = 18 ระดับพลงั งาน n = 4 มีจาํ นวนอิเลก็ ตรอนไดมากท่สี ดุ = 2n2 = 2 x 42 = 32แตสูตรการหาจํานวนอิเล็กตรอนดังกลาวใชไดกับระดับพลังงาน n = 1 ถึง n = 4 เทานั้น เพราะในระดับพลังงานตอ ๆ ไปจะมีอิเล็กตรอนไมเกิน 32 นอกจากนั้นการศึกษาคาพลังงานไอออไนเซชัน พบวาอเิ ลก็ ตรอนวงนอกซ่ึงเรยี กวา เวเลนซอเิ ล็กตรอน ของธาตตุ า ง ๆ มีไดไมเกิน 8 เวเลนซอเิ ล็กตรอน คือ จํานวนอิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานนอกสุดหรือสูงสดุ ของแตล ะธาตุจะมีอิเล็กตรอนไมเ กิน 8สาขาวชิ าเคมี -40- โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรื่อง โครงสรางอะตอม หลักการจดั อิเลก็ ตรอน การจดั อเิ ลก็ ตรอนจะตอ งจัดอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานตา่ํ สดุ กอน แลวจงึจัดในระดบั พลงั งานสงู ขน้ึ ไป และอิเล็กตรอนวงนอกตอ งไมเ กิน 8ตัวอยา ง ธาตุ Mg มีเลขอะตอม = 12 แสดงวา Mg มีโปรตอนแลอิเลก็ ตรอน = 12 ตัว ในการศกึ ษาคา IE ลาํ ดับตา ง ๆ IE1 – IE12 พบวามคี าอยู 3 กลมุ ดงั น้ีกลมุ ที่ 1 IE = 0.74, 1.45 [IE1 , IE2 ]กลมุ ที่ 2 IE = 7.73, 10.54 , 13.63 , 18.0 , 21.71 , 25.66 , 31.65 , 35.64 [IE3 … IE10 ]กลมุ ท่ี 3 IE = 170.0, 189.37 [IE11 , IE12 ]การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนเปน 2 8 2 การจัดอเิ ลก็ ตรอน มคี วามสัมพนั ธกบั การจดั หมแู ละคาบอยา งไร 1. เวเลนซอิเลก็ ตรอน จะตรงกับเลขท่ขี องหมู ดงั นนั้ ธาตทุ อี่ ยูหมเู ดียวกนั จะมเี วเลนซอิเลก็ ตรอนเทากัน 2. จํานวนระดับพลงั งาน จะตรงกบั เลขทข่ี องคาบ ดงั น้นั ธาตุในคาบเดยี วกนั จะมจี ํานวนระดบัพลังงานเทากนั เชน 35Br มีการจัดเรียงอเิ ล็กตรอนดังน้ี 2 , 8 , 18 , 7 ดงั นั้น Br จะอยูในหมูที่ 7 เพราะมเี วเลนซอเิ ล็กตรอน 7 และอยใู นคาบท่ี 4 เพราะมจี ํานวนระดบั พลงั งาน 4หลกั การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอน 1. จะตองจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนเขา ในระดับพลังงานต่ําสุดใหเ ต็มกอ น จึงจดั ใหอยรู ะดบั พลังงานถัดไป 2. เวเลนซอ เิ ลก็ ตรอนจะเกิน 8 ไมไ ด 3. จาํ นวนอเิ ล็กตรอนในระดับพลงั งานถัดเขาไปของธาตใุ นหมู IA, IIA เทา กบั 8 สวนหมู IIIA– VIIIA เทากบั 18เลขควอนตมั ออรบ ิตอล คือ ที่วา งท่ีอยูรอบนวิ เคลยี สท่ีซ่งึ เรามีโอกาสพบอเิ ลก็ ตรอนทีม่ ีพลังงานตามท่ีกําหนด ตามทฤษฎีของเวฟเมคเคนิก ระดับพลังงานของอะตอมประกอบดวย หนึ่งออรบิตอลหรือมากกวาสําหรับอะตอมท่ีมีอิเล็กตรอนมากกวา 1 อิเล็กตรอน การพิจารณาวาอิเล็กตรอนน้ันอยูระดับพลังงานใดและอยใู นระดับพลังงานประเภทใด พิจารณาจากเลขควอนตมั ซง่ึ ไดจากการแกส มการคลนื่ คือ 1) เลขควอนตัมหลัก ( principle quantum number ) เขียนแทนดวย n บอกถึงระดับพลังงาน หลกั ของอเิ ลก็ ตรอนตวั น้ัน ๆ - n มคี า ไดตั้งแต 1 , 2 , 3 ... - คา n ย่งิ สูงแสดงวาอเิ ลก็ ตรอนอยูหา งจากนวิ เคลียสและมีพลงั งานสงู ข้นึสาขาวชิ าเคมี -41- โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรอ่ื ง โครงสรางอะตอม 2) เลขควอนตมั โมเมนตัมเชงิ มุม ( Angular momentum quantum number ) เขียนแทนดวย lบอกใหทราบถึงระดับพลังงานยอยของอิเล็กตรอนและบอกใหทราบถึงรูปรางของออรบิตอลที่บรรจุอิเล็กตรอนตัวน้ัน คา l มีความสัมพันธกับโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน เม่ือกําหนด n เปนคาหนึ่งแลว l จะมีคาเปนเลขจํานวนเต็มตงั้ แต 0 , 1 , 2 ,.......,n-1 เชน n = 3 คา l จะมีไดเปน 0 , 1 , 2 สาํ หรบั l คาตา ง ๆ นิยมใชส ญั ลักษณแ ทนดงั น้ี l = 0 เรียกวา s l = 1 เรียกวา p l = 2 เรยี กวา d l = 3 เรียกวา f l = 4 เรยี กวา g ( ยังไมพ บธาตทุ ่มี อี ิเลก็ ตรอนในออรบติ อลน้ี ) 3) เลขควอนตัมแมเหล็ก ( Magnetic quantum number ) เขียนแทนดวย ml ใชอธิบายเสน ตาง ๆที่ปรากฏเพ่ิมเติมในอะตอมมิกสเปกตรัมชนิดเสนของอะตอมเม่ืออยูในสนามแมเหล็ก คาของ m เปนเลขจํานวนเต็ม มีคาตั้งแต -l ถึง +l เม่ือ l = 0 , m มีคา เพียงคาเดียวคือ m = 0 ดังน้ันเชลลยอย sมเี พียงหน่ึงออรบ ิตอล เรียกวา s ออรบิตอล เม่อื l = 1 ( เชลลยอ ย p ) m มคี าทา กบั -1 , 0 , +1 ซึ่งมี 3 ออรบิตอล และถา l = 2 ( เชลลยอย d ) m มีคา -2 , -1 , 0 , +1 , +2 ซึ่งมี 5 ออรบิตอลดว ยกัน คา ของ m ระบุทิศทางของกลมุ หมอกอเิ ลก็ ตรอน จาํ นวนของทิศทางที่เปนไปไดสัมพันธกับรูปรางของกลุมหมอกอเิ ล็กตรอน ซึ่งกําหนดโดยคาของ l ดังน้ัน เม่ือ l = 0 ( เชลลยอย s ) m มีเพียงคาเดยี วคือ m = 0 หมายความวา กลุมเชลลยอย s นี้ มีทิศทางไดเพียง 1 ทิศทางเทาน้ัน เม่ือ l = 1( เชลลยอย p ) m มีคา = -1 , 0 , +1 หมายความวาเชลลยอยนี้มีได 3 ทิศทาง และเม่ือ l = 2 (เชลลยอย d ) หมายความวาเชลลยอยน้ี มีได 5 ทิศทาง 4) เลขควอนตัมสปน ( Spin quantum number ) เขียนแทนดวย ms เกี่ยวของกับโมเมนตัม เชิงมมุ ภายในของอิเล็กตรอน ( เนอ่ื งจากสปน ) ms = +s , -s เม่ือ s = ½ หมายถึงสปบของอิเลก็ ตรอน เม่ืออิเล็กตรอนมีคา ms = +1/2 และ -1/2 เราเรียกวาอิเล็กตรอนอยูในสถานะ สปนข้ึน (spinup) และ สปน ลง (spin down) ตามลําดับสาขาวิชาเคมี รูปท่ี 1-12 s ออรบ ิตอล -42- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่ือง โครงสรา งอะตอม รูปท่ี 1-13 p ออรบิตอล รูปท่ี 1-14 d ออรบติ อลการจดั อิเล็กตรอนในระดับพลงั งานยอ ย (subshell / energy sublevel) จากการศกึ ษาสเปกตรมั และกลศาสตรค วอนตัมของคลนื่ ทําใหท ราบวา ระดบั พลังงานของอิเลก็ ตรอน ในระดับพลังงานเดยี วกนั ยังแบงเปน ระดบั พลงั งานยอยตางๆ ซ่ึงมี 4 ระดับพลังงานยอ ย ไดแก s , p , d , f subshell แตละระดบั พลงั งานยอย จะมจี าํ นวนอเิ ล็กตรอนตา งๆ กันดังน้ี ระดับพลังงานหลกั ระดับพลังงานยอ ย จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน n=1 1s 2 n=2 2s 2 n=3 2p 6 3s 2 n=4 3p 6 3d 10สาขาวชิ าเคมี 4s 2 4p 6 4d 10 4f 14 -43- โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรางอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอ ยตอ งอาศัยหลกั การตางๆ ดังนี้หลักของเพาลี ( Pauli , s exclusion principle ) กลา ววา “ไมม ีอเิ ล็กตรอนคหู นึ่งคูใดในอะตอมเดยี วกนั ท่มี เี ลขควอนตัมท้งั สเ่ี หมอื นกนั ทุกประการแตจะมีเหมือนกันมากท่ีสุด 3 คา ” เชน 2 อิเล็กตรอน ใน 1s ( 1s2 ) จะมีเลขควอนตัม n , l , mlเหมือนกนั ดงั นี้ อเิ ลก็ ตรอนท่ี 1 n = 1 , l = 0 , ml = 0 , ms = +1/2 อเิ ลก็ ตรอนท่ี 2 n = 1 , l = 0 , ml = 0 , ms = -1/2กฎของฮุนด ( Hund ,s rule ) กลา ววา “ การเติมอเิ ล็กตรอนในออรบ ิตอลยอย ( โดยเฉพาะออรบิตอลที่มีพลังงานเทากัน ) ใหเติมอเิ ล็กตรอนเด่ียว ๆ ( 1 อเิ ล็กตรอน ) กอ น แลวจึงเติมอิเล็กตรอนใหเขาคูกนั และอิเล็กตรอนเดี่ยวนั้นตองมสี ปน เหมือนกัน ” เชน มี 3 อิเล็กตรอนทีต่ องเติมใน p –ออรบ ติ อลตามกฎของฮนุ ดตอ งเตมิ แบบนี้ ↑ ↑↑ ถามี 4 อิเลก็ ตรอน จะเปน ↑↓ ↑ ↑ อิเล็กตรอนท่ี 4หลักของเอาฟบาว ( Aufbau principle ) การบรรจุอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่ง ๆในออรบ ติ อลท่ีเหมาะสม จะใชหลักดังนี้ 1. ใชหลักของเพาลี ในการบรรจุอเิ ล็กตรอนในออรบติ อลซ่ึงจะเขยี นแทนดว ยสัญลักษณ Οหรอื ก็ได สว นอเิ ลก็ ตรอนจะใชล กู ศร เชน ↑ สาํ หรบั สปน ข้นึ และ ↓ สาํ หรับสปนลง ดงั นนั้ ถาออรบิตอลมีอิเล็กตรอนอยูเต็ม จะเขียนแทนดวยรูปภาพ ↑↓ เรียกอิเล็กตรอนท้ังสองวา อิเล็กตรอนคู( paired electron ) ถามีอิเล็กตรอนเพียงคร่ึงหน่ึง นิยมเขียนเปนสปนข้ึน ↑ และเรียกอิเล็กตรอนวาอิเล็กตรอนเดีย่ ว 2. บรรจุอเิ ล็กตรอนของอะตอมนั้นเขาไปในออรบิตอลตา ง ๆ จนครบจํานวนอเิ ล็กตรอนทม่ี ีอยูโดยบรรจุอิเล็กตรอนในออรบิตอลที่มีพลังงานต่ําท่ีสุดท่ียังวางอยูเสียกอน ( คือ 1s , 2s , 2p , 3s , …ตามลาํ ดับ ) เพราะจะทาํ ใหพ ลงั งานรวมทัง้ หมดมีคาต่ําท่ีสุด ซ่ึงหมายถึงวาการจัดตัวแบบนี้จะทําใหอะตอมมสี ถานะเสถียรที่สดุสาขาวิชาเคมี -44- โรงเรยี นมหิดลวิทยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอม 3. ถา มอี อรบ ิตอลทม่ี พี ลงั งานเทา ๆ กนั มากกวาหน่งึ ขึน้ ไป ( เชน p –ออรบิตอล หรอื d –ออรบิตอล ) การบรรจุอิเล็กตรอนจะอาศัยกฎของฮุนด ซ่ึงกลาววา “ การบรรจอุ ิเลก็ ตรอนในออรบิตอลที่มีระดับพลังงานเทา กนั (degenerate orbital)จะบรรจุในลกั ษณะท่ีทาํ ใหม ีอิเล็กตรอนเดย่ี วมากทส่ี ุดเทาทีจ่ ะมากได ” 4. ในกรณีทีร่ ะดบั พลงั งานเปน ดีเจนเนอเรต ถา ทกุ ๆ ออรบ ิตอลในระดับพลงั งานเดียวกนั นั้นมีอิเล็กตรอนอยเู ตม็ ( 2 อิเลก็ ตรอนตอ 1 ออรบิตอล ) เราเรียกการเรียงตวั แบบน้วี าเปนการบรรจุเตม็( filled configuration ) แตถาทุก ๆ ออรบิตอลมีอิเล็กตรอนอยูเพียงครึ่งเดียว ( 1 อิเล็กตรอน )เหมือนกันหมด เราเรียกวาเปน การบรรจุคร่ึง ( half- filled configuration ) อะตอมที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็มและบรรจุครึ่ง มักจะมีเสถียรภาพมากกวาอะตอมที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบอื่น ๆ เชน 2p3 เสถียรกวา 2p4 และ 3d10 เสียรกวา 3d9 แตถาเปรียบเทียบเสถียรภาพระหวางแบบบรรจุเต็มและแบบบรรจุครงึ่ แลว แบบบรรจเุ ต็มจะเสถยี รกวาแบบบรรจคุ รง่ึ การจัดเรยี งอิเลก็ ตรอนในแตล ะออรบ ิทลั จะเขาตามระดับพลังงานตาํ่ ไปสงู ซ่งึ ไปตามแผนผังดังนี้เรียงลําดับพลงั งานไดด ังน้ี 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d , 4p , 5s , … ดงั แผนผังขา งลางสาขาวชิ าเคมี -45- โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรอื่ ง โครงสรา งอะตอม ตวั อยางการจัดเรียงอิเลก็ ตรอนในระดบั พลังงานยอ ยของอะตอมตางๆ1. การจัดเรียงอเิ ล็กตรอนเลขอะตอม ธาตุ การจัดอเิ ลก็ ตรอน การเรยี งตวั ใน 2p-ออรบ ิตอล 1s2 2s2 2p1 5B 1s2 2s2 2p2 ↑ ↑ 6C 1s2 2s2 2p3 ↑↑ ↑ 7N 1s2 2s2 2p4 ↑↑ ↑ 8O 1s2 2s2 2p5 ↑↓ ↑ ↑↓ 9F 1s2 2s2 2p6 ↑↓ ↑↓ 10 Ne ↑↓ ↑↓สาขาวชิ าเคมี -46- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานุสรณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เร่ือง โครงสรางอะตอมแบบจาํ ลองอะตอมแบบกลุม หมอก เน่ืองจากแบบจาํ ลองอะตอมของโบรม ีขอ จาํ กัดทีไ่ มสามารถใชอ ธิบายสเปกตรัมของอะตอมทีม่ หี ลายอเิ ล็กตรอนได นักวิทยาศาสตรจ ึงไดศึกษาเพิ่มเตมิ จนไดข อ มลู เพยี งพอท่ีจะเชอื่ วา อเิ ล็กตรอนมสี มบตั เิ ปนท้งัอนภุ าคและคล่นื โดยเคลอื่ นทรี่ อบเคลยี สในลกั ษณะของคล่ืนนิ่ง บรเิ วณท่ีพบอเิ ลก็ ตรอนพบไดหลายลักษณะเปน รปู ทรงตา งๆ ตามระดับพลงั งานของอเิ ลก็ ตรอน จากการใชค วามรูท างกลศาสตรค วอนตมั สรางสมการข้นึ เพือ่ คาํ นวณหาโอกาสทีจ่ ะพบอิเล็กตรอนในระดบั พลงั งานตา งๆ พบวา แบบจาํ ลองนส้ี ามารถอธิบายเสนสเปกตรัมของธาตไุ ดถูกตอ งกวาแบบจําลองอะตอมของโบร อิเลก็ ตรอนมีขนาดเลก็ มากและเคล่อื นท่อี ยางรวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทงั้ อะตอม จึงไมสามารถบอกตาํ แหนง ที่แนน อนของอิเลก็ ตรอนได อยางไรก็ตามนกั วทิ ยาศาสตรพ บวา มโี อกาสทีจ่ ะพบอเิ ลก็ ตรอนรอบนวิ เคลียสบางบริเวณเทา นน้ั ทําใหสรางมโนภาพไดวาอะตอมประกอบดวยกลุม หมอกของอิเลก็ ตรอนรอบนิวเคลียส ท่ีมาของแบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก เกิดขนึ้ จาก นักฟส กิ สชาวออสเตรีย เออรว ิน ชโรดิงเงอร (Erwin Schrödinger ) ไดเ สนอ สมการคล่นื ของชโรดงิ เงอร (Schrödinger wave equation ) ทแี่ สดงพฤตกิ รรมของอิเลก็ ตรอนทเ่ี ปน ไดทัง้ คล่นื และอนุภาค ผลงานช้นิ นีน้ ําไปสกู ารศึกษาอนุภาคทเ่ี ล็กกวา อะตอมหรอื ทเ่ี รียกกันวา การศกึ ษาดาน กลศาสตรค วอนตัม (quantum mechanics) หรือ กลศาสตรของคลน่ื (wavemachanics) การใชสมการชโรดงิ เงอรตอ งอาศัยแคลคลู ัสข้ันสงู ซึ่งจะไมก ลา วในท่ีน้ี แตเราจะนาํ ผลทไี่ ดม าอธบิ ายโครงสรา งของอิเลก็ ตรอน โดยเร่ิมจากโครงสรา งอิเลก็ ตรอนของอะตอมไฮโดรเจนซึ่งมีขนาดเล็กท่สี ุดกอ น การแกสมการชโรดงิ เงอรท าํ ใหเ กดิ อนกุ รมของฟง กชนั ทางคณิตศาสตรท เ่ี รียกวา ฟงกชนั คล่นื(wave function) แทนดว ยสญั ลกั ษณ ( psi อักษรกรีก อานวา ไซ) แมวา ฟง กชนั คลน่ื เองไมม ีความหมายทางกายภาพ แตค า กําลงั สองของฟงกช นั คล่นื 2 จะใหข อ มูลเกย่ี วกับบรเิ วณของอิเล็กตรอนที่อยใู นระดับพลังงานที่เปน ไปได (allowed energy state) สาํ หรบั อิเลก็ ตรอนของอะตอมไฮโดรเจนจะมีพลังงานในระดบั ที่เปนไดตามแบบจาํ ลองของโบรท ที่ าํ นายเอาไว โดยแบบจําลองนตี้ ั้งสมมติฐานวาอิเลก็ ตรอนมีวงโคจรรอบนิวเคลยี สโดยมีรัศมคี าหนง่ึ แตแ บบจําลองของกลศาสตรควอนตัมน้ี ไมส ามารถแสดงบรเิ วณของอิเลก็ ตรอนอยางา ยๆได ซงึ่ จากหลกั ความไมแ นน อนแสดงใหเหน็ วาถา รูคา โมเมนตัมของอิเล็กตรอนไดอ ยางแมนยาํ เราจะไมร ูตาํ แหนงทแ่ี นนอนของอเิ ล็กตรอนน้นั ดงั นนั้ จึงไมค วรคิดจะหาตําแหนงสาขาวชิ าเคมี -47- โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ว30131 เรื่อง โครงสรา งอะตอมของอเิ ล็กตรอนแตล ะตวั ทีอ่ ยรู อบนิวเคลียส แตค วรจะแสดงเปนโอกาสหรือความเปนไปไดท จี่ ะพบอเิ ลก็ ตรอนในบริเวณรอบนวิ เคลยี สน้นั วาเปนเชน ใด คา 2 ทีใ่ ดทหี่ นงึ่ ในท่ีวา งจงึ หมายถงึ โอกาสที่จะพบอเิ ล็กตรอนท่ีนนั้ ดว ย ดวยเหตุนจี้ งึ เรียก 2 วา ความหนาแนน ที่เปน ไปได (probability density) การแสดงความเปนไปไดทีจ่ ะพบอิเลก็ ตรอนทบ่ี รเิ วณตางๆของอะตอมเปน ดังรปู ซ่งึ จดุ เล็กๆ แสดงโอกาสท่ีจะพบอิเล็กตรอน ถาจดุ มคี วามเขม มากแสดงวาคา 2 หรือความหนาแนน อิเล็กตรอน (electrondensity) มคี าสูงแบบจาํ ลองอะตอมแบบกลมุ หมอกอาจสรปุ ไดด ังน้ี1. อเิ ล็กตรอนไมสามารถว่ิงรอบนิวเคลียสดว ยรศั มที แี่ นนอน บางคร้งั เขาใกลบางครั้งออกหาง จงึ ไมส ามารถบอกตําแหนง ทีแ่ นนอนได แตถ าบอกไดแ ตเพยี งที่พบอเิ ล็กตรอนตาํ แหนง ตา งๆภายในอะตอมและอิเลก็ ตรอนท่ีเคลอ่ื นที่เร็วมากจนเหมือนกบั อเิ ลก็ ตรอนอยูท่ัวไปในอะตอมลกั ษณะนี้เรียกวา \"กลมุ หมอก\"2.กลุม หมอกองอิเล็กตรอนในระดบั พลังงานตา งๆจะมรี ปู ทรงตางกันขนึ้ อยกู บั จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน และระดบัพลังงานอเิ ลก็ ตรอน3.กลมุ หมอกท่มี อี เิ ล็กตรอนระดับพลังงานตํา่ จะอยใู กลน ิวเคลยี สสวนอิเล็กตรอนที่มรี ะดบั พลังงานสงู จะอยูไกลนวิ เคลียส4.อิเล็กตรอนแตล ะตวั ไมไ ดอยใู นระดับพลังงานใดพลังงานหนึง่ คงท่ี5.อะตอมมีอิเล็กตรอนหลายๆระดบั พลังงานบรเิ วณท่ีมโี อกาสพบอเิ ลก็ ตรอน (ออรบ ทิ ลั ) อเิ ล็กตรอนในแตล ะระดับพลังงานของวงโคจรหนึง่ ๆประกอบดวยระดบั พลงั งานยอ ย (subenergylevels) ซ่ึงเปนบรเิ วณท่ีพบอเิ ล็กตรอนหนาแนน โดยอิเลก็ ตรอนเคลอื่ นทไ่ี ปเปน ลกั ษณะรูปรา งแบบตางๆกนัรอบนวิ เคลยี ส เรียกบรเิ วณนี้วาออรบิทัลอะตอม ซึ่งรปู รางออรบทิ ัลมีหลายแบบและมีช่ือเรยี กตางกันเชน s ,p , d และ f ออรบ ิทัล เปน ตนสาขาวิชาเคมี -48- โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ (องคการมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เร่ือง โครงสรางอะตอมรูปรา งของ s ออรบทิ ัล รูปรางของ s ออรบทิ ัล มลี ักษณะเปน ทรงกลม (spherically symmetrical) ลอมรอบนิวเคลียสเหมือนกนั ทกุ ทศิ ทาง เชน ไฮโดรเจนอะตอมในสภาวะพ้ืน มีอเิ ลก็ ตรอนเคลือ่ นท่ีลอ มรอบนวิ เคลยี สในลกั ษณะท่ีเปนทรงกลมปกคลมุ โดยรอบนิวเคลยี สดังรปู รูปรา งของ s ออรบิทลัรปู รา งของ p ออรบ ิทัล รูปรา งของ p ออรบทิ ัล p ออรบ ทิ ลั มีลักษณะเปน พู (lobe) สองพูอยูค นละขา งของนิวเคลยี ส บางครง้ั เรยี กวามรี ปู รางแบบดมั เบล (dumbbell shaped) ซง่ึ อิเลก็ ตรอนของอะตอมจะเคลอื่ นทอ่ี ยูใ นพูท้งั สองเปนเวลาเทา ๆกนั และตรงบริเวณนวิ เคลยี สจะไมพบอเิ ล็กตรอนอีกเลย เน่อื งจาก p ออรบทิ ลั มที ศิ ทางตางกนั 3 ทิศทาง จงึ มชี ่ือเรียกแตกตา งกันเปน px , py และ pz ออรบทิ ลั ซ่งึ ทัง้ สามออรบ ิทัลน้ีจะตัง้ ฉากซง่ึ กนั และกัน ในแนวแกน x, yและ z การกําหนดทิศทางของออรบิทลั จึงใชแกน x, y และ z เปน ตัวกาํ หนดและระบชุ ่อื ของ p ออรบ ทิ ัล เชนออรบ ทิ ัล px หมายถึง p ออรบ ทิ ัล ทมี่ ีพูท้ังสองอยูใ นแนวแกน x เปนตนสาขาวิชาเคมี -49- โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานุสรณ (องคก ารมหาชน)

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ว30131 เรือ่ ง โครงสรางอะตอม ในระดบั พลงั งาน n เดียวกัน px , py , pz ออรบิทัลท้งั สามนจ้ี ะมรี ะดับพลังงานเทา กนั เราเรียกปรากฏการณท ีอ่ อรบทิ ัลมีระดบั พลงั งานเทากนั นวี้ า ดเี จนเนอเรซี (degeneracy) สว นออรบทิ ลั ที่มีระดับพลงั งานเทากนั เรียกวา ดีเจนเนอเรท ออรบทิ ัล (degenerate orbitals)รูปรา งของ d ออรบ ทิ ลัd ออรบ ทิ ัล มที ง้ั หมด 5 ออรบทิ ลั แตละออรบ ิทลั มรี ูปรางและการจัดตวั ในทว่ี า ง 3 มิติในทศิ ทางตโดาxยงyกมนัีนวิ จเงึคมลชียี อื่สเอรยียูตกรแงตจกดุ ตกาึง่ งกกลนั าเงปรนะหdวxาyง,พdู yz ,dzx ,dx2 - y2 และ dz2 สอ่ี อรบ ทิ ลั แรกมพี ู 4 พอู ยตู รงกนั ขาม dxy , dyz ,dzx ออรบ ทิ ัลมีพูท้งั สีอ่ ยรู ะหวา งแกนบนระนาบ xy ,yz และ xz ตามลาํ ดบั สวน ,dx2 - y2 ออรบิทัล มีพูสี่พอู ยูในแนวแกนบนระนาบ xy สาํ หรับ dz2 ออรบทิ ลั มีรูปรา งแตกตางจาก d ออรบ ทิ ลั อน่ื ๆ ท่ีกลา วไปแลวคือมพี ู 2 พู อยูบนแกน z และมีวงแหวนบนระนาบ xyลอมรอบตรงกงึ่ กลางของรอยตอระหวา งพูd ออรบทิ ลั ทั้งหาทีอ่ ยูใ นระดับพลังงาน n เดยี วกนั จะมพี ลังงานเทากันหรอื มดี ีเจนเนอเรซีเชนเดียวกบั p ออรบทิ ัลทไ่ี ดกลาวไปแลว รปู รา งของ d ออรบิทัลสาขาวิชาเคมี -50- โรงเรยี นมหิดลวิทยานุสรณ (องคก ารมหาชน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook