Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการแนะแนวการศึกษาต่อ ๒_๒๕๖๒

โครงการแนะแนวการศึกษาต่อ ๒_๒๕๖๒

Published by Star Mai, 2020-06-05 01:59:32

Description: โครงการแนะแนวการศึกษาต่อ ๒_๒๕๖๒

Keywords: งานแนะแนว

Search

Read the Text Version

วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค NakhonsawanTechnicalCollege โครงการแนะแนวการศกึษาตอ แผนกวชิาชางอเิล็กทรอนิกส และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ระดบัประกาศนยีบตัรวชิาชีพ(ปวช.)และระดับประกาศนยีบัตรวชิาชพีช้นัสงู(ปวส.) ปการศกึษา๒/๒๕๖๒ แผนกวชิาชางอิเลก็ทรอนกิสวิทยาลัยเทคนคินครสวรรค ภาคเรยีนที่๒ปการศึกษา๒๕๖๒

คำนำ ประเทศไทยไดจดั ทําแผนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) เพอ่ื ใหการพฒั นา ประเทศมีความ ต่อเนื่องและมแี นวทางทช่ี ัดเจน โดยกาํ หนดวสิ ัยทศั น “ประเทศมีความมน่ั คง ม่ังค่งั ย่ังยนื เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และพรอมรองรับประเทศไทย ยุค 4. 0 โดยใชการศึกษาเปน กล ไกหลักในการพฒั นาประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ไดจัดทาํ แผนการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 เพื่อกําหนดกรอบเปาหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศใหสอดคลองกบั แผนยทุ ธศาสตรชาติ ดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปนหนวยงานหลักในการจัดการอาชีวศึกษา เพื่อผลิต และ พัฒนากําลังคนในดานวิชาชีพ ระดับฝมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมทั้งการฝกอบรม วิชาชีพเพ่ือ เพิ่มพูนความรูและการฝกทักษะอาชีพระยะสั้นหรือระยะยาว ไดจัดทําแผนพัฒนาการ อาชีวศึกษา พ.ศ. 2560- 2579 โดยการวิเคราะหและสังเคราะหยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 และแผนพฒั นาเศรษฐกิจสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) เพือ่ ใหหนวยงานทีเ่ ก่ียวของและ สถานศึกษาใชเปนแนวทางในการพัฒนา และขับเคลื่อนการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาของประเทศ ใหสอดคลอง กับเปาหมายและทศิ ทางของการ พัฒนากําลังคนตามยทุ ธศาสตรชาติ โดยเฉพาะอยางย่ิงการสรางความสามารถใน การแขงขัน การพฒั นา และเสริมสรางศักยภาพคน แผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579 ฉบับนี้ เปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับหนวยงาน สถานศึกษา ใชเปนเครื่องมือในการจัดการอาชีวศึกษาใหบรรลุผลตามเปาหมายและเจตนารมณของการ พัฒนาประเทศ เนอ่ื งจากมสี าระสาํ คัญประกอบดวย แนวคิดการจดั การอาชวี ศกึ ษา วิสัยทัศนของ แผนพฒั นาการอาชีวศกึ ษา พันธ กิจของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา วัตถุประสงคของแผนพัฒนา การอาชีวศึกษา เปาหมายของผูสําเร็จการ อาชีวศึกษา ยุทธศาสตรการอาชวี ศึกษา กลยุทธ แผนงาน โครงการ และตัวชี้วดั ที่ครอบคลุมกระบวนการในการ บรหิ ารจดั การอยางมีประสทิ ธิภาพ แผนกวชิ าช่างอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ วิทยาลยั เทคนิคนครสวรรค์

สารบัญ หนา้ เรอื่ ง ๑ คำนำ ๑ สารบญั ๒ สารบญั ตาราง ๒ สารบัญภาพ ๓ บทท่ี ๑ บทนำ ๓ ๔ ๑. หลกั การและเหตุผล ๕ ๒. วตั ปุ ระสงค์ ๕ ๓. ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ ๕ ๔. เปา้ หมาย ๖ ๕. ข้ันตอนการดำเนนิ งาน ๘ ๖. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ ๘ บทท่ี ๒ เอกสารงานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง ๑๐ ๑. แนวคิด หลักการ ทฤษฎี กฎที่เกีย่ วข้องกับเรื่องท่ีศกึ ษา ๑๐ ๑๐ ๑.๑ แนวคิดเกีย่ วกับการจัดการศึกษาระดบั อาชีวศกึ ษา ๑๒ ๑.๒ นโยบายส่งเสริมการเรียนระดบั อาชีวศึกษา ๑๒ ๑.๓ กรอบแนวคิดแผนพัฒนาการศึกษาอาชวี ศึกษา ๑๓ ๑.๔ ปจั จยั ทีเ่ กย่ี วข้องกบั การเรียนระดบั อาชีวศึกษา ๑๔ บทท่ี ๓ วิธดี ำเนนิ โครงการ ๑๖ ๑. การกำหนดกลมุ่ ประชากร และกลุม่ ตัวอยา่ ง ๑๖ ๒. การกำหนดระยะเวลาในการดำเนินโครงการ ๑๖ ๓. เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมินโครงการ ๔. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๕. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๖. สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล บทท่ี ๔ สรุปผลการดำเนินงาน ๑. สรปุ ผลการดำเนินงาน ๒. สรุปผลการบรรลุเป้าหมาย

สารบญั (ตอ่ ) เรือ่ ง หนา้ ๓. ความพึงพอใจของครแู นะแนวในสถานศึกษา ๑๖ ๒๐ บทที่ ๕ สรุปผล อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ ๒๐ ๑. วตั ถปุ ระสงค์ ๒๐ ๒. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั ๒๐ ๓. สรปุ การดำเนินโครงการ ๒๑ ๔. อภิปรายผล ๒๑ ๕. ขอ้ เสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ก. หนงั สือ ศธ ๐๖๓๒/ว.๐๐๙๕ ขออนุญาตเข้าแนะแนวการศึกษาและแนะนำ วทิ ยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ ภาคผนวก ข. เอกสารแนะนำแผนกวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนกิ ส์และเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ วิทยาลัยเทคนคิ นครสวรรค์ ภาคผนวก ค. รปู ภาพการดำเนนิ การโครงการฯ ภาคผนวก ง. แบบสอบถามผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมแนะแนวศกึ ษาตอ่ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) และระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ภาคผนวก จ. รายชอื่ ผดู้ ำเนินโครงการฯ

สารบญั ตาราง หนา้ ๓ ตาราง ๑๐ ตาราง ขั้นตอนการดำเนนิ งาน ๑๑ ตาราง การกำหนดระยะเวลาในการดำเนินโครงการ ๑๔ ตาราง ตารางรายช่ือสถานศกึ ษาและครูแนะแนว ตดิ ต่อประสานงาน ๑๔ ตาราง ผ้ปู ระเมนิ (รวม ๓๐ คน โดยผู้ประเมินเป็นครูแนะแนว ๓๐ โรงเรยี น) ๑๗ ตาราง การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ๑๗ ตาราง ขอ้ มูลทัว่ ไปของผู้ทำแบบประเมนิ ๑๘ ตาราง ผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของครูแนะแนวในสถานศกึ ษาที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม ผนวก จ. ตาราง ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู การแนะแนวการศกึ ษาตอ่ โดยการดำเนนิ การทางสถติ ิ ตาราง รายชื่อผู้ดำเนนิ โครงการฯ

สารบัญภาพ หน้า ผนวก ค. รูปภาพ ๑. บรรยายการศึกษาต่อแผนกวิชาอิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ งานตลาด ผนวก ค. แนะแนว ณ โรงเรยี นชุมแสงชนทู ิศ ผนวก ค. ๒. นิทรรศการแนะแนวการศึกษาตอ่ งานตลาดแนะแนว ณ โรงเรยี นชมุ แสงชนูทศิ ผนวก ค. ๓. บรรยากาศกิจกรรมงานตลาดแนะแนว ณ โรงเรียนชุมแสงชนทู ิศ ผนวก ค. ๔. โครงการแนะแนวศกึ ษาต่อฯ ณ โรงเรียนวงั เมอื งชนประสทิ ธ์วิ ทิ ยาคม ผนวก ค. ๕. โครงการแนะแนวศึกษาต่อฯ ณ โรงเรยี นเทศบาลวัดจอมครี ีนาคพรต (ท.๖) ผนวก ค. ๖. โครงการแนะแนวศึกษาตอ่ ฯ ณ โรงเรยี นวัดศรีอทุ มุ พร ๗. นทิ รรศการณ์แนะแนวการศกึ ษาต่อ แผนกวชิ าอเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละเทคโนโลยี ผนวก ค. คอมพิวเตอรง์ านเปดิ โลกวิชาการ ณ โรงเรยี นท่าตะโกพิทยาคม ผนวก ค. ๘. โครงการแนะแนวศกึ ษาต่อฯ ณ โรงเรยี นทา่ ตะโกพิทยาคม ผนวก ค. ๙. โครงการแนะแนวศกึ ษาต่อฯ ณ โรงเรยี นวัดพนมเศษ ผนวก ค. ๑๐.โครงการแนะแนวศกึ ษาต่อฯ ณ โรงเรยี นวัดพนมเศษ ผนวก ค. ๑๑.โครงการแนะแนวศกึ ษาตอ่ ฯ ณ โรงเรยี นพยหุ ะพทิ ยาคม ผนวก ค. ๑๒.โครงการแนะแนวศึกษาต่อฯ ณ โรงเรยี นบา้ นแก่งชชั วลิตวิทยา ผนวก ข. ๑๓.โครงการแนะแนวศึกษาตอ่ ฯ ณ โรงเรยี นเทศบาลวัดไทรใต้ (ท.๑) ผนวก ข. ๑๔.โครงการแนะแนวศกึ ษาตอ่ ฯ ณ โรงเรยี นเทศบาลวัดสคุ ตวราราม (ท.๗) ๑๕.ไลน์แอดแผนกวชิ าชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์

๑ บทท่ี ๑ บทนำ ๑. หลกั การและเหตผุ ล สืบเนื่องจากวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ มีนโยบายเกี่ยวกับคุณภาพของนักเรียน นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ซึ่งเสนอให้ควรมีการพิจารณา ทบทวนกระบวนการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษาเข้าศึกษาของวิทยาลัยโดยมีการแสวงหา สนับสนุนและส่งเสริม นักเรยี นท่ีมศี ักยภาพสูงเขา้ ศึกษาเพมิ่ มากข้นึ เพอ่ื สง่ ผลต่อคณุ ภาพนกั เรยี น นักศกึ ษาท่สี อดคล้องตามความต้องการ ของสังคมและตลาดแรงงาน ประกอบกับปัจจุบันวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ เป็นสถาบันที่เปิดรับนักเรียน นักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายสอดคล้องต่อความตอ้ งการของผูเ้ รยี นและมี นักเรียนเลือกสมัครสอบเข้าศกึ ษาเปน็ จำนวนมากอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นหลกั สูตรภาคปกติ หลักสูตรทวิศึกษา ทั้งในระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) และระดับปริญญาตรีซึ่งนบั เป็น วทิ ยาลยั ท่ีใหโ้ อกาสในการเขา้ ศกึ ษาต่อเพ่ือสง่ เสรมิ ผ้เู รียนมโี อกาสเข้าศึกษาต่อในสาขาวิชาทสี่ นใจและมีความถนัด ได้มากย่ิงขึน้ การแนะแนวการศกึ ษาเชงิ รุก โดยเจาะเฉพาะกลุ่มเป้าหมายจงึ เปน็ สิ่งสำคญั และมีความจำเป็นอย่าง ย่ิงทวี่ ิทยาลยั จะตอ้ งเรง่ ดำเนินการเพือ่ เปน็ การแสวงหาและส่งเสริมให้นกั เรียนที่มีศักยภาพสงู มีโอกาสเข้าศึกษาใน วิทยาลัยเทคนคิ นครสวรรค์และรับทราบข้อมูลเกี่ยวการรับเข้าศกึ ษาต่อได้อยา่ งถูกต้อง ชัดเจนและมีระยะเวลาท่ี เหมาะสมในการตัดสนิ ใจเลือกสาขาวชิ าท่จี ะสมัครเข้าเรยี น แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ ได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญดังกล่าว จึงจัดให้มีโครงการแนะแนวการศึกษาเชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอน ต้น-ปลาย เพ่ือ เผยแพร่ข้อมูลการศึกษาต่อระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) ให้แก่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ -ปลายในจังหวัดนครสวรรค์หรือในโรงเรยี นมัธยมศึกษาท่ีอยู่ในกลุ่มเป้าหมายซึ่งมี นักเรียนที่มีศักยภาพสูงเพื่อรับเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ทั้งในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างอิเล็กทรอนิกส์ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขา อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในรอบรับสมัครทั่วไปและเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมลู แนะแนวการศึกษาให้กับนักเรียนมัธยมศกึ ษาตอนต้น-ปลายอย่างทัว่ ถึง การดำเนินการดังกล่าวจะ ช่วยใหน้ ักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น-ปลายมีขอ้ มลู ประกอบการตัดสินใจกอ่ นการสอบคัดเลือกเข้าศกึ ษาในแผนก วิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ นอกจากนี้เพื่อเป็นช่องทางให้แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์มโี อกาสคัดเลอื กและสรรหานักเรียนท่ีมีศกั ยภาพสูงเข้าศกึ ษาต่ออนั จะส่งผลให้สังคมมี ความเชื่อมั่นและความสำเร็จของสถาบันในการผลิตนักเรียน นักศึกษาที่มีคุณภาพและรักษาความเป็นวิทยาลัย ยอดนิยมทจ่ี ดั การเรียนการสอนตามความตอ้ งการของผเู้ รยี นและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน

๒ ดังนั้น การจัดโครงการแนะแนวการศึกษาเชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอน ต้น-ปลายเขตจังหวัด นครสวรรค์ของวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์จึงนับเป็นการดำเนินการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพ นกั เรยี น นกั ศกึ ษาทกุ ระดับชน้ั โดยปรบั กระบวนการแสวงหาและสง่ เสริมนักเรียนที่มีผลการเรียนดีให้ได้รับทราบ ข้อมูลการเขา้ ศึกษาตอ่ ในแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ และเพื่อเปน็ การประชาสมั พันธ์ข้อมูลเชงิ รกุ ไปยังโรงเรียนมัธยมศึกษาต่อนตน้ -ปลายซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายในการ เผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารอย่างทัว่ ถงึ รวมทง้ั เพอ่ื รกั ษามาตรฐานคุณภาพความเป็นวิทยาลัยยอดนิยมให้คงอยู่โดยเปิด โอกาสให้นักเรียน ผู้ปกครองและบุคคลทั่วไปรู้จักแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์มากยิ่งขึ้น และช่วยสะท้อนให้วิทยาลัยเห็นทิศทางความต้องการของนักเรียนใน การศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และปริญญาตรีเทคโนลีบัณฑิต เพื่อ นำไปสกู่ ารบรหิ ารจดั การด้านวชิ าการอย่างเปน็ ระบบต่อไป ๒. วตั ปุ ระสงค์ ๒.๑ เพอื่ ประชาสัมพันธ์เชงิ รกุ ในการใหข้ ้อมลู การศึกษาตอ่ ในแผนกวิชาอิเล็กทรอนกิ ส์ สาขาชา่ งอิเลก็ ทรอนกิ ส์ และสาขาช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์แก่ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอยา่ งท่วั ถงึ มากยิ่งข้นึ ๒.๒ เพื่อประชาสัมพันธ์เชิงรุกในการให้ข้อมลู การศึกษาต่อในแผนกวิชาอิเล็กทรอนกิ ส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม (ม.๖) และสาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิทยาลัยเทคนคิ นครสวรรค์แกน่ กั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลายอย่างท่ัวถงึ มากย่ิงข้นึ ๒.๓ เพือ่ เสรมิ สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจในสาขาวิชาชีพและการเรียนการสอนของแผนกวชิ าอเิ ล็กทรอนิกส์ และ สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ตามโครงการหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) อย่าง ชัดเจนเพื่อเป็นประโยชน์แกน่ ักเรยี นในการเลือกแนวทางการศกึ ษาต่อในแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และสาขา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ ๒.๔ เพ่ือใหบ้ ริการแนะแนวการศกึ ษาในสายอาชีวศึกษาและอาชีพ โดยมหี นว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบอย่าง ชัดเจน เปน็ ระบบและ มกี ารวางแผนดำเนินการเชงิ รุกอย่างตอ่ เน่ือง ๓. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ คณะครู ครูพิเศษสอน และนักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู แผนกวชิ าชา่ งอิเลก็ ทรอนกิ ส์ วิทยาลัยเทคนิค นครสวรรค์

๓ ๔. เปา้ หมาย ๔.๑ เชงิ คณุ ภาพ ๔.๑.๑ นักเรียนมีความเข้าใจในการศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชาช่าง อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และชา่ งเทคนิคคอมพิวเตอร์ ๔.๑.๒ นักเรียนมีความเข้าใจในการศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชา อิเลก็ ทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรม (ม.๖) และสาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ๔.๒ เชงิ ปรมิ าณ ๔.๒.๑ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาชนั้ ปที ่ี ๓ และระดบั มธั ยมศึกษาชั้นปีท่ี ๖ จำนวน ๓๕ โรงเรียน ๔.๒.๒ เพิ่มจำนวนนักเรียน นักศึกษาแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม (ม.๖) และเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ๕. ขนั้ ตอนการดำเนินงาน ลำดบั ขั้นตอนการดำเนินการ ระยะเวลาดำเนนิ งาน (สปั ดาห์ ๑-๑๘) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑. รับฟังนโยบาย จัดตั้งคณะผู้ ดำเนินโครงการ ๒. วางแผนดำเนินงานโครงการ ๓. ติดต่อ ประสานงานแนะแนว ในโรงเรยี นต่าง ๆ ร่างหนังสือขออนุญาต และ นำเสนอหนังสือขออนุญาต ๔. แนะแนวการศึกษาต่อใน แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนกิ ส์ แ ล ะ ส า ข า เ ท ค โ น โ ล ยี คอมพิวเตอร์ แนะแนวการศึกษาต่อใน แผนกวิชาช่างอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๕. แ ล ะ ส า ข า เ ท ค โ น โ ล ยี คอมพิวเตอร์ ในแต่ละ โรงเรยี น ๖. สรุปผลการดำเนินงาน กจิ กรรมโครงการฯ

๔ ๖. ผลท่คี าดว่าจะได้รับ ๖.๑ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๓ สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชาช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และชา่ งเทคนคิ คอมพิวเตอร์ วทิ ยาลัยเทคนคิ นครสวรรค์ร้อยละ ๗๐ ๖.๒ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๖ สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์อตุ สาหกรรม และสาขาเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรคร์ ้อยละ ๗๐

๕ บทที่ ๒ เอกสารงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้อง ๑. แนวคิด หลกั การ ทฤษฎี กฎทเ่ี กยี่ วข้อกับเร่ืองทีศ่ กึ ษา การศึกษาเอกสาร หลกั การที่เกีย่ วขอ้ งกบั การแนะแนวการศึกษาตอ่ ในระดบั อาชีวศึกษา ผู้จัดทำ โครงการแบง่ การศกึ ษาออกเปน็ ๓ ข้นั ตอน ดังน้ี ตอนท่ี ๑ แนวคดิ เกี่ยวกบั การจัดการศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษา ตอนที่ ๒ แนวคดิ นโยบายการส่งเสรมิ การเรียนระดบั อาชวี ศกึ ษา ตอนท่ี ๓ กรอบแนวคดิ แผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา ตอนท่ี ๔ ปัจจัยท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการเรียนระดบั อาชีวศกึ ษา ๑.๑ แนวคดิ เก่ียวกับการจดั การศกึ ษาระดับอาชีวศกึ ษา ๑.๑.๑ หลกั การจัดการอาชีวศึกษา การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพต้องเป็นการจัดการศึกษาในด้านวิชาชีพ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนในด้านวิชาชีพระดบั ฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้นเพื่อให้ สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงานโดยนำความรู้ในทางทฤษฎีอนั เป็นสากลและภูมิปัญญาไทย มาพัฒนาผ้รู ับการศึกษาใหม้ ีความรคู้ วามสามารถในทางปฏิบตั ิและมีสมรรถนะจนสามารถนำไปประกอบ อาชพี ในลักษณะผู้ปฏิบตั หิ รอื ประกอบอาชีพอิสระ ๑.๑.๒ ภารกิจของการจัดการอาชีวศึกษา ในการจัดการรอาชีวศึกษามภี ารกิจสำคัญ ได้แก่ การ จัดการอาชีวศึกษา เป็นการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิชาชีพ ในระดับฝีมือ (ปวช.) ระดับเทคนิค (ปวส.) และระดับเทคโนโลยี (ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ) และการฝึกอบรมวิชาชีพ เป็นการเพม่ิ พูนความรูแ้ ละการฝกึ ทกั ษะอาชีพ ๑.๑.๓ ค่านยิ มอาชวี ศกึ ษา ในการจดั การอาชีวศึกษามคี า่ นยิ มท่ีเป็นเปา้ หมายหลกั ในการปลกู ฝงั ท่ีสำคญั ๔ ประการ ได้แก่ คุณธรรม (Merit) หมายถึง ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและสังคมซึง่ มีพื้นฐาน มาจากหลักศีลธรรมทางศาสนา เป็นค่านิยมทางวัฒนธรรม ประเพณี หลักกฎหมาย และจรรยาบรรณ วิชาชีพ คุณภาพ (Quality) หมายถึง ผู้สำเร็จการอาชีวศึกษามีสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อาชวี ศึกษาแหง่ ชาติ และมาตรฐานคณุ วุฒกิ ารอาชีวศกึ ษาแต่ละระดับ

๖ ความร่วมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถและทักษะในการจัดการและการพัฒนา งาน รวมทง้ั การทำงานรว่ มกับผู้อ่ืน ความเป็นมืออาชีพ (Professional) หมายถึง ความรู้ ทักษะ และความสามารถในด้านวิชาชีพ รวมทง้ั การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ ในดา้ นวิชาชีพเพ่อื การประกอบอาชพี อสิ ระ ๑.๒ นโยบายการสง่ เสริมการเรียนระดบั อาชีวศึกษา (ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๕๕๐:๒) กลยุทธ์เชิงรุกเพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผู้เรียน อาชีวศึกษา เปน็ นโยบายท่ีสำคญั ย่ิงในสภาวการณ์ท่ีสถานประกอบการ มีความ ขาดแคลนกำลังคนระดับ เทคนิคและระดับเทคโนโลยีอย่างรุนแรงโดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาที่เป็น ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจ ของประเทศไทย ซึ่งสอดรับกับ นโยบาย ปฏิรูปการศึกษาของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ต้องการเสริมสร้าง ศักยภาพของบุคลากรเพื่อการแข่งขันในเวทีโลกสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดย นายวีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ เลขาธิการ คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ได้ประกาศเจตนารมณ์ขับเคลื่อน นโยบายลงสู่การ ปฏิบัติ โดยมีเป้าหมายเพิ่มปริมาณ ผ้เู รียนอาชีวศึกษา และพัฒนาคุณภาพผจู้ บการศึกษาใหต้ รงกบั สมรรถนะในการทำงานอยา่ งแทจ้ รงิ ซงึ่ ได้ กำหนดมาตรการ ๑๒ ข้อ เป็นกรอบการปฏิบัติงาน ของสถานศึกษาในสังกัด ๔๐๔ แห่งทั่วประเทศ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๕๐ มาตรการท่ี ๑ การเพิ่มปริมาณผู้เรียน : โดยปรับรูปแบบการรับนักเรียนให้มีความหลากหลายและ ยดื หยุ่นมากข้นึ โดยยงั คงยึดยุทธศาสตร์ “อยากเรียนสาขาใด ตอ้ งได้เรยี นสาขาวิชาน้ัน” ภายใต้ความเชื่อ วา่ หากนักเรยี นได้เรียนในสิ่งท่ถี นดั แลสนใจ จะสามารถเรียนไดด้ ี และมโี อกาสประสบความสำเร็จในการ เรยี นไดม้ ากขน้ึ มาตรการท่ี ๒ ขยายการเปดิ รับนกั เรียนระดบั ปวช. ในโรงเรียนมัธยมศกึ ษา : เพ่ือรองรับนกั เรียน จากโรงเรียนขยายโอกาสหรือโรงเรียนมัธยมในพื้นที่ห่างไกล ที่ต้องการเรียนสายวิชาชีพ แต่ไม่มี สถานศึกษาประเภทอาชวี ศกึ ษารองรบั มาตรการท่ี ๓ ส่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนแบบเทียบโอนประสมการณ์การณ์อาชพี : เพ่ือเปิด โอกาสให้พนักงานในสถานประกอบการทุกสาขาอาชีพหรือผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระสามารถนำความรู้ ประสบการณ์อาชีพไปขอประเมินเทียบหน่วยกติ การเรียน เพื่อโอนเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยการเรยี นตาม หลักสูตรระดบั ปวช. หรือระดบั ปวส. มาตรการท่ี ๔ กำหนดสมรรถนะในการเรียน ๓ ระดับ (ใช้ – ซ่อม – สร้าง) : เพื่อจัดระบบการ เรียนให้ตรงกับสมรถนะในการทำงานจริง โดยให้สถานศึกษาจัดรายวิชาเลือกที่มีความหลากหลายและ ยดื หยุน่ เพื่อใหก้ ารจัดแผนการเรียนตอบสนองความสนใจของผู้เรียน ๓ ระดบั ได้แก่ ระดับสมรถนะท่ี ผู้จบการศึกษา สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในงานอาชีพได้ ระดับสมรรถนะที่สามารถ ซ่อม

๗ ปรับปรงุ คดิ วิเคราะห์และแกไ้ ขปญั หาได้ ระดบั สมรรถนะที่สามารถสรา้ งสรรค์ พัฒนาคิดคน้ สิง่ ประดิษฐ์ และนวัตกรรมใหมไ่ ด้ มาตรการท่ี ๕ ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ : โดยจัดให้มีการเรียนการสอนแบบ บรู ณาการเรียนเป็นเรื่องเป็นชิน้ งาน เปน็ โครงการ และสร้างโอกาสใหน้ กั เรยี นไดฝ้ ึกปฏบิ ัติในสถานการณ์ ทำงานจริง โดยใช้โรงฝึกงานของสถานศึกษา โรงงานของสถานประกอบการ และสถานการณ์ทำงาน จรงิ ในขุมชนทอ้ งถนิ่ เป็นแหลง่ ฝึกทักษะวิชาชีพ มาตรการที่ ๖ สรา้ งเครอื ข่ายพนั ธมิตร : โดยขยายความรว่ มมอื กับสภาอตุ สาหกรรจงั หวัด หอการคา้ จังหวัด และองค์กร วิชาชีพโลก เพื่อร่วมจักการอาชีวศึกษาภายใต้หลักการ “ผู้ใช้ร่วมคิดผู้ผลิตร่วม กำหนด” เป็นการเช่อื มโยงโลกแหง่ การเรียนและการทำงานให้มีความใกลช้ ดิ มากขึ้น มาตรการท่ี ๗ การสร้างผู้ประกอบการใหม่ : กำหนดกลไกขับเคลื่อน ระบบการให้ความช่วยเหลือ แนะนำ และการต่อยอดความรู้ด้านการประกอบธุรกิจผลักดนั ให้ผู้สำเร็จอาชีวศกึ ษาเป็น ผู้ประกอบการ ใหม่ที่เข้มแข็ง ภายใต้การสนับสนุนความรู้และบูรณาการใช้ทรัพยากรระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ อาทิ ตลาดหลักทรพั ย์ แห่งประเทศไทย สำนกั งานสง่ เสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม ธนาคาร พฒั นา วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน และสถาบนั คีนัน เป็นต้น มาตรการท่ี ๘ การพัฒนาอาชีพแบบบูรณาการ : ให้อาชีวศึกษาจังหวัดทุกแห่งบูรณาการเชื่อมโยง การทำงานและใช้ทรัพยากรทางวิชาชีพ ร่วมแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในพื้นที่ ภูมิสังคม อาชีพ เพื่อสนับสนุนโครงการจังหวดั อยู่ดีมสี ุขของรฐั บาลโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ การมีส่วน ร่วมและแลกเปล่ียนเรยี นรู้ เพอื่ เปน็ แนวทางสร้างความสำเรจ็ ร่วมกัน มาตรการท่ี ๙ คุณธรรมนำวิชาชีพ : สร้างเจตคติ ปลูกจิตสำนึก และปรับพฤติกรรมของนกั เรยี น และบุคลากร ด้วยระบบคุณธรรมนำวิชาชีพ รวมทั้งการสร้างความตระหนักในคุณค่า ของปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี และวิถชี วี ติ ของประชาธิปไตย มาตรการที่ ๑๐ เสรมิ สร้างประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการด้านการเงินปละบุคลากรอาชีวศกึ ษา : มแี ผนการใชจ้ ่ายเงินอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เนน้ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ เปน็ ธรรม ตามหลกั ธรรมาภิบาล และมีระบบตรวจสอบภายใน ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม และสร้างขวัญกำลังใจแก่ บคุ ลากรทุก มาตรการที่ ๑๑ การศึกษาดูงานเพื่อการเรียนอย่างมีเป้าหมาย : เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ มองเหน็ เส้นทางอาชีพและโอกาสของการทำงานในอนาคต สถานศกึ ษาทกุ แห่ง ตอ้ งจัดให้นกั ศึกษาระดับ ปวช. และระดับ ปวส.ชั้นปีที่ ๑ ทุกคนไปศึกษาดูงานในสถานประกอบการในสัปดาห์ ๑-๒ ของภาค เรียนแรก เพอื่ จะช่วยใหน้ ักศึกษาไวว้ าง แผนการเรยี นไดอ้ ย่าง มเี ป้าหมายชัดเจนมากขึ้น และเป็นประตู ด่านแรก ที่จะทำใหค้ รแู ละ นกั เรียนมคี วามใกลช้ ิดกัน ก่อนเรม่ิ การเรยี นการสอน

๘ มาตรการที่ ๑๒ การจดั การความรู้ : ปรับปรุงประสทิ ธภิ าพและเร่งรดั งานภารกจิ ใหม่ท่ีมคี วามสำคัญ และจำเป็นเร่งด่วน สร้างจุดแข็งในการดำเนินงานให้มีความสะดวกรวดเร็ว คุ้มค่ากับการลงทุน มี ประสิทธิภาพสงู และบรรลุเปา้ หมายขององค์กร กลยุทธก์ ารดำเนนิ งานของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาขา้ งตน้ รวมทัง้ ความมงุ่ มนั่ ใน การพัฒนาภารกิจขององค์กรและการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ ของนักศึกษาอาชีวศึกษามาอย่างต่อเนื่องใน ระยะ ๓-๔ ปีที่ผ่านมา น่าจะมีส่วน ช่วยผลักดันให้ทุกองคาพยพอาชีวศึกษามีความเข้มแข็ง และ ร่วมกันปฏิบัติภารกิจ เพื่อดำรงสถานการณ์เป็นหน่วยงานพัฒนาทักษะวิชาชีพและยกระดับคุณภาพ เยาวชน และประชาชนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลสอดคลอ้ ง กับเป้าหมายและทิศทางการ พฒั นาของประเทศได้เปน็ อย่างดี ๑.๓ กรอบแนวคิดแผนพฒั นาการอาชีวศึกษา กรอบแนวคิดของแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ แสดงใหเ้ ห็นถึงความสัมพันธ์ ระหวา่ งยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการอาชีวศึกษา ได้แก่ ๑.๓.๑ การจัดการอาชีวศกึ ษาเพอ่ื ความม่นั คงของสงั คมและประเทศชาติ ๑.๓.๒ การผลติ และพฒั นากำลังคนด้านอาชวี ศกึ ษาเพอ่ื สร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ๑.๓.๓ การพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะ สอดคล้องกับความต้องการในการ พฒั นาประเทศ ๑.๓.๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมในด้านอาชวี ศกึ ษา ๑.๓.๕ การจดั การอาชีวศึกษาเพื่อสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ิตท่ี เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ๑.๓.๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการบริหารจัดการอาชีวศกึ ษาท่ีสง่ ผลต่อสมรรถนะของผู้สำเร็จ อาชีวศึกษา ในด้านคุณภาพ ได้แก่ ด้านคุณลักษณ์ที่พงึ ประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ด้านสมรรถนะวิชาชีพ และค่านิยมอาชีวศึกษา ได้แก่ คุณธรรม คุณภาพ ความร่วมมือ และความเป็นมอื อาชพี ๑.๔ ปัจจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การเรยี นระดบั อาชวี ศกึ ษา ๑.๔.๑ ปัจจัยด้านเจตคติในการเรียนวิชาชีพ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อระบบการศึกษาระดับอาชีวศึกษาเห็นว่า การศึกษาระดับอาชีวศึกษา เม่ือ ศึกษาจบแล้วสามารถหางานทำได้ง่าย มีความเหมาะสมกับสติปัญญาของตน มีความถนัดในการศึกษา ระดับอาชีวศึกษา นักเรียนมีความเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เมื่อจบในประเภทวิชาท่ี ศึกษาแล้วสามารถประกอบอาชพี อสิ ระได้ สามารถศกึ ษาตอ่ ในระดับที่สูงขึน้ ได้ ประเภทวิชาที่เลือกศึกษา เปน็ ที่ตอ้ งการของตลาดแรงงาน เมื่อศึกษาจบแล้วจะได้ ค่าตอบแทนสงู ซึ่งสอดคล้องกับงานวจิ ยั ของ มนสั ชูราศี (๒๕๕๐) ได้ศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ใน

๙ สถานศึกษาสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ ๓ พบวา่ ปจั จยั ที่มอี ทิ ธพิ ล ต่อการตดั สินใจในระดับมาก คือ ปัจจยั ดา้ นเจตคติ ดา้ นลกั ษณะงาน และความก้าวหน้า ดา้ นการคล้อยตามกลุ่มเพอื่ นหรือรุน่ พี่ ๑.๔.๒ ปจั จยั ดา้ นแรงจงู ใจในการเข้าศึกษาต่อ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ทง้ั นี้ อาจเป็นเพราะว่า นักเรียนเห็นรุ่นพี่ศึกษาจบออกมาแล้วประสบความสำเร็จในชีวิต เป็นที่ยอมรับของสังคม สถาบั น ครอบครัวส่งเสริมและสนับสนุนในการเข้าศึกษาต่อ สถานศึกษาให้โควต้าในการเข้าศึกษาต่อกรณีพิเศษ สถานศึกษาจัดสวัสดิการให้แก่นักเรียน อย่างมีคุณภาพและทั่วถึง ค่าเล่าเรียนถูกนักเรียนได้เรียนรู้จาก สถานการณ์จริง มีการโฆษณา และประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับสถานศึกษาผ่านสือ่ ต่าง ๆ งานแนะแนวของ สถานศึกษาให้ข้อมูล ที่เป็นประโยชน์ เกี่ยวกับการศึกษาต่อ ซึ่งสอดคล้องกบั งานวิจัยของ ขวัญกมล จีน วงศ์ (๒๕๕๐) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนต่อในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ใน ระดับ ปวส. สาขาบริหารธุรกิจ ของนักเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ระดับปวช.3 สายพาณิชยกรรม ในเขต อำเภอเมอื งเชยี งใหม่ พบว่า ปจั จัยทางการตลาดมีอิทธพิ ลต่อการตัดสินใจเลอื กเรียนสถานศึกษาโรงเรียน เอกชน อย่ใู นระดับมาก ๑.๔.๓ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกของสถานศึกษา พบว่า ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะว่า สถานศึกษาตั้งอยู่ใกล้แหล่งชุมชน การเดินทางมาสถานศึกษา สะดวกสบาย สถานศึกษามีความร่มรื่นสวยงามน่าอยู่ และพื้นที่กว้างขวาง มีอุปกรณก์ ารเรยี นการสอนท่ี เพียงพอและทันสมัย มีครูผู้สอนและบุคลากร ทางการศึกษาที่มีความรู้ความสามารถและเป็นที่ยอมรับ ของสังคม สถานศึกษามีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับของสังคม ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปริวิชญ์ ไชย ประเสรฐิ (๒๕๔๙) ได้ศึกษา ปัจจยั ที่มผี ลต่อการตัดสินใจเลอื กศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพของ นักเรียน ในสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย โดยสรุปได้ว่า ผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษาจะ ประกอบด้วย สินค้า บริการ และความคิด ได้แก่ ด้านเนื้อหา หลักสูตรและวัสดุอุปกรณ์ในสถานศึกษา ด้านครู บุคลากร และนักเรียนในสถานศึกษา ด้านภาพลักษณ์และชื่อเสียงของสถานศึกษา ด้าน กระบวนการเรยี นการสอนและการให้บริการ และดา้ นอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม ทางกายภาพซ่ึง ผูเ้ รยี นส่วนใหญ่ใหค้ วามสำคัญในระดับมาก

๑๐ บทท่ี ๓ วธิ ดี ำเนินโครงการ ในการดำเนนิ โครงการครั้งน้ี ผดู้ ำเนินโครงการไดด้ ำเนินการตามข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. การกำหนดกล่มุ ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ๒. การกำหนดระยะเวลาในการดำเนินโครงการ ๓. เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมินโครงการ ๔. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๕. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๖. สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู ๑. การกำหนดกลมุ่ ประชากร และกลุม่ ตัวอย่าง ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการดำเนินโครงการ ประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้าคร้งั นีเ้ ปน็ ครูงานแนะแนว นกั เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาชั้นปีท่ี ๓ และระดับมัธยมศกึ ษาช้ันปที ี่ ๖ จำนวน ๒๐ โรงเรียน กลมุ่ ตัวอย่างในการดำเนินโครงการ กลุ่มตัวอย่างในการประเมินผลการดำเนินการโครงการครั้งนี้คือ ครูงานแนะแนว ระดับ มธั ยมศกึ ษาช้ันปีท่ี ๓ และระดบั มัธยมศึกษาชน้ั ปีท่ี ๖ จำนวน ๑๐ คน ๒. การกำหนดระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงการในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ โดยใช้เวลาในการ ดำเนินโครงการ ๑๕ สัปดาห์ (สัปดาห์ที่ ๓ ถงึ สปั ดาหท์ ี่ ๑๘) สัปดาห์ละ ๓-๔ โรงเรยี น ท่ี รายละเอียด ระยะเวลาดำเนินโครงการ (สัปดาห์) ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑ จัดเตรยี มโครงการฯ ๒ ติดตอ่ ประสานงาน สถานศึกษาระดับ มธั ยมศกึ ษา ๓ จัดทำ นำส่งหนงั สอื ขอ อนุญาตแนะแนวศึกษาต่อ ๔ แนะแนวการศกึ ษาตอ่ ใน ระดบั ปวช. และปวส. ๕ สรุปโครงการฯ

๑๑ ๒.๑ ตารางรายช่อื สถานศกึ ษาและครูแนะแนว ติดต่อประสานงาน ที่ ชอื่ สถานศกึ ษา ครูแนะแนว (ติดต่อประสานงาน) เบอร์โทรศัพท์ 1 โรงเรยี นนครสวรรค์ ครูประภัสสร 09 1457 6462 2 โรงเรยี นสตรีนครสวรรค์ ครนู ชุ ๐๕๕ ๒๒๑ ๑๕๑ ๓ โรงเรยี นนวมินทราชูทิศ มัชฌมิ ครนู ิตยา ๐๘ ๑๒๙๐ ๘๙๕๑ ๔ โรงเรยี นบา้ นแกง่ ชัชวลิตวทิ ยา ครกู ิติพงษ์ ๐๕๖ ๓๔๗ ๐๙๐ ๕ โรงเรียนบึงบอระเพด็ วิทยา ครู ๐๕๖ ๘๘๐ ๗๖๔ ๖ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูแสงเดอื น ๐๘ ๙๒๒๗ ๐๓๗๐ ๗ โรงเรียนเกา้ เล้ียววิทยา ครูปวิตญา ๐๘ ๐๓๔๑ ๔๖๖๔ ๘ โรงเรียนหัวดงราชพรหมาภรณ์ ครูวิรยิ าภร ๐๘ ๖๒๑๕ ๗๐๓๓ ๙ โรงเรียนโกรกพระ รองผู้อำนวยการวิชาการฯ ๐๘ ๗๑๙๙ ๐๘๔๐, ครกู นกวรรณ ๐๘ ๑๒๘๐ ๒๙๐๕ ๑๐ โรงเรียนเขากะลาวิทยาคม ครสู ถาพร ๐๘ ๒๕๐๖ ๘๐๒๔ ๑๑ โรงเรยี นพยุหะพิทยาคม ครูปราณี ๐๘ ๗๙๒๕ ๑๗๒๐ ๑๒ โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ ครู ๐๕๖ ๒๖๒ ๓๖๙ ๑๓ โรงเรยี นทหารอากาศอนุสรณ์ ครู ๐๕๖ ๒๖๒ ๒๓๔๖ ๑๔ โรงเรยี นชุมแสงชนทู ิศ ครสู รุ ีรัตน์ ๐๙ ๓๑๓๑ ๙๖๖๖ ๑๕ โรงเรยี นทบั กฤชพฒั นา ครูวันทนยี ์ ๐๖ ๑๘๕๘ ๔๖๙๘ ๑๖ โรงเรยี นไพศาลีพทิ ยา ครู ๐๕๖ ๒๕๙ ๒๐๐ ๑๗ โรงเรียนตากฟา้ วชิ าประสิทธ์ิ ครู ๐๕๖ ๒๔๑ ๓๔๒ ๑๘ โรงเรียนท่าตะโกพิทยาคม ครจู นั ทรแ์ รม ๐๘ ๙๖๔๐ ๗๑๗๗ ๑๙ โรงเรียนพนมรอกวิทยา ครรู ะวีวรรณ ๐๘ ๕๗๒๘ ๙๕๘๙ ๒๐ โรงเรียนพนมเศษวทิ ยา ครูปารฉิ ตั ร ๐๘ ๑๐๓๙ ๔๔๕๒ ๒๑ โรงเรียนเทพศาลาประชาสรรค์ ครนู ัท ๐๘ ๐๐๒๖ ๒๕๓๓ ๒๒ โรงเรียนลาดยาววิทยาคม ครูธรนนิ ๐๘ ๑๓๗๙ ๘๗๑๒ ๒๓ โรงเรียนวังเมอื งชนประสทิ ธ์ิวทิ ยาคม ครูมาโนชท์ ๐๘ ๕๗๓๖ ๔๖๔๕ ๒๔ โรงเรียนวังบ่อวิทยา ครจู ำลองรกั ษ์ ๐๘ ๙๐๗๖ ๘๗๘๗ ๒๕ โรงเรียนหนองบวั ครูสมใจ ๐๘ ๔๐๕๓ ๕๓๕๔ ๒๖ โรงเรียนวดั ศรีอทุ มุ พร ครู ๐๕๖ ๒๘๖ ๐๙๖ ๒๗ โรงเรียนอนบุ าลเมืองนครสวรรค์ (เขากบ วิวรณ์ ครูจนิ ตนา ๐๘ ๑๕๓๔ ๒๘๑๑ สุขวทิ ยา) ๐๕๖ ๒๒๑ ๓๓๒ ๐๘ ๐๙๗๔ ๒๖๙๕ ๒๘ โรงเรียนโพฒสิ ารศกึ ษา ครู ๐๕๖ ๒๒๒ ๔๐๓ ๐๘ ๖๒๑๕ ๑๗๔๑ ๒๙ โรงเรยี นเทศบาลวดั ไทรใต้ (ท.๑) ครเู ยาวลักษณ์ ๐๕๖ ๒๒๒ ๒๑๔ ๐๖ ๑๙๐๑ ๘๓๘๓ ๓๐ โรงเรยี นเทศบาลวัดพรหมจริยาวาส (ท.๓) ครู ๐๕๖ ๐๐๐ ๒๙๒ ๐๘ ๖๒๑๕ ๑๗๔๑ ๓๑ โรงเรยี นเทศบาลวดั วรนาถบรรพต (ท.๔) ครูนรมล ๓๒ โรงเรยี นเทศบาลวัดชอ่ งครี ศี รีสิทธิวราราม (ท.๕) ครนู ุช ๓๓ โรงเรยี นเทศบาลวัดจอมครี นี าคพรต (ท.๖) ครอู ำภรณ์ ๓๔ โรงเรยี นเทศบาลวัดจอมคีรีนาคพรต (ท.๗) ครู ๓๕ โรงเรยี นลาซาลโชตริ วนี ครสวรรค์ ครูนรมล

๑๒ ๓. เครือ่ งมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ ๓.๑ เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมินโครงการ ๓.๑.๑ แบบสอบถามผู้เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวศึกษาต่อประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ผู้ดำเนินโครงการได้ กำหนดประเด็นการประเมนิ ความพงึ พอใจของครูแนะแนวและนกั เรยี น ดังต่อไปน้ี ๓.๑.๑.๑ บริการปรึกษา/แนะแนวอาชีพ ๓.๑.๑.๒ บริการทดสอบวัดบุคลิกภาพ ๓.๑.๑.๓ บรรยาย/อภิปราย ๓.๑.๑.๔ แข่งขันตอบปัญหาอาชีพ ๓.๑.๑.๕ เผยแพร่เอกสารข้อมูลต่าง ๆ ๓.๑.๑.๖ การจัดแสดงนิทรรศการ ๓.๑.๑.๗ ทดลองฝึกปฏิบัติ สาธิตการทำอาชีพต่าง ๆ ๓.๑.๒ แบบสอบถามชนิดเลือกตอบผู้เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวศึกษาต่อประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ผู้ดำเนิน โครงการไดก้ ำหนดประเดน็ การประเมินความพงึ พอใจของครแู นะแนวและนักเรยี น ดงั ต่อไปนี้ ๓.๑.๒.๑ ความรู้และข้อมลู ที่ได้รับนำไปใช้ประโยชน์ เลือกศึกษาต่อ ๓.๑.๒.๒ ความรู้และข้อมลู ที่ได้รับนำไปใช้ประโยชน์ เลือกประกอบอาชีพ ๓.๑.๒.๓ ความพึงพอใจต่อกิจกรรมในภาพรวม ๔. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้ดำเนินโครงการได้เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งสามารถแยก ประเภทการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดด้ ังนี้ ๔.๑ การเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ศึกษา ข้อมูลการศึกษาต่อของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๓) และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) จากข้อมูล กจิ กรรมการแนะแนวของสถานศกึ ษาน้นั ๆ และจากการสัมภาษณไ์ ม่มีโครงสร้างครแู นะแนว และนกั เรยี น ทีเขา้ รวมกจิ กรรมแนะแนว

๑๓ ๔.๒ การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ผู้ดำเนินโครงการใช้วิธีศึกษาคุณภาพเพื่อทำให้เกิดความ เขา้ ใจกระบวนการดำเนนิ งานและทำกิจกรรม ผ้ดู ำเนนิ โครงการได้ใช้วธิ ีการหลักรว่ มดว้ ยการสังเกต และ การสัมภาษณ์ ต้ังแตส่ ัปดาหท์ ี่ ๖ ถึง สัปดาห์ท่ี ๑๗ ของปีการศึกษา ๒/๒๕๕๒ มรี ายละเอียดดงั ต่อไปน้ี ๑. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม คือการสังเกตของผู้ดำเนนิ โครงการได้อยู่ในกระบวนการ แนะแนว นำนำแผนกวชิ าอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์ เริ่มจาก การติดต่อประสานงาน นดั หมายวันเวลาและสถานท่ีร่วมกับครูแนะแนวของสถานศึกษานัน้ ๆ ๒. การสังเกตแบบไม่มีสว่ นร่วม ผู้ดำเนินโครงการไดส้ ังเกตสภาพท่ัวไปของสถานศึกษา ความสัมพันธร์ ะหว่างครแู นะแนวและสถาบนั การศึกษาอน่ื ๆ นกั เรยี นกบั ชุมชน แหลง่ เรยี นร้ใู นชุมชน ๓. การลงพื้นที่ภาคสนาม ผู้ดำเนินโครงการให้คำปรึกษาการศึกษาต่อ ในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และระดับปริญญาตรีสาย ปฏิบัตกิ ารเทคโนโลยีบณั ฑิต ของแผนกวชิ าฯ กับนักเรียน ผปู้ กครอง ครูแนะแนวทัง้ ในสถานศกึ ษา ชุมชน และในรูปแบบออนไลน์ผ่านทางเฟสบรุ๊คของแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลันเทคนิคนครสวรรค์ (https://www.facebook.com/ElectronicNKStec/) ๔. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ผู้ดำเนินโครงการดำเนิการสร้างเครื่องมือ แบบสอบถามผู้เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวศึกษาต่อประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) ผู้ดำเนินโครงการได้กำหนดประเด็นการ ประเมนิ ความพึงพอใจของครูแนะแนวและนักเรียน ๕. การสนทนากลุ่ม ผู้ดำเนินโครงการจัดกิจกรรมแนะแนวศึกษาต่อในคาบ เวลาเรียน วชิ าแนะแนวของสถานศึกษาทีไ่ ด้รับอนุญาตเขา้ ดำเนนิ จดั กจิ กรรม ๔. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๕. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะหข์ ้อมลู การดำเนินโครงการในครง้ั น้ี ผู้ดำเนินโครงการไดว้ ิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ ดังน้ี ๕.๑ การวิเคราะห์แบบอุปนัย (Analytic Induction) คือการตีความสร้างข้อสรุปจากรูปธรรม หรือเหตุการณ์ที่มองเห็น เช่น กิจกรรมจัดซุ้มนิทรรศนาการศึกษาต่อ กิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อใน สถานศกึ ษา ๕.๒ การวิเคราะห์โดยการจำแนกวิเคราะห์ข้อมูล (Typological Induction) คือการจำแนก ข้อมูลที่จะวิเคราะห์ตามความเหมาะสมกับที่ผู้ดำเนินโครงการสังเกตเห็น เช่น รูปแบบกระบวนการ ระยะเวลา บุคคลทเ่ี กีย่ วข้อง สภาพแวดลอ้ มแล้วพจิ ารณาความสัมพันธข์ องขอ้ มูลอกี ครง้ั

๑๔ ๕.๓ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการเปรียบเทียบ (Constant Comparison) คือ นำข้อมูลการจัด กจิ กรรมแนะแนวการศึกษาตอ่ ในสถานศกึ ษาต่าง ๆ มาเปรียบเทียบ ๖. สถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล สถติ ทิ ี่ผดู้ ำเนินโครงการวเิ คราะห์ข้อมูลสรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจ “แบบสอบถามผู้เข้าร่วม กิจกรรมแนะแนวศกึ ษาต่อประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒” โดยผูด้ ำเนินโครงการจำแนกตามข้ันตอนดังน้ี ๖.๑ ผู้ประเมิน (รวม 30 คน โดยผู้ประเมินเป็นครูแนะแนว 30 โรงเรียน) ผ้ปู ระเมนิ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ครแู นะแนวระดับมัธยมศึกษา 18 60 ตอนตน้ ครแู นะแนวระดบั มธั ยมศกึ ษา 7 23.33 ตอนปลาย ครูแนะแนวระดับมัธยมศกึ ษา 5 16.67 ตอนต้น+ปลาย ๖.๒ การวิเคราะห์ขอ้ มลู ความหมายค่าเฉลย่ี (Mean : ���̅���) ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. ๒๕๔๓: ๑๐๐) คา่ เฉล่ียของคะแนน ความหมาย ๔.๕๑ - ๕.๐๐ พอใจมากทส่ี ุด ๓.๕๑ - ๔.๕๐ พอใจมาก ๒.๕๑ - ๓.๕๐ พอใจปานกลาง ๑.๕๑ - ๒.๕๐ พอใจน้อย ๑.๐๐ - ๑.๕๐ พอใจนอ้ ยที่สุด ๖.๓ สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ๖.๓.๑ รอ้ ยละ (Percentage) ๖.๓.๒ ค่าเฉล่ยี (Mean) ๖.๓.๓ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

๑๕ ๖.๔ สัญลักษณ์ที่ใชใ้ นการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล โดยใช้เกณฑ์ของ ธานินทร์ ศิลปจ์ ารุ (2555 : 163) ���̅��� หมายถึง ค่าเฉล่ยี (Mean) X = x = คะแนนเฉลี่ย N X  x = ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N = จำนวนกล่มุ ตวั อยา่ ง S. หมายถึง คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (x2 − X )2 = ค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน = ผลรวมของคะแนนทงั้ หมด S= = ผลรวมของคะแนนแต่ละตวั ยกกำลังสอง n −1 = จำนวนกลมุ่ ตัวอยา่ ง S x  x2 n ข้อมูลในบทน้ีเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการแนะแนวการศึกษาต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) ซ่งึ ประกอบไปดว้ ยขอ้ มูลเก่ยี วกับสถานศึกษาระดับมัธยมใน เขตพนื้ ท่ีการศึกษาเขต 42 จังหวัดนครสวรรค์ ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง เคร่ืองมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการดำเนินการโครงการฯ และวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มลู เป็นการแสดงความสัมพันธ์และความสอดคล้องของการ ดำเนินโครงการในแตล่ ะขนั้ ตอน ดังได้กลา่ วมาแล้วในรายละเอียดข้างต้น

๑๖ บทที่ ๔ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ๔.๑ สรุปผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงานโครงการแนะแนวการศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ของ วทิ ยาลยั เทคนิคนครสวรรค์ การพฒั นารปู แบบการเรียนการสอน การดำเนินชีวิตในการเรียนสายอาชีพ การวางแผนอนาคตของตนเอง ตน้ ทุนภาระคา่ ใช้จ่ายทางการศึกษาในการเรียนสายอาชีพ และแนวทาง การประกอบอาชีพทางสาขาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ๔.๒ สรุปผลการบรรลุเปา้ หมาย ๔.๒.๑ เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพคณุ ภาพตามเกณฑท์ ่ตี ง้ั ไว้ ๔.๒.๒ เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณบรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ท่ตี ง้ั ไว้ ๔.๒.๒ มผี เู้ ขา้ รว่ มโครงการแนะแนวการศึกษาต่อในสถานศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาชัน้ ปีท่ตี อนต้น (ม.๓) ตอนปลาย (ม.๖) จำนวน ๓๕ โรงเรียน ๔.๒.๓ เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ๔.๒.๓.๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนมีความเข้าใจในการศึกษาต่อระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชาช่างอิเลก็ ทรอนกิ ส์ และช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ๔.๒.๓.๒ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนมีความเข้าใจในการศึกษาต่อระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชนั้ สงู (ปวส.) แผนกวชิ าอิเลก็ ทรอนิกส์อุตสาหกรรม (ม.๖) และสาขา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ๔.๓ ความพึงพอใจของครูแนะแนวในสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ ความพึงพอใจโครงการแนะแนวการศกึ ษาตอ่ ของแผนกวชิ าอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ ด้วยการแนะแนวการศึกษาเชิงรุกใน สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๓) และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) ในเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดนครสวรรค์ การดำเนินโครงการดังกล่าวจำนวน ๓๕ สถานศึกษา อนุญาตให้เข้าแนะแนว การศึกษาต่อจำนวน ๓๐ สถานศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๗๑ มผี ลการประเมินดงั ต่อไปนี้

๑๗ ตารางที่ ๔.๑ ขอ้ มูลทว่ั ไปของผูท้ ำแบบประเมิน ผู้ประเมนิ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ครูแนะแนวระดับมธั ยมศกึ ษา 18 60 ตอนตน้ ครูแนะแนวระดับมัธยมศกึ ษา 7 23.33 ตอนปลาย ครูแนะแนวระดบั มธั ยมศกึ ษา 5 16.67 ตอนตน้ +ปลาย จากตารางที่ ๔.๑ จากสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ “แบบสอบถามผู้เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว ศึกษาต่อประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒” จำนวน ๓๐ คน ๓๐ สถานศึกษา สามารถแบ่งออกเป็นครูแนะ แนวระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๓) จำนวน ๑๘ สถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ครูแนะแนวระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) จำนวน ๗ สถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๓๓ และครูแนะแนวระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จำนวน ๕ สถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๖๗ ตารางที่ ๔.๒ ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของครูแนะแนวในสถานศกึ ษาทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม ระดบั ความพงึ พอใจ ที่ รายการกจิ กรรม มาก มาก น้อย น้อย ทสี่ ุด ท่สี ดุ ๑ บรกิ ารปรึกษา/แนะแนวอาชพี ๑๒ ๑๘ ๒ บริการทดสอบวดั บุคลิกภาพ ๘ ๒๒ ๓ บรรยาย/อภปิ ราย ๑๖ ๑๔ ๔ แข่งขนั ตอบปญั หาอาชพี ๒๔ ๖ ๕ เผยแพรเ่ อกสารข้อมูลตา่ ง ๆ ๒๔ ๖ ๖ การจดั แสดงนิทรรศการ ๘ ๑๖ ๖ ๗ ทดลองฝึกปฏิบัติ สาธติ การทำอาชพี อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๘ ๑๖ ๖ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ๘ ความรู้ ขอ้ มูลท่เี ปน็ ประโยชนใ์ นการใชศ้ ึกษาต่อ ๑๖ ๑๔ ๙ ความรู้ ข้อมลู เปน็ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี ๘ ๒๒ ๑๐ ความพึงพอใจภาพรวมกจิ กรรม ๒๒ ๘ รวม ๑๒๒ ๑๖๐ ๑๘

๑๘ คดิ เป็นร้อยละ ๓๐.๕ ๕๓.๓๓ ๙๐.๐๐ จากตารางที่ ๔.๒ ความพึงพอใจของครูแนะแนวทั้ง ๓๐ สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัด นครสวรรค์ พบว่ามีความพึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๕ มีความพึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๓๓ และมคี วามพึงพอใจนอ้ ย คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๐.๐๐ ดงั นน้ั ผู้ดำเนินโครงการจงึ ได้วเิ คราะห์ความพึง พอใจ เพื่อนำมาใชใ้ นการพัฒนาการแนะแนวการศึกษาตอ่ ในระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) และ ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สูง (ปวส.) ในปกี ารศึกษาถดั ไป ตารางที่ ๔.๓ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การแนะแนวการศกึ ษาต่อ โดยการดำเนนิ การทางสถิติ ค่าเฉลี่ย (���̅���) และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ที่ รายการกจิ กรรม คา่ ทางสถติ ิ (���̅���) (S.D.) ระดับ ๑ บริการปรึกษา/แนะแนวอาชพี 3.77 .77 พอใจมาก ๒ บริการทดสอบวัดบคุ ลกิ ภาพ 3.67 .65 พอใจมาก ๓ บรรยาย/อภปิ ราย 3.57 .73 พอใจมาก ๔ แข่งขนั ตอบปัญหาอาชีพ 3.41 .55 พอใจปานกลาง ๕ เผยแพร่เอกสารขอ้ มูลตา่ ง ๆ 3.67 .65 พอใจมาก ๖ การจัดแสดงนทิ รรศการ 3.42 .56 พอใจปานกลาง ๗ ทดลองฝึกปฏิบัติ สาธติ การทำอาชพี 3.67 .65 พอใจมาก อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ ๘ ความรู้ ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ประโยชนใ์ นการใช้ศึกษาต่อ 3.53 .63 พอใจมาก ๙ ความรู้ ข้อมลู เป็นประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี 3.56 .64 พอใจมาก ๑๐ ความพึงพอใจภาพรวมกิจกรรม 3.78 .78 พอใจมาก รวม 3.61 0.66 พอใจมาก จากตารางที่ ๔.๓ การดำเนนิ งานโครงการแนะแนวการศึกษาตอ่ ในระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) และระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) แผนกวิชาอเิ ล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เมื่อ พจิ ารณาเป็นรายข้อมีค่าเฉล่ยี สงู ๘ หัวขอ้ อยู่ในระดบั พงึ พอใจมาก ไดแ้ ก่ การใหบ้ รกิ ารปรกึ ษา/แนะแนว อาชพี (���̅��� = 3.77) ดำเนินบรกิ ารทดสอบวัดบคุ ลิกภาพของผ้ดู ำเนนิ โครงการ (���̅��� = 3.67) ลักษณะข้อมูล การบรรยาย/อภิปราย (���̅��� = 3.57) ผู้ดำเนินโครงการจัดทำการเผยแพร่เอกสารข้อมูล ในลักษณะของ แผ่นพับแนะนำแผนกวิชาฯ สื่อออนไลน์เฟสบุ๊ค (https://www.facebook.com/ElectronicNKStec/) (���̅��� = 3.67) การดำเนินโครงการโดยการทดลองฝึกปฏิบัติ สาธิตการทำอาชีพอิเล็กทรอนิกส์ และ

๑๙ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (���̅��� = 3.67) ผู้ที่เข้ารับการแนะแนวการศึกษาต่อเกิดความรู้ รับทราบข้อมูล การศึกษาตอ่ (���̅��� = 3.57) ผทู้ เ่ี ขา้ รบั การแนะแนวการศกึ ษาต่อเกิดความรู้ รับทราบขอ้ มูลในการประกอบ อาชีพ (���̅��� = 3.56) ภาพรวมการดำเนินโครงการแนะแนวการศกึ ษาตอ่ (���̅��� = 3.78) ดังนั้นระดับการดำเนินโครงการแนะแนวการศึกษาต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ได้รับความพึงพอใจมาก (���̅��� = 3.61) ได้รับการประเมินจากสถานศึกษาทั้ง ๓๐ สถานศึกษาในจังหวัด นครสวรรค์

๒๐ บทที่ ๕ สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ๑. วัตถปุ ระสงค์ ๑.๑ เพื่อประชาสมั พันธ์เชิงรกุ ในการใหข้ ้อมูลการศกึ ษาตอ่ ในแผนกวิชาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สาขาช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และสาขาช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์แก่ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นอยา่ งท่วั ถงึ มากยิ่งขึ้น ๑.๒ เพื่อประชาสัมพันธ์เชิงรุกในการให้ข้อมูลการศึกษาต่อในแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม (ม.๖) และสาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์แก่นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลายอยา่ งทว่ั ถงึ มากยงิ่ ขึ้น ๑.๓ เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจในสาขาวิชาชพี และการเรยี นการสอนของแผนกวชิ าอิเลก็ ทรอนิกส์ และ สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ตามโครงการหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) อย่าง ชัดเจนเพื่อเปน็ ประโยชน์แกน่ ักเรยี นในการเลือกแนวทางการศึกษาต่อในแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และสาขา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์ ๑.๔ เพ่ือใหบ้ รกิ ารแนะแนวการศกึ ษาในสายอาชีวศึกษาและอาชีพ โดยมหี นว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบอย่าง ชัดเจน เป็นระบบและ มกี ารวางแผนดำเนนิ การเชงิ รุกอยา่ งต่อเนื่อง ๒. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั ๒.๑ นักเรียนในระดับมธั ยมศกึ ษาชัน้ ปที ี่ ๓ สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) แผนก วชิ าช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และชา่ งเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์รอ้ ยละ ๗๐ ๒.๒ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๖ สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม และสาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ร้อยละ ๗๐ ๓. สรปุ การดำเนนิ โครงการ ประชากรคือครูแนะแนวในสถานศึกษาในเขตพื้นที่มัธยมศึกษานครสวรรค์ กลมุ่ ตัวอย่างคือครแู นะแนวใน สถานศึกษาจำนวน ๓๐ สถานศึกษา ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการแนะแนว การศึกษาต่อ ของแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับ โครงการฯ

๒๑ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการใชแ้ บบสอบถามความพึงพอใจโครงการแนะแนวการศึกษาต่อกับครูแนะแนว จำนวน ๓๐ สถานศกึ ษาในจังหวดั นครสวรรค์ โดยใช้คา่ รอ้ ยล่ะ ค่าทางสถติ เิ บื้องตน้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ๔. อภปิ รายผล ๑. กลมุ่ ตัวอย่างส่วนมากพบวา่ คณะผู้ดำเนนิ งานโครงการแนะแนวการศกึ ษาต่อแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และโทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการดำเนนิ งานโครงการปฏิบัติงานได้เปน็ อย่างดี โดยสามารถนำข้อมูล ที่ได้จากการแนะแนวการศึกษาต่อวางแผนการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตให้กับ นักเรียนเป็นอย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่มุ่งเนน้ เพิม่ จำนวนผ้เู รียนสายอาชวี ศกึ ษา ๒. กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเห็นว่าผู้ดำเนินโครงการควรดำเนินโครงการแนะแนวการศึกษาต่อตั้งแต่ภาค เรียนท่ี ๑ เพอื่ ใหน้ ักเรยี นสามารถเตรียมตัวตนเอง ปรกึ ษาผู้ปกครอง และทำความเขา้ ใจในแผนกวิชา อิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ให้ละเอียด เพื่อประกอบการตัดสนิ ใจในการศึกษาต่อของ ตนเอง ๕. ข้อเสนอแนะ ๕.๑ ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ โครงการ ๕.๑.๑ ผู้ดำเนินโครงการสามารถนำผลการดำเนินงานโครงการไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินงาน โครงการคร้ังต่อไป ๕.๑.๒ แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์นำผลการดำเนินโครงการในครั้งน้ี พัฒนาการประชาสมั พนั ธ์แผนกวชิ าฯ ต่อไป ๕.๒ ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการคร้ังต่อไป ๕.๒.๑ ควรเกบ็ ขอ้ มลู สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนที่มธั ยมศึกษาจังหวดั นครสวรรค์ให้มากข้ึนครอบคลุม เพ่อื เป็นฐานขอ้ มลู ท่ีสำคัญตตอ่ ไป ๕.๒.๒ ควรใช้เครื่องมือในการประเมินความพึงพอใจที่หลากหลาย ครอบคลุมถึงกลุ่มผู้รับ ประโยชน์โดยตรง พัฒนาเคร่ืองมอื การประเมนิ ความพึงพอใจในรูปแบบออนไลน์ ๕.๒.๓ ควรปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรม เพื่อให้ผู้ที่เข้าแนะแนวสามารถเกิดความเข้าใจในการ เรียนการสอน การประกอบอาชีพทางสาขาวชิ าอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์มากข้ึน

บรรณานุกรม สำนักเลขาธิการสภาการศกึ ษา./๒๕๖๐.//แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙.//บรษิ ัท พริกหวาน กราฟฟคิ จำกัด: กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ /๒๕๔๒.//พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบบั ท่ี ๒) แกไ้ ขเพม่ิ เติม.//บรษิ ทั พรกิ หวานกราฟฟคิ จำกดั : สำนักงานนายกรฐั มนตรี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา./๒๕๖๐.//แผนพฒั นาการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙.//บรษิ ทั พริก หวานกราฟฟิค จำกัด: สำนกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนครสวรรค์./(๒๕๖๒).//รายชอ่ื โรงเรียนในจงั หวดั นครสวรรค์./สบื คน้ ๔/๙/๒๕๖๒,// จาก http://www.nswpeo.go.th/main/index.php/download/221-19-2562

ภาคผนวก ผนวก ก. หนังสือ ศธ ๐๖๓๒/ว.๐๐๙๕ ขออนุญาตเข้าแนะแนวการศึกษาและแนะนำ วทิ ยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ ผนวก ข. เอกสารแนะนำแผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์ ผนวก ค. รปู ภาพการดำเนินการโครงการฯ ผนวก ง. แบบสอบถามผู้เข้าร่วมกจิ กรรมแนะแนวศึกษาต่อประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับ ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) และระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ผนวก จ. รายช่อื ผู้ดำเนินโครงการฯ

ผนวก ก. หนังสือ ศธ ๐๖๓๒/ว.๐๐๙๕ ขออนุญาตเขา้ แนะแนวการศึกษาและแนะนำ วิทยาลยั เทคนิคนครสวรรค์

ผนวก ข. เอกสารแนะนำแผนกวชิ าช่างอเิ ล็กทรอนกิ ส์และเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์









รปู ท่ี ๑๕ เฟสบคุ๊ แผนกวชิ าช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ รปู ที่ ๑๖ ไลนแ์ อดแผนกวชิ าช่างอเิ ล็กทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์

ผนวก ค. รปู ภาพการดำเนินการโครงการฯ

รปู ที่ ๑ บรรยายการศึกษาตอ่ แผนกวชิ าอิเล็กทรอนกิ ส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ งานตลาดแนะแนว ณ โรงเรยี นชุมแสงชนูทิศ รูปท่ี ๒ นิทรรศการแนะแนวการศึกษาตอ่ งานตลาดแนะแนว ณ โรงเรยี นชมุ แสงชนทู ศิ

รปู ที่ ๓ บรรยากาศกิจกรรมงานตลาดแนะแนว ณ โรงเรียนชุมแสงชนทู ิศ รูปที่ ๔ โครงการแนะแนวศึกษาต่อฯ ณ โรงเรยี นวังเมอื งชนประสิทธว์ิ ิทยาคม

รปู ที่ ๕ โครงการแนะแนวศกึ ษาต่อฯ ณ โรงเรยี นเทศบาลวัดจอมคีรนี าคพรต (ท.๖) รูปท่ี ๖ โครงการแนะแนวศึกษาต่อฯ ณ โรงเรยี นวดั ศรอี ทุ ุมพร

รปู ท่ี ๗ นิทรรศการณแ์ นะแนวการศึกษาตอ่ แผนกวชิ าอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ งานเปิดโลกวิชาการ ณ โรงเรยี นทา่ ตะโกพิทยาคม รูปท่ี ๘ โครงการแนะแนวศกึ ษาต่อฯ ณ โรงเรียนทา่ ตะโกพทิ ยาคม

รปู ที่ ๙ โครงการแนะแนวศึกษาตอ่ ฯ ณ โรงเรียนวัดพนมเศษ รปู ที่ ๑๐ โครงการแนะแนวศึกษาต่อฯ ณ โรงเรยี นวดั พนมเศษ

รปู ที่ ๑๑ โครงการแนะแนวศกึ ษาต่อฯ ณ โรงเรยี นพยหุ ะพทิ ยาคม รปู ที่ ๑๒ โครงการแนะแนวศกึ ษาตอ่ ฯ ณ โรงเรยี นบ้านแกง่ ชชั วลติ วทิ ยา

รปู ท่ี ๑๓ โครงการแนะแนวศึกษาต่อฯ ณ โรงเรยี นเทศบาลวัดไทรใต้ (ท.๑) รูปท่ี ๑๔ โครงการแนะแนวศึกษาต่อฯ ณ โรงเรยี นเทศบาลวดั สุคตวราราม (ท.๗)

ผนวก ง. แบบสอบถามผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมแนะแนวศกึ ษาต่อประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) และระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชัน้ สงู (ปวส.)

แบบสอบถามผู้เข้าร่วมกจิ กรรมแนะแนวศกึ ษาตอ่ ประจำปีการศกึ ษา 2562 ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สูง (ปวส.) ให้นกั เรียน โรงเรียน..................................................................... วนั ท.ี่ ............................................ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ข้อมูลโรงเรยี น....................................................... จำนวนนกั เรยี น....................................................................... คน ระดบั ชน้ั ....................................................... 2. ท่านมีความพงึ พอใจในแตล่ ะกิจกรรมระดับใด (ให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย  หรือ  ในชอ่ งท่ตี อ้ งการ) ระดับความพงึ พอใจ รายการกิจกรรม มาก มาก น้อย น้อยทส่ี ุด ทีส่ ดุ 1. บริการปรึกษา/แนะแนวอาชีพ 2. บริการทดสอบวัดบุคลิกภาพ 3. บรรยาย/อภิปราย 4. แขง่ ขันตอบปญั หาอาชีพ 5. เผยแพร่เอกสารข้อมลู ตา่ งๆ 6. การจัดแสดงนิทรรศการ 7. ทดลองฝึกปฏิบัติ สาธติ การทำอาชพี ตา่ ง ๆ 8.............................................................. 3. ท่านคดิ ว่าความรแู้ ละข้อมูลที่ได้รบั นำไปใช้ประโยชน์ในการเลอื กศึกษาต่อได้หรือไม่ หรอื ไม่  ได้  ไม่ได้ ถา้ ตอบ  ได้ ท่านคิดว่ามีประโยชน์ในระดับใด  มากที่สดุ  มาก  น้อย  นอ้ ยที่สดุ 4. ทา่ นคิดว่าความรู้และข้อมูลทไ่ี ด้รบั นำไปใช้ประโยชน์ในการเลอื กประกอบอาชีพไดห้ รือไม่  ได้  ไมไ่ ด้ ถ้าตอบ  ได้ ท่านคดิ ว่ามปี ระโยชนใ์ นระดับใด  มากทส่ี ุด  มาก  น้อย  นอ้ ยทสี่ ดุ 5. ท่านมคี วามพึงพอใจต่อกิจกรรมในภาพรวม ในระดบั ใด มากท่ีสุด มาก นอ้ ย นอ้ ยท่สี ุด ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................................... (....................................................................) วันทีจ่ ดั กจิ กรรม.....................................

ผนวก จ. รายชือ่ ผดู้ ำเนนิ โครงการฯ

รายชอื่ ผู้ดำเนนิ โครงการแนะแนวการศกึ ษาตต่อแผนกวิชาอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ รายชือ่ ตำแหนง่ ปฏิบัติหน้าท่ี นายสาคร ศริ ิวฒั นาโรจน์ ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยเทคนคิ นครสวรรค์ ประธานโครงการฯ นายแทน โมราราย นายทรงวุฒิ เรอื นไทย รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ กรรมการ นายชนะ พรสวสั ดิ์ รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยบรหิ ารทรัพยากร กรรมการ นายฉัตรชยั งาหอม รองผู้อำนวยการฝ่ายพฒั นากิจการฯ กรรมการ หัวหนา้ แผนกวชิ าอิเล็กทรอนิกส์และ กรรมการ, หัวหน้าคณะ นายพิสุทธศิ ักดิ์ กล่อมนาค ผ้ดู ำเนนิ การโครงการฯ นางสาวสุภาวดี ภักดีจันทร์ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์, ครู ผู้ดำเนนิ โครงการฯ ๑ นายนพนิรนั ดร์ น้ำจนั ทร์ ครู ผดู้ ำเนนิ โครงการฯ ๒ นางสาวชตุ ิกาญจน์ การกั ครู ผู้ดำเนินโครงการฯ ๓ นางสาวประภัสสร จุลบุตร์ ผู้ดำเนินโครงการฯ ๔ นางสาวกรกนก เอ่ียมละออ ครูพิเศษสอน ผู้ดำเนินโครงการฯ ๕ นายนพรตั น์ เกษมวัฒนา ครูพิเศษสอน ผู้ดำเนินโครงการฯ ๖ นายวรรษพล หมวกแกว้ ครูพิเศษสอน ผดู้ ำเนินโครงการฯ ๗ นายกรทัศน์ สุคันธจนั ทร์ ครพู ิเศษสอน ผดู้ ำเนินโครงการฯ ๘ นายสาธิต ศรวี รรณะ ครูพิเศษสอน ผู้ดำเนินโครงการฯ ๙ นายนพรตั น์ พสั สร ครพู เิ ศษสอน ผดู้ ำเนินโครงการฯ ๑๐ ครูพเิ ศษสอน ผดู้ ำเนินโครงการฯ ๑๑ ครูพิเศษสอน ครพู ิเศษสอน

แผนกวชิาชางอิเล็กทรอนิกสและเทคโนโลยคีอมพวิเตอร ElectronicNKStec ElectronicsTechnicianDepartment&ComputerTechnology. วทิยาลยัเทคนิคนครสวรรค NakhonsawanTechnicalCollage 400หมู9ถนนสวรรควิถีตำบลนครสวรรคตกอำเภอเมอืงนครสวรรคจงัหวดันครสวรรค60000 400Moo.9SawanwitheRd.,Nakhonsawantok,MueangDistrict,Nakhonsawan60000 Tel.056-221-390ext.1550,1551,Fax056-222-213 Fb:https://www.facebook.com/ElectronicNKStec/ @Line:Electronic_NKStec


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook