วจิ ยั สถาบนั บทสรปุ สาหรับผู้บริหาร พฤตกิ รรมข้าราชการในการปฏิบัติงานตามขอ้ บังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ของกระทรวงมหาดไทย Public Officials’ Behaviour in the Context of the Ministry of Interior’s Code of Ethical Conduct สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กันยายน 2561
วจิ ยั สถาบัน บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร โครงการวจิ ยั เร่อื ง พฤตกิ รรมข้าราชการในการปฏบิ ัติงานตามข้อบงั คบั ว่าด้วยจรรยา ข้าราชการของกระทรวงมหาดไทย Public Officials’ Behaviour in the Context of the Ministry of Interior’s Code of Ethical Conduct โดย ท่ีปรึกษาโครงการ หวั หนา้ โครงการ รองศาสตราจารย์ ดร.เอก ตั้งทรพั ย์วัฒนา นักวจิ ัย นางสาวเสาวณีย์ ทพิ อุต นักวจิ ยั นางสาวอนญั ญา แม้นโชติ นางสาวฉันท์ชนก เจนณรงค์ ศนู ยว์ จิ ัยเพอ่ื ตอ่ ต้านการทุจรติ ป๋วย อง๊ึ ภากรณ์ สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ กนั ยายน 2561
ความเห็นในงานวิจัยฉบับน้ีเป็นของผู้วิจัย/คณะผู้วิจัยและไม่จาเป็นต้องสะท้อนถึงความคิดเห็นของสานักงาน ป.ป.ช. หรือหน่วยงานสังกัดของผู้วิจัย/คณะผู้วิจัย สานักงาน ป.ป.ช. ไม่ต้องรับผิดชอบต่อความสูญเสีย ความเสียหาย หรือส่ิงใดๆ อันเป็นผลจากข้อมูลหรือความคิดเห็นจากส่ิงตีพิมพ์ฉบับนี้ และสานักงาน ป.ป.ช. ไม่ตอ้ งรับผดิ ชอบตอ่ ความผิดพลาดหรอื ผลทต่ี ามมาทเี่ กดิ จากการใช้ข้อมลู ทีป่ รากฏอย่ใู นรายงานฉบบั น้ี ผลงานวจิ ยั โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เอก ตง้ั ทรพั ยว์ ฒั นา ทป่ี รึกษาโครงการ นางสาวเสาวณีย์ ทิพอุต หัวหนา้ โครงการ นางสาวอนญั ญา แมน้ โชติ นกั วิจยั นางสาวฉนั ทช์ นก เจนณรงค์ นักวจิ ยั นาเสนอต่อ สานกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ 361 ถนนนนทบุรี-สนามบนิ น้า ตาบลท่าทราย อาเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบุรี 11000
1 บทคัดยอ่ สว่ นท่ี 1 รายละเอยี ดเกี่ยวกับโครงการ ชือ่ โครงการ (ภาษาไทย) พฤติกรรมข้าราชการในการปฏิบัตงิ านตามข้อบงั คบั วา่ ด้วยจรรยา ข้าราชการของกระทรวงมหาดไทย ที่ปรกึ ษาโครงการ รองศาสตราจารย์ ดร.เอก ต้ังทรพั ย์วัฒนา อาจารยป์ ระจาคณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย คณะผู้วิจัย (ภาษาไทย) 1. นางสาวเสาวณีย์ ทพิ อตุ หวั หน้าโครงการ 2. นางสาวอนัญญา แม้นโชติ นักวจิ ัย 3. นางสาวฉันท์ชนก เจนณรงค์ นกั วิจยั หนว่ ยงานทสี่ ังกดั ศูนย์วจิ ัยเพอื่ ต่อต้านการทจุ ริต ป๋วย อง๊ึ ภากรณ์ หมายเลขโทรศัพท์ สานักงาน ป.ป.ช. 0-2528-4800 ต่อ 5819 ส่วนท่ี 2 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยา ข้าราชการและศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อกับการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการของ กระทรวงมหาดไทย 2) เพ่ือสารวจการรับรู้ และความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติงานของ ข้าราชการกระทรวงมหาดไทย และ 3) เพ่ือหาแนวทางและข้อเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ ข้าราชการให้ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการของกระทรวงมหาดไทย โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัย แบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นหลัก ในการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิด้วยแบบสอบถามจานวน 2 ชุด ได้แก่ (1) แบบสอบถามสาหรับข้าราชการ กระทรวงมหาดไทย จานวน 910 ราย (2) แบบสอบถามสาหรับประชาชนที่เคยมาใช้บริการกับส่วนราชการ ของกระทรวงมหาดไทย จานวน 430 ราย และใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) สนับสนุน ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) จากบุคคลท่ีเก่ียวข้อง อันประกอบด้วย (1) ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในส่วนราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย จานวน 12 ราย (2) ข้าราชการ เกษียณอายุราชการระดับผู้บริหารและระดับปฏิบัติงาน จานวน 12 ราย (3) นักวิชาการ จานวน 4 ราย และ (4) ประชาชนที่เคยใช้รับบริการในส่วนราชการท่ีสังกัดกระทรวงมหาดไทย จานวน 8 ราย ท้ังน้ีเพื่อให้ได้รับ ความคิดเหน็ จากภาคสว่ นต่าง ๆ อยา่ งรอบดา้ น ทัง้ ประสบการณ์ท่ีได้รับจากการร่วมปฏิบัติงานของข้าราชการ และการให้ความคิดเห็นต่อผลการสารวจ พร้อมข้อเสนอแนะและแนวทางเพื่อนาไปสู่การปรับเปล่ียน พฤติกรรมของข้าราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทยให้เป็นข้าราชการท่ีมีคุณธรรม และจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน
2 ผลการศกึ ษา พบวา่ 1) ขา้ ราชการมรี ะดบั พฤติกรรมในการปฏิบตั ิงานตามข้อบังคบั วา่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการโดยรวมเฉลยี่ อยู่ ที่ 3.65 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน ซึ่งจัดได้ว่ามีการปฏิบัติสม่าเสมอ เมื่อนาคะแนนพฤติกรรม การปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยจรรยาขา้ ราชการแตล่ ะบุคคลมาจาแนกออกเป็น 2 กลุ่ม กล่าวคือ (1) หากข้าราชการมี ระดับพฤติกรรมการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ น้อยกว่า ค่าคะแนนเฉล่ียรวม ( =3.65) ถือว่าเป็น กลุ่มข้าราชการท่ีไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตามในระดับต่า และ (2) หากข้าราชการมีระดับพฤติกรรมการปฏิบัติตาม ขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการ มากกวา่ หรอื เทา่ กับ ค่าคะแนนเฉลย่ี รวม ( =3.65) ถือวา่ เป็นกลุ่มข้าราชการปฏิบัติ ตามหรือปฏิบัติตามในระดับสูง พบว่า ประมาณร้อยละ 57.36 เป็นข้าราชการท่ีปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยา ขา้ ราชการ หรือปฏบิ ัตติ ามในระดบั ท่สี ูง และรอ้ ยละ 42.64 เป็นกลุม่ ข้าราชการท่ีไม่ปฏิบตั ิตามขอ้ บังคบั ว่าดว้ ยจรรยา ขา้ ราชการ หรอื ปฏบิ ัติตามในระดับที่ต่า เม่ือพิจารณาตามรายข้อจรรยาข้าราชการ พบว่า ด้านการปฏิบัติงานด้วยจิต บริการ มีสัดส่วนข้าราชการท่ีปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการหรือปฏิบัติตามในระดับสูง มากท่ีสุด คือ ร้อยละ 81.98 รองลงมาเป็นด้านความซื่อสัตย์ สุจริต และความรับผิดชอบ (ร้อยละ 73.30) ความโปร่งใสและสามารถ ตรวจสอบได้ (ร้อยละ 68.90) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (ร้อยละ 66.70) การดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ร้อยละ 61.10) ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ (ร้อยละ 51.43) และการยึดมั่นและ ยนื หยัดในสิง่ ที่ถูกต้องดีงาม และชอบธรรม (รอ้ ยละ 40.58) ตามลาดบั จากผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก พบว่า ปัจจัยท่ีมีผลต่อการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยา ข้าราชการอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ รวมทั้งสิ้น 10 ปัจจัย โดยเป็นตัวแปรปัจเจกบุคคล 6 ตัวแปร ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด อายุราชการ ระดับตาแหน่ง รายได้ต่อเดือน และทัศนคติต่อการเป็นข้าราชการ และ เป็นตัวแปรด้านบริบททางสังคม 4 ตัวแปร ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์กร ระบบการบริหารราชการ การบริหารงานของ ผู้บังคับบัญชา และการบังคับใช้กฎหมาย/กฎระเบียบ โดยทุกปัจจัยมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วย จรรยาข้าราชการในทิศทางบวก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และจากการสัมภาษณ์เชิงลึกข้าราชการและ บุคคลที่เก่ียวข้องพบว่า ยังมีปัจจัยที่ช่วยให้ข้าราชการมีการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ได้แก่ (1) การมีจิตสานึกและทัศนคติท่ีดีในการปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละบุคคล (2) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้บังคับบัญชา (3) วัฒนธรรมองคก์ รทยี่ ึดม่นั ในคณุ ธรรมจริยธรรม (4) การสร้างแรงจูงใจของหน่วยงานโดยการยกย่องเชิดชูเป็นต้นแบบ และให้รางวัลแก่ข้าราชการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการฯ และ (5) การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการ ปฏิบัติงาน เพ่ือให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น รวมถึงการลดการใช้อานาจดุลพินิจของ ข้าราชการ ส่วนเหตุปัจจัยท่ีทาให้ข้าราชการไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตามได้อย่างไม่ครบถ้วน ได้แก่ (1) การทีข่ า้ ราชการไม่ให้ความสาคัญในการศึกษาข้อบงั คับวา่ ด้วยจรรยาขา้ ราชการ ทาใหข้ ้าราชการไม่รับรู้ ไม่ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติตามอย่างถ่องแท้ (2) ผู้บังคับบัญชามีพฤติกรรมไม่เป็นแบบอย่างท่ีดี และขาดภาวะ ผ้นู าในด้านคุณธรรม (3) การบริหารงานแบบระบบอุปถัมภ์ เอ้ือประโยชน์ให้แก่พรรคพวกตนเองในลักษณะที่ ไม่ชอบธรรมในรูปแบบต่าง ๆ (4) การถูกแทรกแซงจากนักการเมืองและเครือข่ายการเมืองในการปฏิบัติงาน เพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นตน (5) การมรี ายได้ไม่เพยี งพอตอ่ คา่ ใช้จา่ ย (6) การหาช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ สว่ นตน (7) ค่านยิ มทางวตั ถุและสังคมทนุ นยิ ม นยิ มยกย่องคนรวยโดยไมส่ นใจถึงที่มาของทรัพย์สิน (8) สิ่งเร้า/
3 แรงจูงใจท่ีผิดกฎหมายและจรรยาอันทาให้ข้าราชการไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบ เช่น การเรียกรับสินบน การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น และ (9) การบังคับใช้กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับยังไม่มี ประสทิ ธิภาพเท่าทีค่ วร โดยไมไ่ ด้มีการบงั คบั ใช้บทลงโทษอย่างจรงิ จัง หรอื ไม่ได้กาหนดบทลงโทษไว้ 2) มุมมองของประชาชนที่เคยมารับบริการในส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไทยมีความ พึงพอใจตอ่ การให้บริการของข้าราชการอยู่ในระดับ “ปานกลาง” มีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 3.20 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน โดยประเดน็ ทม่ี คี วามพึงพอใจมากท่ีสุด คือ เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถ ความชานาญเหมาะสมกับ งานทีใ่ หบ้ ริการ รองลงมาเป็น เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบเพื่อประโยชน์ของ ประชาชน และเจ้าหน้าท่ีใหบ้ ริการมีความรบั ผดิ ชอบในการปฏิบัตหิ นา้ ที่เป็นอย่างดี สว่ นประเดน็ ทปี่ ระชาชนพึงพอใจน้อยท่ีสุด คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ในสิ่งที่ถูกต้องโดยไม่เกรงกลัว ต่ออานาจของผู้มีอิทธิพล ค่าเฉลี่ยอยู่ท่ี 2.89 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียระหว่างความคิดเห็นของประชาชนจาก สภาพจริง และความคาดหวัง พบว่า ประชาชนให้คะแนนการปฏิบัติงานในสภาพจริง น้อยกว่า คะแนนความ คาดหวังต่อการปฏิบัติหน้าท่ีของข้าราชการ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 น่ันแสดงให้เห็นว่า การปฏบิ ัตงิ านของขา้ ราชการในภาพจรงิ ยงั ไมถ่ ึงระดบั ทป่ี ระชาชนคาดหวังเทา่ ทคี่ วร งานวจิ ัยนี้ได้เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในเชิงนโยบาย โดยข้อเสนอเชิงนโยบายหรือมาตรการในระยะส้ัน ควรมีการจัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ และ มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และวิธีการประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ภายใต้กรอบข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ นอกจากน้ีควรมีโครงการส่งเสริมทัศนคติความคิดของผู้บริหารให้มีภาวะผู้นาภายใต้หลักธรรมาภิบาล รวมถึง การรณรงค์การสร้างและปลูกฝังจิตสานึกเร่ืองความซื่อสัตย์สุจริตให้ข้าราชการมากขึ้น มีคุณธรรม ยึดประโยชน์ของ ประชาชนเป็นหลักในการดาเนนิ งานต่างๆ และมกี ารมอบรางวัลเพือ่ สรา้ งแรงจูงใจให้แก่บุคลากรในการประพฤติปฏิบัติ ตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ควรใช้คุณธรรมเป็นหลักบริหารราชการ มีการสร้างแรงจูงใจและขจัดระบบ อปุ ถมั ภ์ใหม้ ีประสิทธิภาพมากกว่าน้ี และส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาบริหารจัดการแบบบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานอ่ืนๆ ผู้บังคับบัญชาควรเป็นแบบอย่างที่ดี แนะนาเร่ืองงานและปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างต่อ ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ความจริงใจ ให้เกียรติ และยอมรับฟังผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อสร้างทัศนคติและบรรยากาศที่ดี ในการทางาน สาหรับแนวทางการแก้ไขในระยะปานกลางควรปรับปรุงแนวทางและกฎระเบียบในการสรรห า การแต่งตั้งข้าราชการ การเล่ือนระดับ การโอน โยกย้าย โดยนาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมมากาหนดไว้ใน กระบวนการแตง่ ต้ังหรอื เลอ่ื นระดับตาแหน่งส่กู ารเป็นผ้บู ริหารในทกุ ระดับของสว่ นราชการกระทรวงมหาดไทย ประกอบกับการติดตามและประเมินพฤติกรรมของข้าราชการในสังกัดโดยการประเมินแบบ 360 องศา จากคนรอบข้าง อาทิ เพื่อนรว่ มงาน ผูใ้ ตบ้ ังคับบัญชา ผู้บังคบั บญั ชา และประชาชนท่มี ารับบริการ ส่วนแนวทางการแกไ้ ขปญั หาระยะยาว ควรนาแนวคิดด้วยพลเมืองศึกษา (Thai Civic Education) บรรจุใน หลักสูตรการเรียนการสอนทุกระดับ ปรับทัศนคติ ส่งเสริมให้มีการปลูกฝังเพื่อหล่อหลอมคุณธรรมจริยธรรมตั้งแต่ เด็กและตลอดจนทกุ ชว่ งวยั โดยผา่ นท้งั กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นการให้วิธีคิดหรือศาสตร์ในการใช้ชีวิตให้กับ เด็กให้เป็นคนดี ควบค่กู บั การเป็นคนเก่งเพอ่ื ให้คนทกุ กลุ่มเกิดความตระหนกั รู้ถึงหนา้ ท่ีของการเป็นพลเมอื งทด่ี ี
4 Abstract Part I Project details Public Officials’ Behaviour in the Context of the Ministry Project name of Interior’s Code of Ethical Conduct Project Advisor Assoc. Prof. Dr. Ake Tangsapwattanan Researchers 1. Miss Saowanee Thip-ut Chief Researcher 2. Miss Ananya Manchot Researcher 3. Miss Chanchanoke Chennarong Researcher Contact Person/Unit Puey Ungphakorn. Research Center, Telephone: Office of the National Anti-Corruption Commission +66 2528 4800 Ext. 5819 Part II Abstract This research was undertaken with the following objectives to study to what extent public officials comply with the Ministry of Interior’s Code of Ethical Conduct and the influential factors involved; To survey public awareness of and opinions on the conduct of the Ministry of Interior’s public officials; and to establish guidelines and recommendations for modifying the behaviour of public officials in order to be in compliance with the Ministry of Interior’s Code of Ethical Conduct. Mixed method research was utilized, with quantitative research being the main tool. Primary data collection was done using two sets of questionnaires: 910 questionnaires completed by public officials at the Ministry of Interior; and 430 questionnaires completed by members of the public in receipt of public sector services on their awareness of and opinions on the work of public officials at the Ministry of Interior. Additionally, qualitative research was conducted through in-depth interviews as follows: Twelve public officials working in units affiliated to the Ministry of Interiors; Twelve retired public officials from both executive and administrative levels; Four academicians; and Eight members of the public in receipt of services from units affiliated to the Ministry of Interior. The objective of the interviews was to collate a range of opinions from all sectors, including experiences of working with public officials and opinions towards the survey, with the resulting recommendations and guidelines aiming to enhance ethical conduct among public officials at the Ministry of Interior. The results of the study show that: There was an overall score of 3.65 (out of 4) for public officials’ conduct in compliance with ethical standards. The researchers classified public officials’ scores into two groups:
5 Group A: Officials with a below average score (i.e. less than 3.65) and thus considered to be either non-compliant with ethical standards or minimally compliant; and Group B: Officials with an above average score (i.e. more than 3.65) and thus considered to be compliant with ethical standards. 57.36% of public officials were classified as being in Group A and 42.64% in Group B. The highest level of compliance was in the aspect of service-mindedness (81.98%), followed by honesty, integrity and responsibility (73.30%); transparency and accountability (68.90%); achievement-orientation (66.70%); sufficiency economy philosophy lifestyle (61.10%); professional equality, fairness and lack of discrimination (51.43%); and uprightness (40.58%). The logistic regression analysis revealed ten factors which have a statistically significant influence on public officials’ compliance with the Code of Ethical Conduct. These can be grouped under two headings: Personal Factors—gender; education level; length of service; rank; monthly income; and attitude towards being a public official. Social Factors— organizational culture; governmental management system; leaders’ management styles; and law/regulation enforcement. All factors are positively related to ethical compliance with a statistical significance of 0.05. Additionally, the in-depth interviews revealed other factors influencing ethical compliance: 1. Positive professional consciousness and attitude 2. Leaders acting as good role models 3. Existence of an organizational culture that values morals and ethics 4. Provision of incentives, such as awards for public officials who comply with ethical codes and are regarded as role models; and 5. Use of IT to promote efficiency and reduce dependence on public officials’ personal judgments. The factors that caused failure among public officials to comply with ethical standards are as follows: 1. Lack of importance accorded to education in ethics, resulting in a lack of understanding of how to be fully compliant with ethical codes; 2. Failure among leaders to act as good role models and/or lacking moral leadership; 3. Use of the so-called ‘patronage management system’ which benefits only specific groups and/or people to the detriment of others; 4. Political interference for personal gain; 5. Insufficient income; 6. Quest for personal gain; 7. Materialist/ Consumer society which values possession of wealth, regardless of its source;
6 8. Illegal and unethical incentives such as bribery and corruption in the procurement process; and 9. Ineffective regulatory enforcement, i.e. lack of specific penalties and/or how they should be implemented. Opinions among members of the public in receipt of services from the ministry on the conduct of public officials showed an average score of 3.20 (out of 5), or ‘medium’ level. The aspect with which the sample group was most satisfied (3.40) was officials’ appropriate professional knowledge, ability and skills. This was followed, respectively, by public officials’ performance in accordance with laws and regulations for public benefit; and their professional responsibility. On the contrary, the lowest average level of satisfaction (2.89) was with public officials’ ability to act without ‘fear or favour’ of external influences. A comparison of the public’s expectations and reality using Paired Samples Statistics found that the sample group gave a lower score for reality than for expectation, with a statistical significance of 0.05, illustrating that the actual performance of public officials still does not meet the public’s expectations. The research has proposed to resolve difficulties into policy recommendations (1) Short-term policy recommendation/measures: Training should be held to promote knowledge and understanding of ethics, along with sessions for the exchange of experiences and ways of behaving within an ethical framework. Additionally, a project should be implemented to promote executive leadership with good governance, along with a campaign to encourage the inculcation of honesty and integrity among public officials in order that the principles of ethical behaviour and emphasis on public interest will be uppermost in their professional performance. Awards should be given as incentives to officials in compliance with ethical standards. Ethics should be regarded as a core principle for public management. Incentives should be in place, along with effective measures to eradicate the patronage system and promote the use of state-of-the-art IT to support integrated management systems. Leaders should be role models i.e. provide sound advice; behave as good role models for their subordinates; treat others with sincerity and honour; and be ready to listen to their subordinates in order to promote positive attitudes and working environment. (2) Medium-term policy recommendation/measures: Guidelines and regulations for the recruitment, appointment, promotion and transfer of public officials should be amended. Morals and ethics should be included in the process of appointment/promotion to all executive positions in every unit under the Ministry of Interior. Additionally, the results of extensive evaluation, including performance monitoring and evaluation of officials by their colleagues, subordinates, leaders and members of the public, should be taken into account.
7 (3) Long-term policy recommendation/measures: Civic education should be included in Thai educational curricula at every level to promote attitude adjustment and the inculcation of morals and ethics. This should be done through an educational system that promotes children’s awareness of good citizenship, as well as the art of being both virtuous and smart. The inculcation of morals and ethics can also be done through social media, as well as law enforcement.
8 บทสรปุ ผบู้ ริหาร 1. ชือ่ โครงการวจิ ัย พฤติกรรมขา้ ราชการในการปฏิบตั งิ านตามข้อบงั คับวา่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการของ กระทรวงมหาดไทย 2. ชือ่ คณะผู้วจิ ัย 2.1 รองศาสตราจารย์ ดร.เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา ท่ีปรกึ ษาโครงการ 2.2 นางสาวเสาวณยี ์ ทพิ อุต หัวหน้าโครงการ 2.3 นางสาวอนัญญา แม้นโชติ นักวจิ ัย 2.4 นางสาวฉนั ทช์ นก เจนณรงค์ นกั วิจยั 3. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 มาตรา 279 กาหนดให้มาตรฐานทางจริยธรรม ของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐแต่ละประเภทให้เป็นไปตามประมวล จรยิ ธรรมทกี่ าหนดข้ึน โดยจะต้องมีกลไกและระบบในการบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังกาหนดขั้นตอน การลงโทษตามความรา้ ยแรงแห่งการกระทา หากมกี ารฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏิบตั ิตามมาตรฐานทางจริยธรรมให้ถือว่า เป็นการกระทาผิดทางวินัย โดยสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สานักงาน ก.พ.) ในฐานะของ องค์กรกลางในการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน ได้ดาเนินการตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 โดยการออกพระราชบญั ญัติระเบยี บขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 เพอ่ื ใหข้ ้าราชการพลเรือนทุกตาแหน่งปฏิบัติหน้าท่ีโดยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก และดาเนินงานให้ เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ แก่สังคม ซ่ึงมาตรา 78 ของพระราชบญั ญัติดังกล่าวได้บัญญัติว่า ข้าราชการพลเรือนสามัญ ต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกาหนดไว้ เพื่อให้เป็นข้าราชการที่ดี มีเกียรติและศักด์ิศรีความ เป็นข้าราชการ โดยให้ส่วนราชการกาหนดข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการเพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะงาน ของส่วนราชการนั้นตามหลักวิชาและจรรยาวิชาชีพ และให้สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินท่ีจัดต้ังขึ้นตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมแห่งราชอาณาจักรไทย มีอานาจหน้าท่ีในการพิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริงตาม คาร้องเรียนในกรณีการปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออานาจหน้าท่ีตามกฎหมายของข้าราชการ พนักงาน หรอื ลกู จา้ งของหนว่ ยงานราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรือรัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถ่ิน รวมถึง การดาเนินการเก่ียวกับจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าท่ีรัฐ การติดตาม ประเมินผล จดั ทาขอ้ เสนอแนะ และรายงานผลการตรวจสอบ ท้ังนี้ กระทรวงมหาดไทยได้ยึดหลักจริยธรรมภายใต้ประมวลจริยธรรมของสานักงานข้าราชการ พลเรือน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยยึดม่ันในค่านิยมหลัก (Core Value) 9 ประการ ได้แก่ (1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม (2) การมีจิตสานึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริตและรับผิดชอบ (3) การยึดถอื ประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตนและไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน (4) การยืนหยัดทา ในส่ิงท่ีถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย (5) การให้บริการประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือก ปฏิบัติ (6) การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วนถูกต้อง ไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง (7) การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ของงานรักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ (8) การยึดม่ันในระบบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ (9) การยึดม่ันในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร โดยส่วนราชการภายใต้ สังกัดกระทรวงมหาดไทยได้จัดทาข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ เพื่อให้ข้าราชการ พนักงานราชการ และ
9 ลกู จ้างยึดถือเปน็ แนวทางในการปฏิบัติหน้าท่ี เพ่ือสร้างเสริมจิตสานึกที่ดีในการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ ธารงไว้ซึง่ ศักด์ิศรีเกียรตคิ ณุ เป็นท่เี ล่อื มใสศรทั ธาจากสังคมและประชาชนท่ัวไป อย่างไรก็ตาม จากรายงานประจาปี 2559 ของสานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน1 พบว่า มีประชาชนย่ืน เร่ืองร้องเรียนนักการเมือง และเจ้าหน้าท่ีของรัฐจากการฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตาม ประมวลจริยธรรมมายังผู้ตรวจการแผ่นดินจานวน 3,489 เรื่อง ซ่ึงเพ่ิมขึ้นถึงร้อยละ 23.37 เมื่อเทียบกับ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ที่มีจานวน 2,828 เรื่อง โดยส่วนใหญ่เป็นประเด็นเร่ืองความไม่เป็นธรรม และเม่ือ เปรียบเทียบจานวนเร่อื งรอ้ งเรียนระหวา่ งหน่วยงาน พบว่า ในปี 2559 กระทรวงมหาดไทยมเี รอ่ื งรอ้ งเรียนมาก เป็นอันดับ 1 (668 เร่ือง) และมีแนวโน้มที่จะเพ่ิมข้ึน ซึ่งการละเมิดข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการบาง ประการ อาจนามาสู่การกระทาทุจริตต่อหน้าท่ี ดังจะเห็นได้จากสถิติการรับเร่ืองร้องเรียนของสานักงาน ป.ป.ช. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25592 ได้รับเรื่องการร้องเรียนทั้งส้ิน 3,287 เรื่อง โดยกระทรวงมหาดไทยเป็น หน่วยงานที่มีเรื่องร้องเรียนมากท่ีสุด จานวน 689 เรื่อง เม่ือเทียบกับกระทรวงต่าง ๆ คิดเป็นร้อยละ 20.9 และสถิติการรับเร่ืองร้องเรียนเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ (สานักงาน ป.ป.ท.) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558)3 พบว่า มีจานวนเรื่องการร้องเรียนท้ังส้ิน 2,136 เร่ือง โดยกระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานที่เรื่อง ร้องเรียนเก่ียวกับการทุจริตมากท่ีสุด จานวน 1,408 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 65.9 ซึ่งจากสถิติการร้องเรียนท่ี เป็นไปทิศทางเดียวกัน สามารถแสดงให้เห็นได้ชัดเจนว่ายังคงมีข้าราชการของกระทรวงมหาดไทยบางส่วนที่ ละเมิดข้อบงั คับวา่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการฯ อนั จะนาไปสกู่ ารทุจริต จากสถานการณ์การทุจริตในสังคมไทยที่ยังเป็นปัญหาเร้ือรังและมีความซับซ้อนมากขึ้น จึงนับได้ ว่าเป็นภัยร้ายแรงและเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่รัฐ จากการใช้อานาจหน้าที่เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนด้วยการละเลย เพิกเฉย การไม่ปฏิบัติหน้าท่ีตาม กฎหมาย หรือการปฏิบัตินอกเหนืออานาจหน้าที่เก่ียวกับกฎระเบียบและการกากับดูแล รวมถึงการบังคับ ใช้กฎหมาย หากเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ความสาคัญและตระหนักจริยธรรมเพิ่มมากขึ้น ก็จะเป็นการเพิ่ม ภูมิคุ้มกันให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีการประพฤติปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส สุจริต ซื่อสัตย์ และมี ความชอบธรรม โดยส่ิงแรกต้องทราบระดับพฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักจรรยาข้าราชการ ซึ่งจะ ทาให้เข้าใจถึงลักษณะรูปแบบพฤติกรรม ทัศนคติของข้าราชการ เพื่อการสร้างจิตสานึกที่ดีให้กับ เจ้าหน้าท่ีรัฐให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับเจ้าหน้าท่ีรัฐทุกระดับ ดังนั้น การศึกษาวิจัยน้ีจึงมุ่งศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการของ ขา้ ราชการกระทรวงมหาดไทยใน 2 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) ศึกษาการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วย จรรยาขา้ ราชการ และศกึ ษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการของ กระทรวงมหาดไทย (2) เพื่อสารวจการรับรู้ และความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการ สงั กัดกระทรวงมหาดไทย และ (3) เพ่ือหาแนวทางและข้อเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของข้าราชการ ให้ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คับวา่ ด้วยจรรยาของกระทรวงมหาดไทย ท้ังนี้ การศึกษาวิจัยนี้จะสอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในยุทธศาสตร์ที่ 1 คือ การสร้าง สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริตในกลยุทธ์ที่ 1 ปรับฐานความคิดกลุ่มเจ้าหน้าที่รัฐโดยกาหนด พัฒนา และปรับปรุง 1 สานักงานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ , (2558) .รายงานประจาปี 2558, (นนทบุร:ี สานกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดิน,2558). หนา้ 66-68. 2 สานักงาน ป.ป.ช. . สถิติการร้องเรยี นเรือ่ งกลา่ วหา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2559. (ออนไลน์ ) สบื ค้นเมือ่ วันท่ี 3 มนี าคม 2560 จากระบบ บริหารจัดการเรอ่ื งรอ้ งเรยี นและคดี (http://10.151.0.73:7013/CCMS/Inquiry/ExceutiveInquiry.do) 3 สานักงาน ป.ป.ท.. สถิติการรบั เร่อื งรอ้ งเรียนการทจุ ริตในภาครัฐของสานกั งาน ป.ป.ท. (ออนไลน)์ สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 19 กมุ ภาพันธ์ 2559. จาก https://data.go.th/DatasetDetail.aspx?id=304b10da-e1cd-4197-af5b-232fc8e22752&AspxAutoDetectCookieSupport=1.
10 มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม และยุทธศาสตร์ท่ี 2 คือ ยกระดับเจตจานงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต ในกลยุทธ์ที่ 2 การเร่งรัดติดตามมาตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีรัฐในทุกระดับ รวมทั้งแผนบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 วิสัยทัศน์ “สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรมและร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นท่ียอมรับในระดับสากล” การปฏิบัติตามแนวทางที่ 2 การสร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ได้กาหนด ตัวชี้วัด ร้อยละ 80 ของข้าราชการ นักการเมือง มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของ หนว่ ยงาน 4. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย 4.1 เพ่อื ศกึ ษาการปฏบิ ตั หิ รือไมป่ ฏิบัตติ ามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ และศึกษาปัจจัยท่ีส่งผล ตอ่ การปฏิบตั หิ รือไมป่ ฏิบตั ติ ามข้อบงั คับว่าด้วยจรรยาขา้ ราชการของกระทรวงมหาดไทย 4.2 เพ่ือสารวจการรับรู้ และความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการสังกัด กระทรวงมหาดไทย 4.3 เพ่ือหาแนวทางและข้อเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของข้าราชการให้ปฏิบัติตาม ขอ้ บังคับวา่ ดว้ ยจรรยาขา้ ราชการของกระทรวงมหาดไทย 5. วธิ ีดาเนนิ การวิจยั การศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) ซึ่งใช้การวิจัยเชิง ปรมิ าณ (Quantitative Research) เป็นหลัก โดยการเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิโดยใช้แบบสอบถามจานวน 2 ชุด ได้แก่ (1) แบบสอบถามสาหรับข้าราชการกระทรวงมหาดไทย ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล การรับรู้ ข้อบังคับจรรยาข้าราชการ ทัศนคติต่อการเป็นข้าราชการ ความคิดเห็นในการบริหารราชการของหน่วยงาน วัฒนธรรมองค์กร ลักษณะการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา ปัญหาเก่ียวกับกฎ/ระเบียบกระทรวงมหาดไทย การมีระบบแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และพฤติกรรมข้าราชการตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ โดยมี ข้าราชการตัวอยา่ งที่ตอบแบบสอบถามจานวน 910 ราย และ (2) แบบสอบถามสาหรับประชาชนท่ีเคยมาใช้ บริการเกี่ยวกับประเด็น การรับรู้ และความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติงานของข้าราช การ กระทรวงมหาดไทย โดยมีประชาชนตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจานวน 430 ราย และใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) จากบุคคลที่เกี่ยวข้อง อันประกอบด้วย (1) ข้าราชการท่ีปฏิบัติงานในส่วนราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย จานวน 12 ราย (2) ขา้ ราชการเกษยี ณอายรุ าชการระดับผบู้ ริหารและระดับปฏิบตั ิงาน จานวน 12 ราย (3) นักวิชาการ จานวน 4 ราย และ (4) ประชาชนที่เคยใช้รับบริการในส่วนราชการท่ีสังกัดกระทรวงมหาดไทย จานวน 8 ราย ท้ังน้ี เพื่อให้ได้รับความคิดเห็นจากภาคส่วนต่าง ๆ อย่างรอบด้าน ทั้งประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมปฏิบัติงาน ของข้าราชการ และการให้ความคิดเห็นต่อผลการสารวจ พร้อมข้อเสนอแนะและแนวทางเพื่อนาไปสู่ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมของข้าราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทยให้เป็นข้าราชการที่มีคุณธรรม และ จรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั งิ าน
11 6. สรุปผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะ 6.1 พฤตกิ รรมข้าราชการในการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บังคบั ว่าดว้ ยจรรยา (1) ขอ้ มลู ท่วั ไปของขา้ ราชการตัวอยา่ ง จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณโดยการใช้แบบสอบถาม พบว่า มีข้าราชการตัวอย่างท่ี ตอบแบบสอบถามรวม 910 ราย โดยข้าราชการตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นข้าราชการหญิง (ร้อยละ 57.5) มีอายุ ระหว่าง 38-52 ปี (ร้อยละ 45.9) มีสถานภาพสมรส (ร้อยละ 54.2) มีประสบการณ์ทางานหรืออายุราชการ มากกว่า 20 ปีข้ึนไป (ร้อยละ 49.8) ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ (ร้อยละ 63.8) มีรายได้เฉล่ียอยู่ที่ 32,364 บาทต่อเดือน มีค่าใช้จ่ายเฉล่ียอยู่ท่ี 25,635 บาทต่อเดือน โดยมากว่าร้อยละ 90.00 มีรายได้เพียงพอต่อรายจ่าย และประมาณร้อยละ 55.05 ของข้าราชการมหี นส้ี นิ โดยมีหนี้สนิ คงเหลอื เฉล่ียอยู่ท่ี 949,997 บาทต่อคน เม่ือพิจารณาการรับรู้ข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ทัศนคติต่อการเป็นข้าราชการ และ ความคิดเห็นในการบริหารราชการของหน่วยงาน อันได้แก่ วัฒนธรรมองค์กร ลักษณะการปฏิบัติงานของ ผู้บังคับบัญชา ปัญหาเกี่ยวกับกฎ/ระเบียบกระทรวงมหาดไทย การมีระบบแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และ การรับรูข้ ้อบงั คับจรรยาข้าราชการ สามารถสรุปไดด้ ังนี้ ประมาณร้อยละ 86.15 ข้าราชการมีการรับรู้หรือได้ศึกษาเกี่ยวกับข้อบังคับว่าด้วย จรรยาข้าราชการของหน่วยงาน โดยช่องทางการรับรู้ข้อบังคับว่าด้วยจรรยาฯ ส่วนใหญ่รับรู้หรือศึกษาจาก หนังสือเวียน เอกสาร แผ่นพับ (ร้อยละ 48.3) รองลงมาเป็นเว็บไซต์ และ E-book (ร้อยละ 36.1) โดยปัจจัย หลกั ทาให้ขา้ ราชการมกี ารรับรขู้ อ้ บังคบั ว่าด้วยจรรยามาจากการสง่ เสริม ประชาสัมพันธ์โดยการมีหนังสือเวียน เอกสาร และแผ่นพับของหน่วยงานให้ข้าราชการถือปฏิบัติตาม ประกอบกับมีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การอบรม สัมมนา การเป็นแบบอย่างของผู้บังคับบัญชา ส่วนกลุ่มข้าราชการท่ีไม่รับรู้หรือไม่ได้ศึกษาเก่ียวกับ ข้อบังคับวา่ ด้วยจรรยาข้าราชการ (ร้อยละ 13.8) เป็นกลุ่มข้าราชการที่ไม่ได้ให้ความสาคัญ และมีปริมาณงาน จานวนมากไมม่ เี วลาในการศกึ ษาข้อบงั คบั ว่าดว้ ยจรรยาขา้ ราชการ ทัศนคติท่ดี ีต่อการเป็นข้าราชการ ข้าราชการมีระดับทัศนคติที่ดีต่อการเป็นข้าราชการ เฉลี่ยอยู่ที่ 3.81 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับ “เห็นด้วย” โดยมีความภูมิใจกับอาชีพ การเป็นข้าราชการท่ีมีความม่ันคง มีเกียรติและศักดิ์ศรี อีกท้ังยังก็เป็นอาชีพท่ีมีโอการในการทาประโยชน์เพ่ือ สังคมมากกว่าอาชีพอ่ืน ๆ ส่วนเรื่องค่าตอบแทนเห็นว่ายังไม่เหมาะสมกับหน้าท่ีความรับผิดชอบ โดยข้าราชการให้เหตุผลประกอบว่าการท่ีคนในสังคมมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเป็นข้าราชการ ระบบราชการมี กฎระเบียบมาก การทางานเกิดความล่าช้า ค่าตอบแทนไม่สอดคล้องกับภาวะค่าครองชีพในปัจจุบัน รวมถึง ปัจจุบันมีอาชีพใหม่เกิดข้ึนมากมาย ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ที่มีความสามารถไม่เข้าสู่ระบบราชการ แต่จะเลือก ทางานท่ีมีค่าตอบแทนที่สูง เช่น ธุรกิจออนไลน์ ธุรกิจแฟรนไซส์ เป็นต้น สาหรับการสร้างทัศนคติท่ีดีต่อการ เป็นข้าราชการน้ันสามารถปรับทัศนคติได้ด้วยการอบรมเพื่อนาไปสู่การเป็นข้าราชการที่ดี โดยให้เด็กรุ่นใหม่ เรียนรู้วิธีการทางานจากการทางานกับคนที่เก่งงานและเป็นคนดี เพ่ือปรับทัศนคติให้สอดคล้องกับแนวทางท่ี ถกู ตอ้ ง การพฒั นาคนมี 3 อยา่ ง คอื ความรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skill) และทัศนคติ (Attitude) ข้าราชการมีความคิดเห็นในการบริหารราชการในหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน เฉล่ียอยู่ที่ 3.52 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยูใ่ นระดับ “เห็นด้วย” กล่าวได้ว่าการบริหารราชการของหน่วยงานในภาพรวม อยู่ในระดับดี โดยข้าราชการมีความคิดเห็นต่อการบริหารราชการในเรื่องวัฒนธรรมองค์กร ระบบบริหารราชการ การปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา การบังคับใช้กฎ/ระเบียบ/กฎหมาย อยู่ในระดับ “เห็นด้วย” ในขณะท่ีเรื่อง การสร้างแรงจูงใจ ข้าราชการมีความคิดเห็นอยู่ในระดับ “ปานกลาง” ทั้งน้ีข้าราชการเห็นว่าการบริหารราชการยัง เป็นระบบอุปถัมภ์ ประกอบกับสังคมไทยได้กลายเป็นสังคมวัตถุนิยม นิยมยกย่องคนรวยโดยไม่สนใจถึงท่ีมาของ
12 ทรัพย์สิน และระบบการบริหารราชการมีความผูกพันกับความก้าวหน้าตาแหน่งหน้าท่ีของตัวข้าราชการ นอกจากนี้กฎหมาย กฎระเบียบมีจานวนมาก มีความซ้าซ้อนในบางเรื่องทาให้เกิดช่องโหว่ในการกระทาการทุจริต อีกทั้ง การบังคับใช้เพื่อการตรวจสอบการปฏิบัติงานของข้าราชการในปัจจุบันมีรูปแบบการตรวจสอบกระบวนการ เทา่ นัน้ ไมไ่ ดใ้ ห้ความสาคัญกับผลผลติ และผลลัพธ์ จึงทาให้ระบบการตรวจสอบยงั ไม่มปี ระสิทธิภาพเท่าที่ควร (2) พฤติกรรมข้าราชการทปี่ ฏิบัติหรอื ไมป่ ฏิบตั ิตามขอ้ บงั คับวา่ ด้วยจรรยาข้าราชการ ขา้ ราชการมีระดับพฤติกรรมในการปฏิบัติงานตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการโดยรวม เฉลี่ยอยู่ท่ี 3.65 คะแนน จากคะแนนเตม็ 4 คะแนน ซึ่งจัดได้วา่ มกี ารปฏบิ ัตสิ ม่าเสมอ เมื่อนาคะแนนพฤติกรรมการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการแต่ละบุคคลมา จาแนกออกเปน็ 2 กลมุ่ กลา่ วคือ หากข้าราชการมีระดับพฤติกรรมการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ น้อยกวา่ ค่าคะแนนเฉล่ยี รวม ( =3.65) ถือว่าเป็นกลุ่มขา้ ราชการทไ่ี ม่ปฏบิ ตั ติ ามหรอื ปฏบิ ตั ติ ามในระดบั ตา่ หากข้าราชการมีระดับพฤติกรรมการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ มากกว่าหรือเทา่ กับ คา่ คะแนนเฉล่ียรวม ( =3.65) ถือว่าเปน็ กล่มุ ข้าราชการปฏิบัติตามหรือปฏบิ ัตติ ามในระดบั สูง จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ประมาณร้อยละ 57.36 เป็นข้าราชการที่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่า ด้วยจรรยาข้าราชการ หรือปฏิบัติตามในระดับท่ีสูง และร้อยละ 42.64 เป็นกลุ่มข้าราชการท่ีไม่ปฏิบัติตาม ข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ หรือปฏิบัติตามในระดับท่ีต่า เมื่อพิจารณาตามรายข้อจรรยาข้าราชการ พบว่า ด้านการปฏิบัติงานด้วยจิตบริการ มีสัดส่วนข้าราชการท่ีปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการหรือปฏิบัติ ตามในระดับสูง มากที่สุด คือ ร้อยละ 81.98 รองลงมาเป็นด้านความซื่อสัตย์ สุจริต และความรับผิดชอบ (ร้อยละ 73.30) ความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ (ร้อยละ 68.90) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (ร้อยละ 66.70) การดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ร้อยละ 61.10) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม ไม่เลือก ปฏิบัติ (ร้อยละ 51.43) และการยดึ มั่นและยนื หยดั ในส่งิ ที่ถกู ต้องดงี าม และชอบธรรม (ร้อยละ 40.58) ตามลาดบั จากผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อบังคับ ว่าด้วยจรรยาข้าราชการอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ รวมท้ังส้ิน 10 ปัจจัย โดยเป็นตัวแปรปัจเจกบุคคล 6 ตัวแปร ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด อายุราชการ ระดับตาแหน่ง รายได้ต่อเดือน และทัศนคติต่อการเป็นข้าราชการ และเป็นตัวแปรด้านบริบททางสังคม 4 ตัวแปร ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์กร ระบบการบริหารราชการ การบริหารงานของผู้บังคับบัญชา และการบังคับใช้กฎหมาย/กฏระเบียบ โดยทุกปัจจัยมีความสัมพันธ์กับการ ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในทิศทางบวก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และจาก การสัมภาษณ์เชิงลึกข้าราชการและบุคคลที่เกี่ยวข้องยังพบว่า สาเหตุท่ีทาให้ข้าราชการปฏิบัติตามข้อบังคับ ว่าด้วยจรรยา ปัจจัยท่ียังช่วยให้ข้าราชการมีการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ได้แก่ (1) การมี จิตสานึกและทัศนคติท่ีดีในการปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละบุคคล (2) การเป็นแบบอย่างท่ีดีของผู้บังคับบัญชา (3) วัฒนธรรมองค์กรที่ยึดม่ันในคุณธรรมจริยธรรม (4) การสร้างแรงจูงใจของหน่วยงานโดยการยกย่องเชิดชู เป็นต้นแบบและให้รางวัลแก่ข้าราชการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการฯ และ (5) การนา เทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากข้ึน รวมถึงการลด การใช้อานาจดุลพนิ จิ ของข้าราชการ
13 (3) ปจั จัยทีผ่ ลต่อการปฏิบตั ิและไมป่ ฏบิ ัติตามขอ้ บังคบั ว่าด้วยจรรยาข้าราชการ จากผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกข้างต้นสามารถแจกแจงการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตาม ขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยจรรยาในแต่ละตัวแปรไดด้ งั น้ี (3.1) เพศ: ขา้ ราชการหญิงมีโอกาสท่ีจะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการใน ภาพรวม สงู กวา่ ข้าราชการชาย ประมาณ 1.880 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เม่ือพิจารณาตามราย ข้อจรรยา พบว่า ข้าราชการหญิงโอกาสที่จะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ สูงกว่า ข้าราชการชาย เกือบทุกขอ้ ยกเวน้ ดา้ นการยดึ ม่นั และยนื หยัดในสิง่ ท่ีถูกต้องดีงาม และชอบธรรม กล่าวคือ ข้าราชการหญิงโอกาส ที่จะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในด้าน (1) ความซื่อสัตย์ สุจริต และความรับผิดชอบ (2) ความ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ (3) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ (4) การมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ของงาน (5) จิตบริการ และ (6) การดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สูงกว่า ข้าราชการชาย ประมาณ 1.1.476 1.791 1.883 1.830 1.520 และ 1.520 เท่า อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05 ตามลาดับ (3.2) ระดับการศึกษาสูงสุด: ในภาพรวมตัวแปรด้านการศึกษาไม่ได้ส่งผลให้ ข้าราชการปฏิบัติงานตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ เม่ือพิจารณาตามรายข้อจรรยา พบว่า ตัวแปรด้าน การศึกษามีผลต่อการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาในด้านความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ เพียงด้าน เดยี ว โดยขา้ ราชการที่มกี ารศกึ ษาสงู กวา่ ปรญิ ญาตรี จะมีโอกาสที่จะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการใน ด้านความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ สูงกว่า ข้าราชการท่ีมีการศึกษาต่ากว่าหรือเท่ากับปริญญาตรี ประมาณ 1.345 เท่า ทั้งนี้เนื่องจากข้าราชการท่ีมีการศึกษาสูงจะมีแนวโน้มท่ีจะเข้าใจกฎระเบียบ/กฎหมาย และ มีการคิดเชิงระบบได้ดีกว่าข้าราชการที่จบระดับปริญญาตรี แต่อย่างไรก็ดีการศึกษาท่ีสูงกว่าไม่ได้เป็นส่ิงยืนยันว่า ข้าราชการจะเป็นข้าราชการทด่ี ีกว่าคนท่ีมกี ารศึกษาน้อยกว่า แต่หากขึ้นอย่กู ับจิตสานึกของตวั ข้าราชการเอง (3.3) ระดับตาแหน่ง: ข้าราชการท่ีดารงตาแหน่งระดับชานาญการพิเศษ/เช่ียวชาญ/ อานวยการ จะมีโอกาสท่ีจะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในภาพรวม สูงกว่า ข้าราชการที่ดารง ตาแหนง่ ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร/ปฏิบัตงิ าน ประมาณ 2.073 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยข้าราชการท่ี ดารงตาแหน่งระดับชานาญการพิเศษ/เช่ียวชาญ/อานวยการ จะมีโอกาสท่ีจะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยา ข้าราชการในด้าน (1) การยึดมั่นและยืนหยัดในส่ิงท่ีถูกต้องดีงาม และชอบธรรม (2) ความซ่ือสัตย์สุจริตและความ รับผิดชอบ และ(3) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน สูงกว่า ข้าราชการท่ีดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการ/ปฏิบัติงาน ประมาณ 1.967 เทา่ 1.904 เทา่ และ 1.854 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ตามลาดับ ส่วนข้าราชการ ที่ดารงตาแหน่งระดับชานาญการ/ชานาญงาน จะมีโอกาสที่จะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในด้าน (1) ความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ และ (2) การดารงชวี ิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สูงกว่า ข้าราชการท่ี ดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการ/ปฏิบัติงาน ประมาณ 1.656 เท่า และ 1.633 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ตามลาดับ เน่ืองจากข้าราชการท่ีดารงตาแหน่งชานาญการพิเศษ/เช่ียวชาญ/อานวยการ และตาแหน่งระดับ ชานาญการ/ชานาญงานมีประสบการณ์ในการทางานมากกว่าข้าราชการระดับปฏิบัติการ/ปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเป็น ด้านลักษณะงานประจา ความรู้ความเข้าใจกฎหมาย/กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงาน และการปรับตัวกับนโยบาย ผ้บู ริหาร ประกอบกับการที่ข้าราชการท่ีมีระดับตาแหน่งสูงต้องรับผิดชอบงานมากกว่าข้าราชการระดับปฏิบัติการ/ ปฏิบัติงาน อีกทั้งยังถูกเพ่งเล็งจากหน่วยงานต่างๆ ที่มีหน้าท่ีในการตรวจสอบการปฏิบัติงาน เช่น สานักงาน ผู้ตรวจการแผน่ ดิน เปน็ ตน้ ทาใหข้ า้ ราชการต้องมีการระมัดระวงั ตวั ในการถูกตรวจสอบ (3.4) อายุราชการ: ในภาพรวมตัวแปรด้านอายุราชการไม่ได้ส่งผลให้ข้าราชการ ปฏิบัติงานตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ เมื่อพิจารณาตามรายข้อจรรยา พบว่า ตัวแปรด้านอายุราชการมี ผลต่อการปฏิบตั ติ ามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาในด้านจิตบริการ เพียงด้านเดียว โดยข้าราชการท่ีมีอายุราชการ 11-20
14 ปี และตั้งแต่ 21 ปีขึ้นไป จะมีโอกาสท่ีจะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในด้านการมีจิตบริการ สูงกว่า ข้าราชการที่มีอายุราชการน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ปี ประมาณ 1.789 เท่า และ 1.598 เท่า ท้ังนี้เน่ืองจาก ข้าราชการที่มีประสบการณ์ทางานมีความเชี่ยวชาญและมีทักษะในการปฏิบัติงานมากกว่าข้าราชการที่มี ประสบการณน์ อ้ ย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มข้าราชการที่มีอายุราชการระหว่าง 11-20 ปี จะมีความรู้ความสามารถใน กระบวนการทางานได้ดีกว่าข้าราชการท่ีมีประสบการณ์น้อย ประกอบกับการมีทักษะในการให้บริการประชาชน สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า สามารถให้คาปรึกษา คาแนะนา หรือช่วยแก้ปัญหาของประชาชนได้รวดเร็วกว่า ข้าราชการทม่ี ีประสบการณน์ อ้ ย (3.5) รายได้ต่อเดือน: ในภาพรวมตัวแปรด้านรายได้ไม่ได้ส่งผลให้ข้าราชการ ปฏิบตั งิ านตามขอ้ บงั คับว่าด้วยจรรยาขา้ ราชการ เมื่อพิจารณาตามรายข้อจรรยา พบว่า ตัวแปรด้านรายได้มีผล ต่อการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาในด้านความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ เพียงด้านเดียว โดย ข้าราชการที่มีระดับรายได้ต้ังแต่ 35,001 บาทขึ้นไป จะมีโอกาสท่ีจะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยา ข้าราชการในดา้ นความโปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบได้ สูงกว่า ข้าราชการที่มีระดับรายได้น้อยกว่าหรือเท่ากับ 25,000 บาทต่อเดือนประมาณ 1.807 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ซึ่งการท่ีข้าราชการมีรายได้ เพียงพอต่อค่าครองชีพจะมีสภาวะความเครียดน้อยกว่าข้าราชการที่มีรายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย ซ่ึงนาไปสู่ การปฏิบตั งิ านทม่ี ปี ระสิทธภิ าพและมีความโปรง่ ใส (3.6) ทัศนคติต่อการเป็นข้าราชการ: ทัศนคติต่อการเป็นข้าราชการมีผลต่อ การปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในทุกข้อจรรยา อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลา่ วคอื เม่ือขา้ ราชการมที ัศนคตทิ ่ีดตี อ่ การเป็นข้าราชการ เพม่ิ ข้ึน 1 ระดับ มโี อกาสที่จะปฏิบัติตามข้อบังคับว่า ด้วยจรรยาข้าราชการในภาพรวม เพ่ิมขึ้นประมาณ 1.888 เท่า เม่ือพิจารณาตามรายข้อจรรยา พบว่า ข้าราชการที่มีทัศนคติต่อการเป็นข้าราชการท่ีดีเพ่ิมขึ้น 1 ระดับ มีโอกาสที่จะปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยา ข้าราชการในด้าน (1) การยึดม่ันและยืนหยัดในส่ิงท่ีถูกต้องดีงามและชอบธรรม (2) ด้านความซ่ือสัตย์ สุจริต และความรับผิดชอบ (3) ด้านความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ (4) ด้านการปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความเสมอ ภาคเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ (5) ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (6) ด้านจิตบริการ และ(7) ด้านการดารงชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ิมข้ึนประมาณ 1.414 เท่า 1.918 เท่า 1.446 เท่า 1.431 เท่า 2.066 เท่า 1.625 เท่า และ 2.463 เทา่ อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ตามลาดับ ทั้งนี้ การท่ีข้าราชการปฏิบัติงาน ได้ดีมีประสิทธิภาพและปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการมาจากความตระหนักรู้เกี่ยวกับอานาจ หน้าท่ี ประกอบกับการมจี ิตสานกึ และทัศนคตทิ ่ดี ีในการปฏิบัตหิ น้าทร่ี าชการ (3.7) วัฒนธรรมองค์กร: ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กรมีผลต่อการปฏิบัติตามข้อบังคับว่า ด้วยจรรยาข้าราชการในภาพรวม ในทิศทางบวก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กล่าวคือ หากข้าราชการมี ทัศนคติที่ดีต่อการเป็นข้าราชการ (เน้นเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม) เพิ่มขึ้น 1 ระดับ มีโอกาสที่จะปฏิบัติตาม ข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในภาพรวม เพิ่มขึ้นประมาณ 1.365 เท่า เม่ือพิจารณาตามรายข้อจรรยา พบว่า ข้าราชการท่ีมีทัศนคติที่ดี ต่อการเป็นข้าราชการ (เน้นเร่ืองคุณธรรมและจริยธรรม) เพิ่มขึ้น 1 ระดับ มีโอกาสท่ีจะ ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในด้าน (1) ความซื่อสัตย์ สุจริต และความรับผิดชอบ (2) การปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และ (3) จิตบริการ เพิ่มขึ้นประมาณ 1.541 เท่า 1.305 เท่า และ 1.444 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตามลาดับ โดยหากหน่วยงานวัฒนธรรมองค์กรท่ียึดมั่นใน คุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส ซ่ือสัตย์ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการประเมินความดี ความชอบให้ข้าราชการจากความรู้ความสามารถและผลงาน จะทาให้ข้าราชการมีจิตสานึกท่ีดี ปฏิบัติงานตาม
15 ข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการฯ รวมถึงจะเป็นการปลูกฝังข้าราชการรุ่นใหม่จากโดยการเรียนรู้พฤติกรรมจาก ข้าราชการทปี่ ฏบิ ตั ิหน้าท่ีในหน่วยงานเพือ่ ยึดถือเป็นแบบอย่างของขา้ ราชการทด่ี ี (3.8) ระบบการบริหารราชการ: การบริหารราชการไม่มีผลต่อการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วย จรรยาขา้ ราชการในภาพรวม เม่ือพิจารณาตามรายข้อจรรยา พบว่า ข้าราชการท่ีมีระดับความคิดเห็นต่อการบริหาร ราชการทด่ี เี พมิ่ ขน้ึ 1 ระดับ มโี อกาสทีจ่ ะปฏบิ ตั ิตามขอ้ บงั คบั วา่ ด้วยจรรยาข้าราชการในดา้ น (1) ความซื่อสัตย์ สุจรติ และความรับผิดชอบ (2) การมุ่งผลสัมฤทธ์ิของงาน 1.925 เท่า และ 1.350 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตามลาดับ โดยหากหน่วยงานมีนโยบายและการบริหารงานที่เป็นระบบมีความคล่องตัว มีการส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพของข้าราชการให้มีความสามารถเหมาะสมกับลักษณะงานและทิศทางของหน่วยงาน และมีกลไก การกากับดแู ลตรวจสอบการทางานท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพแลว้ กจ็ ะสง่ ผลใหข้ า้ ราชการปฏบิ ัติตามขอ้ บังคบั วา่ ด้วยจรรยา (3.9) การบริหารงานของผู้บังคับบัญชา: การบริหารงานของผู้บังคับบัญชาไม่มีผลต่อ การปฏิบัตติ ามขอ้ บงั คับว่าดว้ ยจรรยาขา้ ราชการในภาพรวม เมื่อพิจารณาตามรายข้อจรรยา พบว่า ข้าราชการ ท่ีมีระดับความคิดเห็นต่อการบริหารงานของผู้บังคับบัญชาที่ดีเพิ่มข้ึน 1 ระดับ มีโอกาสที่จะปฏิบัติตาม ข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในด้าน (1) ความซื่อสัตย์ สุจริต และความรับผิดชอบ (2) การปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ (3) การมุ่งผลสัมฤทธ์ิของงาน และ(4) จิตบริการ เพ่ิมขึ้น ประมาณ 1.642 เท่า 1.839 เท่า 1.711 เท่า และ 1.548 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ตามลาดบั โดยหากผบู้ งั คบั บญั ชาเป็นแบบอย่างท่ีดีและมีจิตสานึกที่ดีในการปฏิบัติหน้าท่ีราชการ มีการปฏิบัติ ตนต่อผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเท่าเทียมแล้ว ข้าราชการผู้ใต้บังคับบัญชาก็จะมีความเช่ือมั่นและศรัทธาต่อ ตวั ผบู้ งั คับบญั ชาและถอื ปฏบิ ัตติ นตามผบู้ งั คับบญั ชา (3.10) การบังคับใช้กฎหมาย/กฎระเบียบ: การบังคับใช้กฎหมาย/กฎระเบียบมีผลต่อ การปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในภาพรวม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 กล่าวคือ เม่ือข้าราชการมีระดับความคิดเห็นต่อการบังคับใช้กฎหมาย/กฎระเบียบท่ีดี เพ่ิมข้ึน 1 ระดับ มีโอกาสท่ีจะ ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับวา่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการในภาพรวม เพม่ิ ข้ึนประมาณ 1.757 เท่า เมื่อพิจารณาตามรายข้อ จรรยา พบว่า ข้าราชการท่ีมีระดับความคิดเห็นต่อการบังคับใช้กฎหมาย/กฎระเบียบท่ีดีเพิ่มข้ึน 1 ระดับ มีโอกาสที่จะปฏิบัติตามข้อบงั คับว่าดว้ ยจรรยาขา้ ราชการในดา้ น 1) การยึดมั่นและยืนหยัดในส่ิงท่ีถูกต้องดีงาม และชอบธรรม (2) ความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ และ(3) จิตบริการ เพิ่มข้ึนประมาณ 1.799 เท่า 1.378 เท่า และ 1.625 เท่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตามลาดับ หากระบบราชการมีการบังคับ ใช้กฎหมาย กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด มีกลไกการตรวจสอบการทางานของเจ้าหน้าท่ี และมีการบังคับใช้ กฎหมายอยา่ งเป็นธรรมยอ่ มส่งผลให้ข้าราชการปฏิบัติตามขอ้ บงั คับท่กี าหนดไว้ นอกจากปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น จากข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกข้าร าชการ นักวิชาการ พบว่า ยังมีปัจจัยที่ช่วยให้ข้าราชการมีการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ได้แก่ (1) การมีจิตสานึกและทัศนคติที่ดีในการปฏิบัติหน้าท่ีของแต่ละบุคคล (2) การเป็นแบบอย่างท่ีดีของ ผู้บังคับบัญชา (3) วัฒนธรรมองค์กรที่ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม (4) การสร้างแรงจูงใจของหน่วยงานโดย การยกย่องเชิดชูเป็นต้นแบบและให้รางวัลแก่ข้าราชการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการฯ และ (5) การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากข้ึน รวมถึงการลดการใช้อานาจดุลพินิจของข้าราชการ ในขณะเดียวกันผู้ให้การสัมภาษณ์ได้ระบุเหตุปัจจัยที่ทาให้ ข้าราชการไม่ปฏิบัติตามหรือปฏบิ ตั ติ ามไดอ้ ย่างไมค่ รบถ้วน 9 ปัจจัย คือ (1) การที่ข้าราชการไม่ให้ความสาคัญ ในการศึกษาข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ทาให้ข้าราชการไม่รับรู้ ไม่เข้าใจแนวทางการปฏิบัติตามอย่าง ถ่องแท้ (2) ผู้บังคับบัญชามีพฤติกรรมไม่เป็นแบบอย่างท่ีดี หรือขาดภาวะการเป็นผู้นาในด้านคุณธรรม
16 (3) การบริหารงานแบบระบบอุปถัมภ์ เอ้ือประโยชนใ์ ห้แกพ่ รรคพวกตนเองในลกั ษณะทีไ่ ม่ชอบในรูปแบบต่างๆ (4) การถูกแทรกแซงจากนักการเมืองและเครือข่ายการเมืองในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ส่วนตน (5) การมี รายได้ไมเ่ พียงพอต่อค่าใชจ้ า่ ย (6) การหาช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน (7) ค่านิยมทางวัตถุและ สังคมทุนนิยม นิยมยกย่องคนรวยโดยไม่สนใจถึงท่ีมาของทรัพย์สิน (8) ส่ิงเร้า/แรงจูงใจอันผิดกฎหมายและ จรรยาทท่ี าใหข้ ้าราชการไมป่ ฏบิ ัตหิ นา้ ทีต่ ามระเบียบ เช่นการเรียกรับสินบน การุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง เป็น ตน้ และ (9) การบังคับใช้กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร โดยไม่ได้มีการบังคับ ใช้บทลงโทษอย่างจริงจัง หรอื ไมไ่ ด้กาหนดบทลงโทษไว้ 6.2 ความคดิ เหน็ ของประชาชนท่มี ีตอ่ การปฏบิ ตั ิงานของข้าราชการกระทรวงมหาดไทย จากการสารวจประชาชนตัวอย่าง จานวน 435 ราย พบว่า ได้รับรู้/รับทราบว่าข้าราชการ ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับเกี่ยวกับจรรยาข้าราชการเพื่อให้เป็นข้าราชการที่ดี มีเกียรติ ศักด์ิศรี ร้อยละ 85.06 โดยส่วนใหญ่รับรู้การปฏิบัติงานของข้าราชการจากช่องทางสื่อโทรทัศน์มากท่ีสุด ร้อยละ 20.6 รองลงมาเป็น การประกาศทางราชการ Internet/Website/Social สื่อหนังสือพิมพ์/วารสาร และป้าย/โปสเตอร์ ประชาสัมพันธข์ องสว่ นราชการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.4 15.2 10.5 และร้อยละ 10.4 ตามลาดับ ประชาชนมีความคดิ เห็นต่อการปฏบิ ตั งิ านของข้าราชการในภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.20 จาก คะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับ “ปานกลาง” เมื่อพิจารณาในประเด็นย่อย พบว่า ประชาชนมีความ พงึ พอใจในทุกประเด็นอยใู่ นระดับปานกลางเช่นเดยี วกัน โดยประเด็นที่มคี วามพึงพอใจมากที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ มีความรู้ ความสามารถ ความชานาญเหมาะสมกบั งานทีใ่ ห้บริการ มคี ่าเฉล่ียอยู่ที่ 3.40 คะแนน รองลงมาเป็น เจา้ หนา้ ท่ปี ฏิบตั หิ นา้ ท่ีด้วยความถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบเพ่ือประโยชน์ของประชาชน และเจ้าหน้าที่ ให้บริการมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าท่ีเป็นอย่างดี มีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 3.34 คะแนน ส่วนประเด็นที่ ประชาชนพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ คอื เจ้าหนา้ ที่ปฏิบัตหิ นา้ ทีใ่ นสงิ่ ท่ถี ูกตอ้ งโดยไม่เกรงกลัวต่ออานาจของผู้มีอิทธิพล ค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 2.89 คะแนน เม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระหว่างความคิดเห็นของประชาชนจากสภาพจริง และความคาดหวงั ดว้ ยสถติ ิ Paired Samples Statistics พบวา่ ประชาชนให้คะแนนการปฏิบัติงานในสภาพ จรงิ น้อยกว่า คะแนนความคาดหวังต่อการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีของขา้ ราชการ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 นัน่ แสดงให้เหน็ วา่ การปฏบิ ัตงิ านของข้าราชการในภาพจริง ยงั ไม่ถึงระดบั ท่ีประชาชนคาดหวงั เทา่ ทคี่ วร ประชาชนท่ีตอบแบบสอบถามจานวน 435 ราย ประมาณร้อยละ 53.33 รับรู้พฤติกรรมในการ ปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการที่ส่อไปในทางท่ีไม่เหมาะสมและการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว จากข้อมูล ข่าวสารจากส่ือต่าง ๆ จากบุคคลอื่นบอกเล่า (ร้อยละ 51.49) และประสบการณ์จริงด้วยตนเอง (ร้อยละ 37.70) โดยกลุ่มประชาชนท่ีประสบดว้ ยตนเองประมาณเกือบคร่ึง ระบุว่าการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่อย่างไม่ เป็นกลาง/เลือกปฏิบัติ มากที่สุด คือ ร้อยละ 48.78 โดยประชาชนระบุว่าข้าราชการที่ให้บริการมีการเลือก ปฏิบตั ิ มีการใหบ้ รกิ ารแก่พรรคพวกหรือญาตพิ ีน่ อ้ งของตนเองกอ่ น รองลงมาเป็นการเรียกรับสินบน/ใช้อานาจ หน้าที่แสวงหาประโยชน์ส่วนตนโดยมิชอบ ใช้ทรัพย์สินทางราชการเพื่อประโยชน์ส่วนตน และใช้เส้นสายใน การโยกยา้ ย หรือเลอ่ื นตาแหน่ง รอ้ ยละ 36.59 21.34 และรอ้ ยละ 12.20 ตามลาดบั นอกจากนี้ยังมีพฤติกรรม ในการละเมิดศีลธรรม เชน่ ชู้สาว เล่นการพนัน ยาเสพติด ดื่มสุรา/ส่ิงมึนเมา เป็นต้น ร้อยละ 6.10 นอกจากน้ี ยังพบเห็นข้าราชการมีการนาทรัพย์สินของราชการ เช่น รถยนต์ท่ีใช้ในราชการมาใช้เดินทางเพ่ือไป ทาธรุ ะสว่ นตวั มีการนาอปุ กรณส์ านักงานไปใช้ทีบ่ ้าน เปน็ ตน้
17 อย่างไรก็ตาม หน่วยงานมีความพยายามแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น การติดตั้งระบบบัตรคิว เพอื่ แก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีอย่างไม่เป็นกลาง/เลือกปฏิบัติ ซ่ึงส่งผลให้มีแนวโน้มในการเลือก ปฏบิ ตั ิลดลง 6.3 ขอ้ เสนอแนะ 6.3.1 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย จากผลการศึกษาท่ีช้ีให้เห็นว่าการปฏิบัติงานของข้าราชการยังประสบปัญหาในการปฏิบัติ ตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการในด้านการยึดม่ันและยืนหยัดในสิ่งท่ีถูกต้องดีงาม และชอบธรรมมาก ทีส่ ุดเป็นเรอื่ งท่ยี ังเปน็ นามธรรม ยากต่อการนาไปปฏิบัติ ซึ่งมีสัดส่วนการปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตามในระดับท่ี สูง เพียงร้อยละ 40.58 และประเด็นท่ียังมีสัดส่วนการปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตามในระดับท่ีสูง ไม่เกินร้อยละ 70 ได้แก่ การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ (ร้อยละ 51.43) การดารงชีวิตตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ร้อยละ 61.10) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (ร้อยละ 66.70) และความโปร่งใสและ สามารถตรวจสอบได้ (ร้อยละ 68.90) และจากผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก พบว่า ปัจจัยท่ีมีผลต่อ การปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ รวมทั้งสิ้น 10 ปัจจัย ได้แก่ เพศ ระดับ การศึกษาสูงสุด อายุราชการ ระดับตาแหน่ง รายได้ต่อเดือน และทัศนคติต่อการเป็นข้าราชการ ด้านวัฒนธรรม องค์กร ระบบการบริหารราชการ การบริหารงานของผู้บังคับบัญชา และการบังคับใช้กฎหมาย/กฎระเบียบ นอกจากนี้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกข้าราชการและบุคคลที่เกี่ยวข้องยังพบว่า ยังมีปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีผลต่อ การปฏบิ ัติตามขอ้ บังคับว่าด้วยจรรยา อันได้แก่ การมีจิตสานึกและทัศนคติท่ีดีในการปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละบุคคล การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้บังคับบัญชา วัฒนธรรมองค์กรที่ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม การสร้างแรงจูงใจของ หนว่ ยงานโดยการยกย่องเชิดชูเป็นต้นแบบและให้รางวัลแก่ข้าราชการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ และการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงาน เพ่ือให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากข้ึน รวมถึง การลดการใช้อานาจดุลพินจิ ของขา้ ราชการ ในขณะท่เี หตุปัจจัยทท่ี าใหข้ ้าราชการไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตาม ได้อย่างไม่ครบถ้วนมาจากหลายสาเหตุดว้ ยกัน เชน่ การท่ีข้าราชการไม่ให้ความสาคัญในการศึกษาข้อบังคับว่า ด้วยจรรยาข้าราชการ ทาให้ข้าราชการไม่รับรู้ ไม่เข้าใจแนวทางการปฏิบัติตามอย่างถ่องแท้ ผู้บังคับบัญชามี พฤติกรรมไม่เป็นแบบอย่างที่ดี และขาดภาวะผู้นาในด้านคุณธรรม การบริหารงานแบบระบบอุปถัมภ์ เอื้อประโยชน์ให้แก่พรรคพวกตนเองในลักษณะที่ไม่ชอบธรรมในรูปแบบต่างๆ การถูกแทรกแซงจาก นักการเมืองและเครือข่ายการเมืองในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ส่วนตน การมีรายได้ไม่เพียงพอต่อ ค่าใช้จ่าย การหาช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน ค่านิยมทางวัตถุและสังคมทุนนิยม นิยมยกย่อง คนรวยโดยไม่สนใจถงึ ที่มาของทรัพยส์ นิ สิ่งเรา้ /แรงจูงใจทผี่ ิดกฎหมายและจรรยาอันทาให้ข้าราชการไม่ปฏิบัติ หน้าที่ตามระเบียบ เช่นการเรียกรับสินบน การทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้าง เป็นต้น และการบังคับใช้กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร โดยไม่ได้มีการบังคับใช้บทลงโทษอย่างจริงจัง หรือไม่ได้ กาหนดบทลงโทษไว้ ดังน้ัน เพ่ือให้ข้าราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไทยมีการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วย จรรยาขา้ ราชการให้อยู่ในระดับที่สงู ขนึ้ ควรมีนโยบายหรอื มาตรการส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดังน้ี
18 (1) ข้อเสนอเชงิ นโยบายหรือมาตรการในระยะสั้น (1.1) ควรมีการจัดอบรมข้าราชการให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมใน การปฏิบัติงาน รวมถึง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องความเช่ือม่ัน ยืนหยัดในสิ่งที่ ถูกต้องดีงาม และชอบธรรม ซ่ึงข้าราชการเห็นว่าเป็นเร่ืองนามธรรมที่ยากต่อการนาไปปฏิบัติ โดยควรมีการ ยกตวั อยา่ งเปน็ บทเรียนของผู้ปฏิบัติตามข้อบังคับในเร่ืองนี้ เน่ืองจากเป็นประเด็นข้อบังคับท่ีเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน ยงั ไมม่ คี วามเขา้ ใจเพียงพอ จึงส่งผลให้ระดับพฤติกรรมการปฏิบัติข้อนี้น้อยท่ีสุด และควรมีการอบรมให้ความรู้โดย แยกตามกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 2 กลุ่ม เพ่ือให้การอบรวมเกิดประสิทธิภาพมากที่สุดและสามารถที่จะแก้ไข ปัญหาการไม่เข้าใจกฎหมายกฎระเบียบ และการปรับ ปลูกจิตสานึกในการเป็นข้าราชการที่ดี ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ คือ (1.1.1) กลุ่มข้าราชการท่ีบรรจุใหม่ ควรมีมาตรการในการปลูกฝังและสร้าง จิตสานึกให้เป็นข้าราชการท่ีดี และเป็นอาชีพที่มีเกียรติและศักดิ์ศรี โดยให้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ตาม ภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงในการพัฒนาขับเคลื่อนประเทศชาติ ทาให้ข้าราชการเกิดความ ภาคภูมใิ จ และเห็นถึงความสาคัญในการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ รวมท้ังปลูกฝังจิตสานึก ในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ต้ัง ซ่ึงการปรับทัศนคติให้ สอดคล้องกับแนวทางทถี่ กู ตอ้ ง และควรสง่ เสริมใหข้ า้ ราชการรนุ่ ใหมม่ ีโอกาสได้เรยี นรกู้ ารทางานกับข้าราชการ รุ่นพ่ีท่ีมีความสามารถและมีพฤติกรรมที่ดี อันเป็นการพัฒนาบุคลากร ทั้งด้านความรู้ ความสามารถ และ ทัศนคตคิ วบคกู่ ันไป ซ่งึ จะส่งผลให้การปฏบิ ัติงานมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล (1.1.2) กลุ่มข้าราชการท่ีไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ หรือ ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการอยู่ในระดับที่ต่า ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มข้าราชการบรรจุใหม่ท่ียังไม่ เข้าใจกฎหมาย/กฎระเบียบ ข้าราชการท่ีมีประสบการณ์ทางานน้อยหรือมีอายุราชการไม่เกิน 10 ปี หรือ ข้าราชการที่ในระดับปฏิบัติการ/ปฏิบัติงาน เป็นต้น เพ่ือยกระดับความรู้ความเข้าใจและสร้างจิตสานึกท่ีดีต่อ การเปน็ ข้าราชการเพือ่ ใหม้ กี ารปฏิบัตติ ามข้อบงั คับว่าดว้ ยจรรยาที่ดี เพื่อให้ข้าราชการปฏิบัติตามข้องบังคับว่า ด้วยจรรยาข้าราชการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเรื่องความเช่ือม่ัน ยืนหยัดในส่ิงท่ีถูกต้องดีงาม และชอบธรรม ซึ่ง ขา้ ราชการเห็นวา่ เป็นเรอื่ งนามธรรมท่ียากต่อการนาไปปฏิบตั ิ โดยควรมีการยกตัวอยา่ งเป็นบทเรยี นของผู้ปฏิบัติตาม ข้อบังคับในเรื่องน้ี เนื่องจากเป็นประเด็นข้อบังคับที่เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานยังไม่มีความเข้าใจเพียงพอ จึงส่งผลให้ ระดบั พฤติกรรมการปฏิบตั ขิ ้อน้นี อ้ ยทส่ี ุด และในประเด็นด้านกฎหมาย/กฎระเบยี บที่เกี่ยวข้องกับการปฏบิ ัติงาน (1.2) ควรมีการปลูกจิตสานึกให้กับข้าราชการทุกระดับโดยการเรียนรู้ตามรอยพระยุคล บาทและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงโครงการส่งเสริมทัศนคติความคิดของผู้บริหารให้มีภาวะผู้นา และข้าราชการทุกระดับให้ปฏิบัติงานอยู่ภายใต้หลักธรรมาภิบาล รวมถึงการรณรงค์การสร้างและปลูกฝัง จิตสานึกเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตให้ข้าราชการมากขึ้น มีคุณธรรม ยึดประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ในการดาเนินงานต่างๆ และควรกาหนดหลกั สตู รฝึกอบรม/โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ข้าราชการ ทุกระดับ และต้องมีการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโครงการท่ีดาเนินการว่าสามารถยกระดับ หรือขับเคล่ือนจริยธรรมข้าราชการได้มากน้อยเพียงใด ท้ังน้ี เพ่ือให้การจัดโครงการกิจกรรมเกิดความคุ้มค่า มากท่สี ุด
19 (1.3) ควรมีการกาหนดนโยบายโดยมุ่งเน้นให้ผู้บังบัญชาปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างท่ีดี ทัง้ ดา้ นความซ่อื สัตย์สุจริต ไม่ถือระบบพรรคพวก ไม่ส่ังการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติในส่ิงที่ไม่ถูกต้อง และไม่ ปกป้องผู้ใต้บังคับบัญชาเม่ือกระทาผิด ฯลฯ เพ่ือเป็นตัวอย่างที่ดีให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ปฏิบัติตาม รวมถึง ผลักดันให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ โดยจะมีความเข้มงวดในการปฏิบัติ ตามจรรยาของผู้บังคับบัญชามากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อให้เป็นแบบอย่างและสามารถควบคุมให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามได้ และผู้บังคับบัญชาควรเป็นแบบอย่างที่ดี แนะนาเรื่องงานและปฏิบัติตนให้เป็น แบบอย่างต่อผู้ใต้บังคบั บัญชา ใหค้ วามจรงิ ใจ ให้เกียรติ และยอมรับฟังผู้ใต้บังคับบัญชา เพ่ือสร้างทัศนคติและ บรรยากาศที่ดใี นการทางาน (1.4) ควรมีการยกย่องและส่งเสริมข้าราชการท่ีปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยา ข้าราชการ โดยคัดเลือกข้าราชการต้นแบบที่มีความประพฤติด้านจริยธรรมดีเด่น เพื่อเป็นแบบอย่างให้ ข้าราชการอ่ืนได้ปฏิบัติตาม ด้วยการจัดกิจกรรมโครงการท่ีแสดงถึงความซื่อสัตย์สุจริต จัดกิจกรรมส่งเสริม ยกย่อง ให้เกียรติ มอบโล่หรือประกาศเกียรติคุณ เล่ือนขั้นเงินเดือน ตาแหน่ง เพื่อเป็นแรงจูงใจเป็นขวัญ กาลังใจให้ขา้ ราชการกระทรวงมหาดไทยมีทัศนคติท่ีดีต่อวิชาชีพการเป็นข้าราชการ นอกจากนี้ควรมีการเชิดชู เกยี รตแิ ละประชาสัมพันธใ์ หเ้ ป็นทป่ี ระจักษ์แลว้ (1.5) ควรนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศมาใช้กับการปฏิบัติงาน เพ่ือเป็น การส่งเสริมให้ข้าราชการปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ส่งผลทั้งด้านความรวดเร็ว สะดวก เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และลดดุลพินิจของข้าราชการในการให้บริการประชาชน รวมท้ังลดช่องทาง การแสวงหาผลประโยชนจ์ ากการใชอ้ านาจหนา้ ที่ ปิดโอกาสการทุจริต เช่น การใช้ระบบบัตรคิว การให้บริการ ผ่านทางระบบออนไลน์ เป็นต้น (1.6) ควรมีการจัดทาคู่มือการให้บริการสาหรับประชาชนหรือเอกสารเก่ียวกับข้ันตอน การให้บริการ และเผยแพร่ให้ประชาชนรับทราบ โดยควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับข้ันตอนการรับบริการ การชาระค่าธรรมเนียม ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยระหว่างข้ันตอนและ/หรือระยะเวลาการติดต่อแผนกอื่นหรือ สถานทีอ่ น่ื ระหว่างข้นั ตอนนับรวมไว้ในระยะเวลาดาเนนิ การรวม ชอ่ งทางการให้บริการ และหลักฐาน/เอกสาร ประกอบ เพื่อลดปญั หาการเลือกปฏบิ ตั ิ หรอื การปฏิบตั งิ านลา่ ช้า (1.7) ควรมรี ะบบการประเมินผลงาน/คุณสมบัติของงานท่ีชัดเจนในการเลอื่ นระดับ ดว้ ยหลักคณุ ธรรมจริยธรรม เพอ่ื ลดปญั หาการใช้เส้นสาย หรอื การปัญหาระบบอุปถัมภ์ (2) ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายหรือมาตรการในระยะปานกลาง (2.1) ประมวลจริยธรรม จากขอ้ ค้นพบยังมปี ัญหาในการตีความท่ีเป็นนามธรรม ไม่ชัดเจน ดังนั้น ควรเขียนข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติให้ชัดเจน และเป็นรูปธรรมมากข้ึน เช่น ในประเทศญ่ีปุ่นได้บัญญัติข้อบังคับ ในจรรยาข้าราชการวา่ ห้ามขา้ ราชการไปตีกอล์ฟกับนกั ธุรกจิ เน่ืองจากปอ้ งกนั การแสวงผลประโยชนส์ ่วนตน (2.2) ควรมีการบรรจุการประพฤติปฏิบัติตนท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดีและเกิดขึ้นจริง ไว้ใน แผนการสง่ เสรมิ คุณธรรมและจริยธรรม โดยเริม่ แรกควรมีการส่งเสริมให้ข้าราชการรับรู้และเข้าใจรายละเอียด ของข้อบังคับวา่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการ เช่น การจัดอบรมให้กับข้าราชการใหม่ก่อนเร่ิมปฏิบัติงาน และระหว่าง
20 ปฏบิ ตั ิงาน โดยเนื้อหาในการอบรมควรมีการสอดแทรกประสบการณ์การทางาน การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ จริงที่ประสบปัญหาจากการปฏิบัติงานให้เป็นกรณีศึกษา (Case Study) ที่ไม่ถูกต้องตามหลักจริยธรรมหรือ ไมถ่ ูกต้องตามกฎหมายผ้บู รหิ ารมแี นวทางการปฏิบัติอย่างไร รวมถึงค้นหาตัวอย่างโครงการนวัตกรรมทางด้าน การเสริมสร้างให้ข้าราชการมีคุณธรรมจริยธรรมจากส่วนราชการต่าง ๆ เพ่ือประมวลเป็นแบบอย่างและทา การเผยแพร่ให้ข้าราชการนาไปศึกษาและประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานต่อไป เพ่ือให้สามารถนาข้อบังคับท่ีมี ลักษณะเป็นนามธรรมไปปรับใช้ให้เกิดเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ช้ีให้เห็นว่าหากไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วย จรรยาข้าราชการจะมีบทลงโทษหรือส่งผลเสียอย่างไร รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติตนเม่ือพบกรณีการปฏิบัติไม่ ถูกต้องตามกฎหมายหรือจริยธรรม นอกจากนี้ ควรมกี ารเผยแพร่ทงั้ ในเว็บไซต์ หนังสือ แผ่นพับ หรือสื่อต่าง ๆ เพ่ือให้ข้าราชการและประชาชนท่ัวไปได้รับทราบอย่างท่ัวถึงด้วย เพื่อกระตุ้นให้ข้าราชการมีการรับรู้ แนวทางการปฏบิ ตั ิและเตรยี มการรบั มือได้ถูก (2.3) ควรปรับปรุงแนวทางและกฎระเบียบในการสรรหา การแต่งต้ังข้าราชการ การเลื่อน ระดับ การโอน โยกย้าย โดยนาเรื่องคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมมากาหนดไว้ในกระบวนการแต่งต้ังหรือเล่ือนระดับ ตาแหน่งสู่การเป็นผู้บริหารในทุกระดับของส่วนราชการกระทรวงมหาดไทย ประกอบกับการติดตามและ ประเมินพฤติกรรมของข้าราชการในสังกัดโดยการประเมินแบบ 360 องศา จากคนรอบข้าง อาทิ เพอื่ นร่วมงาน ผู้ใต้บงั คบั บญั ชา ผ้บู งั คบั บัญชา และประชาชนทม่ี ารบั บรกิ าร (2.4) ควรให้การส่งเสริมและผลักดันการกาหนดสัดส่วนข้าราชการเพศหญิงเข้าบรรจุเป็น ขา้ ราชการใหม้ ากข้ึน และมโี ควต้าข้าราชการหญิงในการรับตาแหน่งในระดับสูงเนื่องจากเพศหญิงมีการปฏิบัติ ตามขอ้ บงั คบั ว่าด้วยจรรยาขา้ ราชการดีกว่าเพศชาย (2.5) ควรมีการบริหารงานขององค์กรท่ีเป็นธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ มีระบบ ตรวจสอบท้ังภายในและภายนอก เพ่ือให้ทราบถึงปัญหาในการปฏิบัติงาน รวมท้ังเป็นการติดตามและ ประเมินผลเพื่อแก้ไขพฤติกรรมของข้าราชการให้มีการปฏิบัติข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ ซึ่งระบบ การตรวจสอบควรครอบคลุมทุกพ้ืนที่ท้ังภายนอกและภายใน เพื่อเป็นการตัดโอกาสแสวงหาผลประโยชน์ส่วน ตน และระบบตรวจสอบต้องมคี วามเขม้ ขน้ และเท่าทนั กับสถานการณ์ปัจจบุ นั (2.6) ควรมีการพัฒนาระบบค่าตอบแทนสวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เก้ือกูลของข้าราชการ ทุกระดับโดยมีการให้ผลตอบแทนท่ียุติธรรมและการสร้างความเจริญก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าท่ีงานของ ข้าราชการ อาจมีการให้รางวัลพิเศษ หรือสิทธิประโยชน์เพิ่มเติม หรือการให้ในรูปแบบท่ีเป็นนามธรรม เช่น การยกย่องชมเชย การสร้างความก้าวหน้าในงาน หรือการมอบเกียรติยศชื่อเสียงตามตาแหน่งหน้าที่และ ผลงาน เป็นต้น เพ่ือสร้างแรงจูงใจและขจัดระบบอุปถัมภ์ให้มีประสิทธิภาพมากกว่าน้ี และส่งเสริมให้ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่เขา้ มาบริหารจัดการแบบบูรณาการร่วมกบั หนว่ ยงานอืน่ ๆ (2.7) ควรมกี ารสนับสนุนการสร้างเครือข่ายคุณธรรมจริยธรรม โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรใน หน่วยงาน ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรการ ข้อบังคับ กฎระเบียบ ตลอดจนข้ันตอนการดาเนินการเพ่ือร่วมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดเป็นรูปธรรม และ สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง และควรมีระบบการให้ข้อมูลข่าวสารภาครัฐแก่ประชาชน และเปิดโอกาสให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอแนะ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของข้าราชการ ทั้งในรูปแบบส่วนบุคคลหรือ การรวมกล่มุ อย่างเข้มแข็งโดยไมม่ ่งุ แสวงหาผลประโยชน์ รวมทั้งมีองค์กรตรวจสอบต่าง ๆ จากภายนอก
21 (3) ข้อเสนอเชงิ นโยบายหรือมาตรการในระยะยาว (3.1) ควรปรับกลไก กฎหมาย กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนของข้าราชการท่ีชัดเจน กฎเกณฑ์ลักษณะการกระทาความผิดที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งมีการ ควบคุม กากับ และบังคับใช้กฎหมายท่ีเข้มงวด มีความยุติธรรมในการลงโทษอย่างเท่าเทียมไม่เลือกปฏิบัติ เพ่ือให้ข้าราชการเกิดความเกรงกลัวไม่กล้ากระทาความผิด นาไปสู่การปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น และกาหนดใหม้ ีการบงั คับใชแ้ ละบทลงโทษผู้ฝา่ ฝนื ขอ้ บังคบั และการผิดวนิ ัยข้าราชการอย่างชัดเจน (3.2) ควรนาแนวคิดด้วยพลเมืองศึกษา (Thai Civic Education) บรรจุในหลักสูตรการเรียน การสอนทุกระดับการศึกษา ปรับทัศนคติ ส่งเสริมให้มีการปลูกฝังเพ่ือหล่อหลอมคุณธรรมจริยธรรมตั้งแต่เด็ก และตลอดจนทุกช่วงวัย โดยผ่านทั้งกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นการให้วิธีคิดหรือศาสตร์ในการใช้ชีวิต ให้กับเด็กให้เป็นคนดี ควบคู่กับการเป็นคนเก่งเพ่ือให้คนทุกกลุ่มเกิดความตระหนักรู้ถึงหน้าท่ีของการเป็น พลเมืองที่ดี และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมผ่านกระบวนการทางสังคมผ่านการใช้ส่ือ โทรศัพท์ ประกอบกับมี การบังคับใชก้ ฎหมายอย่างจรงิ จัง
22 Executive Summary 1. Project Name Public Officials’ Behaviour in the Context of the Ministry of Interior’s Code of Ethical Conduct 2. Researchers: Project Advisor 2.1. Assoc. Prof. Dr. Ake Tangsupvattana Chief Researcher 2.2. Miss Saowanee Thip-ut Researcher 2.3. Miss Ananya Manchote Researcher 2.4. Miss Chanchanok Chennarong 3. Background and Significance The Constitution of the Kingdom of Thailand B.E.2550 (2007)—hereafter referred to as ‘the Constitution’—Article 279 specifies ethical standards for holders of political positions and all types of public officials. It also states that effective implementation mechanisms and systems must be in place, along with penalties for violations, which should be regarded as disciplinary offences. The Office of the Civil Service Commission (OCSC), as the central agency for the personnel management of public officials, acting in accordance with the Constitution, issued the Government Official Order Act B.E. 2551 (2008), stating that all public officials must perform their duties in the context of public interest and social benefit. Article 78 of the Act states that officials must both show respect for and behave in accordance with the specified ethical standards in order to become worthy and honourable officials. Governmental units must prescribe ethical regulations for public officials that correspond to the nature of their work and are in accordance with academic and professional ethical standards. The Office of the Ombudsman, which was established according to the provisions of the Constitution, has the power to consider and investigate complaints of violations or other acts committed beyond the scope of duty as outlined in legislation for public officials; officers or employees of a government agency; public organizations; state enterprises; and local government organizations. This includes ethical issues related to holders of political positions and public office; monitoring and evaluation; reporting on monitoring; and the making of recommendations. The Ministry of Interior upholds the ethical principles stated in both the OCSC’s Code of Ethics and the Constitution, in addition to the following nine core values: 1. Upholding morality and integrity; 2. Being in possession of a virtuous, honest and responsible conscience; 3. Placing national interest above private gain, and avoiding conflicts of interest; 4. Upholding what is right, fair and legal;
23 5. Providing fast, friendly and non-discriminatory services to the public; 6. Giving complete, correct and undistorted information; 7. Aiming at success while maintaining standards, quality, transparency and accountability; 8. Upholding the democratic system, with the monarch as the head of state; and 9. Safeguarding organizational ethical principles. Units under the Ministry of Interior drafted regulations on ethical conduct to act as professional guidelines for its public officials, officers and employees. However, the 2016 Annual Report of the Office of the Ombudsman4 indicates that a number of people filed complaints against politicians and public officials for violations of and/or failure to comply with the standards set out in the Code of Ethics, with the total number of complaints for 2015 being 3,489: this was 23.37% higher than the 2,828 complaints in the previous year. Most of the complaints were related to lack of fairness. A comparison of various ministries shows that in 2016 the highest number of complaints (668) involved the Ministry of Interior, with the trend being upward. Violations of ethical regulations by public officials can result in corruption, as can be seen from the statistics of complaints filed with the Office of the National Anti-Corruption Commission (NACC) in the 2016 fiscal year5. The total number of complaints received was 3,287, out of which 689 complaints involved the Ministry of Interior: this was the largest number and 20.9% of the total. Additionally, statistics for petitions for scrutiny received by the Office of Public Sector Anti-Corruption Commission (PACC) in the 2015 fiscal year (October 2014 – September 2015)6 amounted to 2,136. The largest number of corruption complaints (1,408 or 65.9% of the total) were levied against the Ministry of Interior. These similar statistical trends clearly illustrate ethical violations by public officials at the Ministry of Interior leading to corruption. Corruption is a chronic and increasingly complex problem in Thai society which harms and restricts the country’s development. Most corruption results from the behaviour of officials who abuse their power for personal gain through neglect of their duties or acts beyond the scope of their duties on regulations and controls, including law enforcement. Recognition of the importance of ethical behaviour by public officials will result in their ability to carry out their duties with transparency, loyalty, honesty and accountability. What 4 Office of the Ombudsman (2015). 2015 Annual Report, (Nonthaburi: Office of the Ombudsman) pp. 66-68. 5 Office of the National Anti-Corruption Commission. Statistics of Complaints and Charges of the Fiscal Year 2016. (online) accessed on 3 March 2017 from the complaint and case management system.(http://10.151.0.73:7013/CCMS/Inquiry/ExecutiveInquiry.do) 6Office of Public Sector Anti-Corruption Commission. PACC Statistics of Complaints on the Corruptions in the Public Sector. (online) accessed on 19 February 2017 from http://data.go.th/DatasetDetail.aspx?id=304b10da- e1cd-4197-af5b-232fc8e22752&AspxAutoDetectCookieSupport=1.
24 is paramount is assessment of their performance levels in an ethical context: this will reveal public officials’ behaviour and attitudes: this is important for the promotion of awareness among public officials at all level. Therefore, this research study aims to study two main aspects of professional performance in the context of the Ministry of Interior’s ethical standards: 1. Why public officials comply/fail to comply with ethical regulations and an examination of the factors that influence their compliance/non-compliance; and 2. A survey of public awareness of and opinions on the performance of public officials at the Ministry of Interior. Then a proposal is made for guidelines and recommendations to modify officials’ behaviour so that it complies with ethical regulations. The research study is in line with Stage 3 of the National Strategy on the Prevention and Combat of Corruption (B.E. 2560 – 2564) [2017-2020], especially the 1st strategy, “Create a Society which Does Not Tolerate Corruption”; the 1st stratagem on the adjustment of the public officials’ attitudes by means of specifying, developing and enhancing moral standards and professional ethics so that they can differentiate between personal gain and public interest; the 2nd strategy, Promote Political Will to Fight Corruption; the 2nd stratagem on following up ethical standards of officials at all levels, including the integration plan on the prevention and combat of public sector corruption in the 2016 fiscal year. The vision of the strategy is “A disciplined and transparent Thai society, upholding integrity and ethics, with international recognition for being united against corruption.” These actions are in accordance with Guideline No. 2 on awareness promotion of the prevention and combat of corruption, with its indicator having been set as ‘80% of public officials and politicians understand and adhere to the workplace’s code of ethics.’ 4. Research Objectives 4.1. To study to what extent public officials comply with the Ministry of Interior’s Code of Ethical Conduct and the influential factors; 4.2. To survey public awareness of and opinions on the conduct of the Ministry of Interior’s public officials; and 4.3. To establish guidelines and recommendations for modifying the behaviour of these public officials in order to be in compliance with the Ministry of Interior’s Code of Ethical Conduct.
25 5. Research Methods Mixed method research was utilized, with quantitative research as the main method. Primary data collection was done through two sets of questionnaires: 1) Questionnaire for public officials at the Ministry of Interior, consisting of sections on: Personal information; Awareness of regulations on public officials’ ethics; Attitudes toward being a public official; Opinions on organizational management; Organizational culture; Leaders’ management; styles; Problems concerning the Ministry of Interior’s rules/regulations; Working incentive systems and Behaviour of public officials in the context of ethical regulations. This questionnaire was completed by 910 public officials. And 2) Questionnaire for members of the public in receipt of services from public officials on their awareness of and opinions on the work of public officials at the Ministry of Interior. This questionnaire was completed by 430 people. The qualitative research method involved conducting in-depth interviews as follows: 1) Twelve public officials working in units affiliated to the Ministry of Interior; 2) Twelve retired public officials from both executive and administrative levels; 3) Four academicians; and 4) Eight members of the public in receipt of services from units affiliated to the Ministry of Interior. The objective of the interviews was to collate a range of opinions from all sectors, including experiences of interacting with public officials and opinions toward the survey, resulting in recommendations and guidelines to promote ethical conduct among public officials at the Ministry of Interior. 5.1 Research Summary and Recommendations a. Ethical behaviour of public officials (1) General Information on the Sample Group Of the 910 questionnaires completed in the first set, 57.5% of respondents were female; 45.9% were from 38-52 years old; 54.2% were married; 49.8% had more than 20 years’ work experience; and 63.8% were working in academic-related fields. The average monthly income was 32,364 baht, with average monthly expenditure being 25,635 baht. More than 90% of respondents had sufficient income, but 55.05% of public officials have debts amounting to an average of 949,997 baht. The results of the survey on public officials’ awareness of ethics; their attitude to being a public official; their opinions on organizational management, including organizational culture; leaders’ management styles; problems concerning the Ministry of Interior’s rules and regulations; working incentives; and ethical awareness, revealed the following: 86.15% of public officials have studied ethical regulations: 48.3% have done so from circulars, documents and leaflets; and 36.1% from websites and e-books. The main methods for enhancing officials’ ethical awareness are promotion via circulars and leaflets; training on the inculcation of integrity and ethics; and having leaders to act as role
26 models. The officials who are unaware of ethical regulations (13.8%) were those who either were not attentive or who had large workloads so they lacked sufficient time. The average score for public officials having a positive attitude towards their career was 3.81 (out of 5). Most public officials ‘agree’ that they are proud of their profession, regarding it as secure and respected with opportunities to work for public good. However, they regarded income levels of most public officials as being incompatible with the responsibility. They opined that many people have a negative attitude towards being a public official due to the system being bound by regulations and slowness. Salary is too low compared to the cost of living. Moreover, the existence of many new jobs that provide a better income, such as on-line businesses and franchising, entice the young generation and lead to their rejection of the public sector. The promotion of a positive attitude towards being a public official can be achieved through training, focusing on the development of three elements: knowledge, skills and attitude; the promotion of a new generation of public officials learning from role models; and the promotion of attitude adjustment. On the whole, public officials have a favorable attitude towards workplace management, scoring 3.52 (out of 5). The sample group mostly agreed on topics concerning organizational culture, management system, leaders’ management styles and law/regulation enforcement. As for incentives, there was a moderate level of agreement. Furthermore, concern was expressed that public sector management in Thailand still adopts the patronage system, while Thai society has become materialistic, respecting wealth regardless of its source. The existence of numerous regulations, many of them duplicative, allows corruption to flourish. Meanwhile, performance monitoring is insufficiently effective, as it tends to focus only on the process, not on deliverables and outcomes. (2) Public Officials’ Behaviour in Accordance with Ethics Regulations The overall score for public officials’ compliance with ethical standards is 3.65 (out of 4) which can be considered as ‘good’. The researchers classified public officials’ scores into two groups: Group A: Officials with a below-average score (i.e. less than 3.65) and thus considered to be either non-compliant with ethical standards or minimally compliant; Group B: Officials with an above-average score (i.e. more than 3.65) and thus considered to be compliant with ethical standards. 57.36% of public officials were classified as being in Group A and 42.64% in Group B. The highest level of compliance was in the sphere of service-mindedness (81.98%), followed by honesty, integrity and responsibility (73.30%); transparency and accountability (68.90%); achievement-orientation (66.70%); sufficiency economy philosophy lifestyle (61.10%); professional equality, fairness and lack of discrimination (51.43%); and uprightness (40.58%).
27 The logistic regression analysis revealed ten factors which have a statistically significant influence on public officials’ compliance with the Code of Ethical Conduct. These can be grouped under two headings: Personal Factors—gender; education level; length of service; rank; monthly income; and attitude towards being a public official. Social Factors— organizational culture; governmental management system; leaders’ management styles; and law/regulation enforcement. All factors are positively related to ethical compliance with a statistical significance of 0.05. Additionally, the in-depth interviews revealed other factors which influence ethical compliance: 6. Positive professional consciousness and attitude; 7. Leaders who act as good role models; 8. Existence of an organizational culture that values morals and ethics; 9. Provision of incentives, like awards for public officials who comply with ethical codes and are regarded as role models; and 10. Use of IT to promote efficiency and reduce public officials’ reliance on personal judgment. (3) Factors influencing the officials compliance with ethics In the context of the above-mentioned logistic regression analysis, public officials' compliance with the Code of Ethical Conducts can be classified as follows: (3.1) Gender: Female public officials are 1.880 times more likely to comply with ethical standards than their male counterparts, with a statistical significance of 0.05. When considered by individual elements, female officials tend to be more compliant with ethical standards overall, with the exception of upholding right-mindedness. In detail, the elements and statistics are as follows: i) honesty, integrity and responsibility (1.476 times); ii) transparency and accountability (1.791 times); iii) professional equality, fairness and non- discrimination (1.883 times); iv) achievement-orientation (1.830 times); v) service-mindedness (1.520 times); and vi) sufficiency economy philosophy lifestyle (1.520 times), with a statistical significance of 0.05. (3.2) Education Level: On the whole, education level does not have a significant influence on public officials’ compliance with ethical standards. However, when considered by specific aspects, it does have a certain influence on transparency and accountability: that is to say, officials with an educational level higher than an undergraduate degree are 1.345 times more likely to comply with ethics related to transparency and accountability than those who have an undergraduate degree or lower level of education. This may result from the fact that those who have higher education levels tend to have an enhanced understanding of regulations/laws and more systemic thinking. Nevertheless, higher education levels are not a guarantee of better public officials, their own conscience being a far more important contributory factor.
28 (3.3) Administrative Level : Public officials of senior professional, expert or executive levels are 2.073 times more likely to comply with ethical standards overall than those who are at the professional/practitioner level, with a statistical significance of 0.05. Public officials at the senior professional, expert and executive levels are more likely than their junior counterparts to comply with ethical standards on i) upholding right-mindedness (1.967 times); ii) honesty, integrity and responsibility (1.904 times); and iii) achievement- orientation (1.854 times) with a statistical significance of 0.05. Meanwhile, public officials at professional levels are more likely than those who are at practitioner levels to comply with ethical standards on i) transparency and accountability (1.656 times); and ii) sufficiency economy philosophy lifestyle (1.633) with a statistical significance of 0.05. This may result from the fact that the public officials at senior professional/expert/executive and professional levels have more professional experience than those who are at practitioner levels, both in routine work, comprehension of laws/regulations and adjustment to high- level executive policies. Additionally, higher level officials need to be more accountable for their work than those on practitioner levels and are subjected to monitoring processes by other units, such as the Office of the Ombudsman. (3.4) Length of Service: On the whole, length of service does not have a significant influence on officials’ compliance with ethical standards. Considering individual aspects, length of service only influences service-mindedness: that is to say, officials with from 11 to 20 years and more than 21 years of service are more likely to comply with ethical standards on service-mindedness than those who have 10 years or less of service (1.789 times and 1.598 times respectively). This may result from the fact that officials with more years of service tend to have more experience and skills, especially those with 11-20 years of service who have more knowledge and ability on working processes; greater skills in serving the public; more problem-solving ability; and can provide counseling, advice and/or assistance to those in need.. (3.5) Monthly Income: On the whole, the monthly income factor does not have a significant influence on officials’ compliance with ethical standards. However, when individual aspects are examined, it can be seen that it does have a certain influence on transparency and accountability: officials with a monthly income of 35,001 baht and more are 1.807 times more like to comply with related ethical standards than those with a monthly income of 25,000 baht or less than 25,000 baht, with a statistical significance of 0.05. This may be due to the fact that officials who have enough income to cover living costs are less stressed than those with lower incomes and therefore tend to work more efficiently and with greater transparency.
29 (3.6) Attitude towards being a public official: Attitudes towards being a public official influence compliance with all aspects of ethical standards, with a statistical significance of 0.05. In other words, when public officials have 1-level better attitude towards their profession, they are 1.888 times more likely to comply with ethical standards overall. Considered by individual aspects, officials who have 1-level better attitude towards their profession are more likely to comply with ethical standards related to i) upholding right-mindedness (1.414 times); ii) honesty, integrity and responsibility (1.918 times); iii) transparency and accountability (1.446 times); iv) professional equality, fairness and non- discrimination (1.431 times); v) achievement-orientation (2.066 times); vi) service-mindedness (1.625 times); and vii) sufficiency economy philosophy lifestyle (2.463 times), with a statistical significance of 0.05. The fact that public officials can work efficiently and comply with ethical standards may result from awareness of their authority and responsibility, as well as consciousness and positive attitude towards their profession. (3.7) Organizational Culture: Factors related to organizational culture have a positive influence on overall compliance with ethical standards, with a statistical significance of 0.05. When officials have 1-level better organizational culture (essentially on morals and ethics), they are 1.365 times more likely to comply with overall ethical standards. Considered by individual aspects, officials who have 1-level better organizational culture (especially on morality and ethics) are more likely to comply with ethical standards on i) honesty, integrity and responsibility(1.541 times); ii) professional equality, fairness and non- discrimination (1.305 times); and iii) service-mindedness (1.444 times), with a statistical significance of 0.05. If the workplace upholds morals and ethics, and maintains transparency, honesty, fairness and non-discrimination, as well as evaluating officials on the basis of knowledge, ability and performance, it can inculcate consciousness and awareness of ethical compliance in officials. Also, the new generation of public officials can learn when they have good role models among senior level officials. (3.8) Management System: The management system does not have a significant influence on overall compliance with ethical standards. However, considered by individual aspects, officials who have 1-level better opinion toward the management system tend to be more compliant with ethical standards on i) honesty, integrity and responsibility (1.925 times); and ii) achievement-orientation (1.350 times) with a statistical significance of 0.05. If the organization has both policy and management systems that are systematic and flexible; which promote the development of officials’ potential appropriate for their work and organizational direction; and has efficient monitoring mechanisms, it is likely that officials will comply with ethical standards. (3.9) Leaders’ Management’s Styles: Leaders’ management styles do not have a significant influence on overall compliance with ethical standards. However, considered by aspects, officials who have 1-level better opinion about leaders’ management
30 styles are more likely to comply with ethical standards on i) honesty, integrity and responsibility (1.642 times); ii) professional equality, fairness and indiscrimination (1.839 times); iii) achievement-orientation (1.711 times); and iv) service-mindedness (1.548 times), with a statistical significance of 0.05. If leaders are good role models; work conscientiously; and treat their subordinates with fairness, the subordinates will have confidence and trust in them, as well as follow their example. (3.10) Law/ Regulation Enforcement: Law/regulation enforcement has a 0.05 statistical significant influence on officials’ overall compliance with ethical standards. That is to say, when the officials have 1-level better opinion on law/regulation enforcement, they are 1.757 times more likely to comply with ethical standards. Considered by individual aspects, officials who have 1-level better opinion towards law/regulation enforcement tend to comply with ethical standards on i) upholding right-mindedness (1.799 times); ii) transparency and accountability (1.378 times); and ii) service-mindedness (1.625 times), with a statistical significance of 0.05. If the governmental system has strict regulations, effective monitoring mechanisms and fair law enforcement, public officials are likely comply with the regulations. In addition to the above-mentioned factors, the in-depth interviews with officials and academicians reveal other factors that support officials’ compliance with ethical standards: i) positive conscience and attitude toward their work; ii) leaders who are good role models; iii) an organizational culture which values morals and ethics; iv) provision of incentives by giving awards to officials who comply with ethical standards and are considered as role models; and v) the use of modern IT to promote efficiency and reduce reliance on officials’ personal judgments. Meanwhile, the interviewees identified nine factors which lead to officials’ failure to comply with ethical standards: 10.Lack of importance accorded to education in ethics, resulting in a lack of understanding of how to be fully compliant with ethical codes; 11.Failure among leaders to act as good role model and/or lack of moral leadership; 12.Use of the so-called ‘patronage management system’ which benefits only specific groups and/or people to the detriment of others; 13.Political interference for personal gain; 14.Insufficient income; 15.Quest for personal benefit; 16.Consumer society which values the possession of wealth, regardless of the source; 17.Illegal and unethical incentives, such as bribery and corruption, in the procurement process; and 18.Ineffective regulatory enforcement, i.e. lack of specific penalties and/or how they should be implemented.
31 b. Public opinion on the professional behaviour of public officials in the Ministry of Interior The survey of the sample group of 435 people found that: 85.06 % are aware that public officials have to comply with ethical standards for the sake of professional worth and honour. The majority of the sample group learnt about public officials’ performance from the television (20.6%); public announcements (19.4%); internet/social media (15.2%); newspapers/journals (10.5%); and noticeboards/posters in governmental units (10.4%). The sample group’s opinion on public officials’ performance scored an average of 3.20 out of 5 (‘medium’). The level of satisfaction across all individual aspects was also ‘medium’. The sample group showed the greatest satisfaction with the aspect of officials having knowledge, ability and skills appropriate for their work, with an average score of 3.40. The next highest score was for officials performing their duty in accordance with laws and regulations for public benefit, and officials’ responsibility for their duties, with an average score of 3.14. Less satisfaction was expressed by the sample group with officials doing what is right without fear of external influences: this had an average score of 2.89. A comparison of opinions between reality and public expectations using Paired Samples Statistics found that the sample group gives a lower score for reality than for expectations, with a statistical significance of 0.05: this illustrates that the actual performance of public officials still does not meet the public’s expectations. An analysis of the 435 questionnaires found that 53.3% of respondents were aware of the unfavourable performance of public officials and the tendency to seek for personal gain, while others gleaned information from the media or talking with others (51.49%), or from first-hand experience (37.70%). Around half of those who had first-hand experience (48.78%) stated that the officials’ unfavourable performance mostly concerned issues of fairness/non-discrimination. That is to say, officials often perform their duties with discrimination and provide services for a selected group or their family members before others. Next are the issues of bribery/abuse of position for personal gain (36.59%); using public resources for personal benefit (21.34%); and using connections for transfer or promotion (12.20%). Other issues involve immoral acts, such as adultery, gambling, drugs and alcohol (6.10%), while some respondents mentioned the use of official property for personal benefit, such as vehicles that should only be used for official trips being used for private business; or taking office supplies home for personal use. Various attempts have been made to solve these problems, such as the use of the queuing card system for non-discriminatory services by officials: these have substantially reduced the problem.
32 c. Recommendations i. Policy Recommendations The results of the study show that the lowest level of compliance was in the aspect of uprightness (40.58%) followed by professional equality, fairness and lack of discrimination (51.43%); sufficiency economy philosophy lifestyle (61.10%) and transparency and accountability (68.90%); achievement-orientation (66.70%). The logistic regression analysis revealed ten factors which have a statistically significant influence on public officials’ compliance with the Code of Ethical Conduct. These can be grouped under two headings: Personal Factors—gender; education level; length of service; rank; monthly income; and attitude towards being a public official. Social Factors—organizational culture; governmental management system; leaders’ management styles; and law/regulation enforcement. All factors are positively related to ethical compliance with a statistical significance of 0.05. Additionally, the in-depth interviews revealed other factors influencing ethical compliance: (1) Positive professional consciousness and attitude; (2) Leaders acting as good role models; (3) Existence of an organizational culture that values morals and ethics; (4) Provision of incentives, such as awards for public officials who comply with ethical codes and are regarded as role models; and (5) Use of IT to promote efficiency and reduce dependence on public officials’ personal judgments. The factors that caused failure among public officials to comply with ethical standards are as follows: (1) Lack of importance accorded to education in ethics, resulting in a lack of understanding of how to be fully compliant with ethical codes; (2) Failure among leaders to act as good role models and/or lacking moral leadership; (3) Use of the so-called ‘patronage management system’ which benefits only specific groups and/or people to the detriment of others; (4) Political interference for personal gain; (5) Insufficient income; (6) Quest for personal gain; (7) Materialist/ Consumer society which values possession of wealth, regardless of its source; (8) Illegal and unethical incentives such as bribery and corruption in the procurement process; and (9) Ineffective regulatory enforcement, i.e. lack of specific penalties and/or how they should be implemented. Opinions among members of the public in receipt of services from the ministry on the conduct of public officials showed an average score of 3.20 (out of 5), or ‘medium’ level. The aspect with which the sample group was most satisfied (3.40) was officials’ appropriate professional knowledge, ability and skills. This was followed, respectively, by public officials’ performance in accordance with laws and regulations for public benefit; and their professional responsibility. On the contrary, the lowest average level of satisfaction (2.89) was with public officials’ ability to act without ‘fear or favour’ of external influences. A comparison of the public’s expectations and reality using Paired Samples Statistics found that the sample group gave a lower score for reality than for expectation, with a statistical
33 significance of 0.05, illustrating that the actual performance of public officials still does not meet the public’s expectations. Recommendations from the research are as follows: 1) Short-term policy recommendation/measures 1.1) There should be trainings on morality and ethics, including all related laws and regulations, for the following two target groups: 1.1.1) Newly-recruited public officials: Training should inculcate awareness of being virtuous and honourable officials, with full understanding of their role in Thailand’s development. This will result in professional pride and awareness of the importance of compliance with ethical standards. Training should also include attitude adjustment, specifically on working with honesty and integrity and upholding the public interest. Additionally, new officials should be encouraged to work alongside highly capable and ethical senior officials so that they have opportunities to develop themselves in terms of knowledge, capability and attitude, leading to enhanced professional efficiency. 1.1.2) Public officials who fail to comply with ethical standards, or who do so only at low level, such as new officials who do not yet understand the laws/regulations; those with less than 10 years’ experience; or those on practitioner levels should undergo training aimed at enhancing their knowledge and understanding, and promoting a positive attitude towards their position in order to improve their compliance with ethical standards. 1.2) Inculcation of consciousness among public officials of all levels should be carried out, enabling them to learn from the royal example of H.M King Rama IX and the sufficiency economy philosophy, including projects to promote leadership for executives; good governance for public officials of all levels; and consciousness of honesty and integrity, morality and consideration of the public interest. Training/projects to promote morals and ethics should be provided for all public officials: these should be evaluated for their ability to enhance officials’ compliance with ethical standards in order to identify the most worthwhile means. 1.3) Policies should be set to promote leaders as good role models, in terms of honesty and integrity; rejection of the patronage system; not making subordinates act unethically; and not supporting subordinates who commit unethical actions. Additionally, leaders should encourage their subordinates’ compliance with ethical standards. The focus should be on leaders’ conduct, as they should function as good role models for their subordinates and guide them to follow their example. Meanwhile, leaders should provide good advice and treat their subordinates with sincerity and honour, as well as listening to them in order to promote positive attitudes and working environment.
34 1.4) There should be recognition and promotion of officials who behave in accordance with ethical standards, such as by selecting those with the best performance records in term of ethics to act as role models for others; organizing activities to promote honesty and integrity; and providing awards, such as trophies or certificates, or promotion for officials who comply with ethical standards. This will act as an incentive and promote better attitudes toward their chosen career. Information on such activities/awards or career promotion can be disseminated through PR channels. 1.5) IT should be utilized to support officials’ compliance with ethical standards, enabling them to work faster; with greater convenience and fairness; without discrimination; and reduce the use of personal judgments in the provision of services to the general public. Also, it lowers opportunities for seeking personal benefit and corruption. Examples are the use of queuing card system and provision of online services. 1.6) Manuals on providing public services, or materials outlining the steps in the provision of such services should be developed and publicized for the general public in order to reduce discrimination and/or slow service. They should include the following details: (1) Steps in the provision of service (2) Fees and payments (3) Waiting time between each step/time involved in contacting other units or organizations, which should be included in the total length of the process. (4) Channels for the provision of services (5) Supporting documents required 1.7) There should be a distinct and transparent system for evaluating officials’ performance and/or qualifications for promotion, based on ethical principles in order to reduce the use of personal connections and the patronage system. 2) Medium-term policy recommendation/measures 2.1) Problems still exist in the interpretation of abstract concepts. Therefore it is important to clearly document prohibitions and suggestions for what should be done. For example, Japan’s Code of Ethics for public officials states clearly that they should not play golf with entrepreneurs in order to prevent them seeking personal benefit. 2.2) Best practices and real role models should be included in the plan to promote morals and ethics. Firstly, public officials should be made more aware of the details of the Code of Ethics by such means as the provision of training for new officials both before and after their assignment. This should include actual work experience; exchange of experiences; and case studies of unethical or illegal conduct and how they should be dealt with. Best practices and innovative projects to promote morals and ethics
35 for officials in other government units should be created and publicized for officials to study and apply to their work. This will help such officials to fully understand and be able to apply the abstract Code of Ethics to their work in a more concrete way, as well as listing penalties and/or drawbacks of non-compliance with ethical standards; and guidelines on action to take when encountering unethical or illegal conduct in others. Moreover, such models should be publicized online, in pamphlets and other media so that both officials and the general public can study them. This will also assist officials to be aware of what they should do when confronting real life situations. 2.3) Guidelines and regulations for the recruitment, appointment, promotion and transfer of public officials should be amended. Morals and ethics should be included in the process of appointment/promotion to all executive positions in every unit under the Ministry of Interior. Additionally, the results of extensive evaluation, including performance monitoring and evaluation of officials by their colleagues, subordinates, leaders and members of the public, should be taken into account. 2.4) The employment of female officials in the public sector should be promoted. Alternatively, quotas should be set for the promotion of female officials to high-level positions, as they tend to comply with ethical standards more than their male counterparts. 2.5) Organizational management should be fair, transparent and accountable. There should be both internal and external monitoring systems so that performance problems are recognized, and the behaviour of officials is observed and evaluated to ensure they comply with ethical standards. The monitoring system should cover both internal and external spheres to prevent opportunities for seeking personal gain. Additionally, the system should be comprehensive and up-to-date. 2.6) The welfare and benefit system should be developed and made available for public officials at all levels. Fair benefits should be provided, including promotion, special awards or additional benefits. Abstract benefits, such as praise, opportunities for promotion or the award of accolades suitable for the position and/or performance should also be included. Such provisions aim to act as incentives and to remove the patronage system. Meanwhile, the use of state-of-the-art IT should be promoted for integrated management with other units. 2.7) The formation of networks on morals and ethics should be supported to provide opportunities for personnel, the public, the community and related units to participate in identifying measures, regulations and steps to promote concrete displays and moral and ethical acts. There should also be a system to provide information for the public, as well as enabling individuals, NPOs, or other external monitoring organizations to make recommendations and to monitor the work of public officials.
36 3) Long-term policy recommendation/measures 3.1) Mechanisms, laws, regulations and guidelines on the performance and behaviour of officials should be precise and specific and regulations on prohibitions should be concrete. Control and enforcement should be strict, with fair and non- discriminatory penalties, so that officials respect and do not break the regulations, leading to behavioural adjustment. Furthermore, concrete penalties for those violating the rules and committing disciplinary offences should be strictly applied. 3.2) Civic Education should be included in Thai educational curricula at every level to promote attitude adjustment and the inculcation of morals and ethics. This should be done through an educational system that promotes children’s awareness of good citizenship, as well as the art of being both virtuous and smart. The inculcation of morals and ethics can also be done through social media, as well as law enforcement.
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: