Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการวิจัย วัฒนธรรมความไว้วางใจ กับจริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการไทย

สรุปผลการวิจัย วัฒนธรรมความไว้วางใจ กับจริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการไทย

Published by sakdinan.lata, 2022-03-16 09:29:27

Description: สรุปผลการวิจัย วัฒนธรรมความไว้วางใจกับจริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการไทย

Search

Read the Text Version

ทุนสนับสนุนการวิจยั จาก สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทจุ ริตแห่งชาติ สรุปผลการวจิ ัย วฒั นธรรมความไว้วางใจ กบั จรยิ ธรรมความซื่อสัตยข์ องข้าราชการไทย (Trust Culture and Ethics of Thai Officials) ทนุ สนบั สนุนการวิจยั ประเภททัว่ ไป ประจาปี 2554 คณะอนกุ รรมการฝา่ ยวิจยั สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ

ทนุ สนับสนุนการวิจยั จาก สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามทจุ รติ แหง่ ชาติ วฒั นธรรมความไวว้ างใจ กับจรยิ ธรรมความซ่ือสตั ยข์ องข้าราชการไทย (Trust Culture and Ethics of Thai Officials) โดย ศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชัย ยาวะประภาษ ทป่ี รกึ ษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนดิ า จติ ตรทุ ธะ หัวหนา้ คณะผวู้ ิจยั นางยพุ า คงสวัสดิ์พร ผ้วู ิจยั นายเลิศพันธ์ สขุ ยริ ญั ผชู้ ว่ ยผ้วู ิจัย นางนริ มล มหิตพงษ์ ผชู้ ่วยผู้วจิ ยั รว่ มกับ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ทุนสนับสนนุ การวจิ ยั ของสานกั งานป.ป.ช. ประเภททัว่ ไป ประจาปี 2554

ความคิดเหน็ ในสิ่งตพี ิมพ์ฉบับนี้เป็นของผ้วู ิจัย/คณะผ้วู ิจัย และไม่จาเป็นต้องสะท้อนถึงความ คิดเหน็ ของสานักงาน ป.ป.ช. หรือหนว่ ยงานสงั กดั ของผู้วจิ ัย/คณะวจิ ยั สานักงาน ป.ป.ช. ไม่ตอ้ ง รบั ผดิ ชอบต่อความสูญเสีย ความเสยี หาย หรอื สิง่ ใดๆ อันเป็นผลจากขอ้ มลู หรือความคดิ เห็น จากสิง่ ตพี ิมพ์ฉบับน้ี และสานักงานป.ป.ช. ไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อความผดิ พลาดหรอื ผลที่ตามมา ทเี่ กิดจากการใชข้ อ้ มลู ท่ีปรากฏอยูใ่ นรายงานฉบบั นี้ ผลงานวจิ ยั โดย ศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชัย ยาวะประภาษ ท่ปี รึกษา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา จติ ตรุทธะ หัวหน้าคณะผ้วู จิ ยั นางยุพา คงสวัสดิ์พร นักวิจยั ผูช้ ่วย นายเลศิ พันธ์ สขุ ยริ ัญ ผ้ชู ว่ ยผวู้ ิจัย นางนิรมล มหิตพงษ์ ผชู้ ว่ ยผูว้ ิจัย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นาเสนอตอ่ สานักงาน ป.ป.ช. 361 ถ.นนทบรุ ี-สนามบินน้า ต.ท่าทราย อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000

บทคัดยอ่ ------------------- สว่ นท่ี 1 รายละเอียดเกีย่ วกบั โครงการ ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) วัฒนธรรมความไวว้ างใจกับจริยธรรมความซ่อื สตั ยข์ องขา้ ราชการไทย (ภาษาองั กฤษ) Trust Culture and Ethics of Thai Officials รายช่ือคณะผู้วิจยั ท่ีปรกึ ษา หวั หนา้ โครงการ 1. ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชยั ยาวะประภาษ นักวจิ ัยผู้ชว่ ย 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิดา จิตตรุทธะ ผู้ชว่ ยนกั วจิ ัย 3. นางยุพา คงสวัสดพิ์ ร ผู้ช่วยนกั วจิ ัย 4. นายเลิศพนั ธ์ สขุ ยริ ัญ 5. นางนิรมล มหติ พงษ์ ได้รบั ทนุ อดุ หนุนการศึกษาวจิ ัยประเภท ทุนสนบั สนุนการวิจยั ของสานกั งาน ป.ป.ช. ประเภทท่ัวไป ประจาปีงบประมาณ 2554 ระยะเวลาทาการวิจัย ต้งั แต่ กันยายน 2554 ถงึ มถิ นุ ายน 2557 1

ส่วนที่ 2 บทคดั ย่อ ------------------- ความเชอื่ มนั่ ไว้วางใจของประชาชนที่มีต่อข้าราชการเกิดจากปัจจัย “จริยธรรม” โดยเฉพาะเร่ือง “ความซื่อสัตย์” เป็นสาคัญ หากความไว้วางใจอยู่ในระดับสูง ย่อมสะท้อนถึง ความมีจริยธรรมของข้าราชการว่าได้ดาเนินการบริหารจัดการสาธารณะด้วยความซื่อสัตย์ ยุติธรรมและเชื่อถือได้ นาไปสู่วัฒนธรรมความไว้วางใจและส่งผลถึงความมีธรรมาภิบาลของ สังคมหรือรัฐ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้คือการศึกษาระดับความไว้วางใจท่ีประชาชนมีต่อ จริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการ และสาเหตุที่เป็นอุปสรรคต่อความไว้วางใจ เพื่อจะได้ เสนอตัวชี้วัดหรือมาตรการท่ีเป็นทางออกในการส่งเสริมจริยธรรมของข้าราชการ อันจะนาไปสู่ แนวทางส่งเสริมวัฒนธรรมความไว้วางใจ ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้เป็นแบบผสมผสาน โดยอาศัย เคร่ืองมือเชิงปริมาณและเครื่องมือเชิงคุณภาพในการรวบรวมข้อมูลจากการสารวจเอกสารด้วย การตรวจสอบวิเคราะห์วรรณกรรมและการสารวจภาคสนาม ผลสรุปการศึกษาพบว่า ความ ไว้วางใจและการรับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการประจาอยู่ท่ีระดับปานกลาง ตัวแปร จริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการประจาในปัจจุบันมีความสัมพันธ์กับระดับความไว้วางใจ ของประชาชนในทิศทางเดียวกันในระดับค่อนข้างสูง (r = .959) และเป็นความสัมพันธ์ใน ทางบวก คือหากประชาชนมีการรับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการในระดับสูงจะส่งผล ต่อความไว้วางใจในระดับสูงด้วย ผลลัพธ์ยังแสดงว่า การรับรู้ว่าพฤติกรรมประจาวันท่ีสะท้อน จ ริ ย ธ ร ร ม ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย์ ข อ ง ข้ า ร า ช ก า ร ป ร ะ จ า ยั ง ต่ า ก ว่ า พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ ป ร ะ ช า ช น ค า ด ห วั ง ข้อเสนอแนะคือการเสริมสร้างจริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการประจา โดยใช้มาตรการซ่ึง ตรงกับหลักการและองค์ประกอบจริยธรรมความซื่อสัตย์ของ OECD ได้แก่ การไม่คอร์รัปชัน การรักษาผลประโยชน์สาธารณะและความยุติธรรมความโปร่งใส ความพร้อมรับผิด การเคารพ คุณค่าศักด์ิศรีและความแตกต่างของบุคคล การยึดมั่นกับส่ิงท่ีดีเลิศและการธารงรักษาความ ไว้วางใจสาธารณะ อันจะนาไปสู่การเสริมสร้างวัฒนธรรมความไว้วางใจ นอกเหนือจากน้ัน ปัจจัยช้ีขาดท่ีสามารถจะส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดจริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการและ วัฒนธรรมความไว้วางใจ ได้แก่ (1) คุณค่าความซ่ือสัตย์ (2) ผู้นาท่ีมีจริยธรรม (3) คุณค่า ข้าราชการ/ ความเป็นมืออาชีพ (4) อุดมการณ์ในการบริการสาธารณะ (5) ความไว้วางใจใน ระบบราชการ (6) คุณคา่ ประชาธิปไตย (7) การบังคบั ใชก้ ฎหมายที่ยตุ ิธรรม (8) ธรรมาภิบาล 2

Abstract ------------------- People trust in officials based on „ethics‟ factor, particularly on „honesty‟ dimension. The higher the trusts the officials get from citizen, the higher level of perception of their ethics on public management exist. The high correlation between trust and ethics consequently leads to trust culture affecting to governance of modernising state. This research aimed to study the level of trust which was perceived by Thai people on ethics of Thai officials, investigate barrier to trust, and provide determining indicators which can promote the ethics of officials and trust culture. The methodology used in this research is mixed methods which conducted by analyzing academic works as well as surveying a field. This research postulates that there is sufficient evidence to conclude that people trust and perception of the ethics of honesty of Thai officials is at moderate level. Both variables of „ethics of honesty of Thai officials‟ and „people trust‟ are positively correlated at high level (r= .959 and are varied in same direction. Honesty behaviors of Thai officials that were perceived in daily life are very different from those that were expected. The conclusion offers that ethical alignment of OECD can help contribute to ethics of Thai officials and cultivate of trust culture. This consists of uncorrupt behavior, public interest and fairness preservation, transparency and accountability, respects to individual differences and dignity, insistence of excellence, and maintenance of public trust. Besides, the conclusion also offers a major recommendation that these eight indicators: (a) value of honesty, (b) ethical leader, (c) public servant value/ professionalism, (d) public service ideology, (e) trust in bureaucracy, (f) democratic value, (g) law enforcement with impartiality, and (h) governance should be promoted in order to support ethics of Thai officials and trust culture of state. 3

สรุปผลการวจิ ยั ------------------- ช่ือโครงการ วฒั นธรรมความไวว้ างใจกับจริยธรรมความซ่อื สัตยข์ องข้าราชการไทย Trust Culture and Ethics of Thai Officials รายชือ่ คณะผวู้ ิจยั ที่ปรกึ ษาโครงการ หวั หน้าโครงการ 1. ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย ยาวะประภาษ นักวิจัยผู้ชว่ ย 2. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชนิดา จิตตรุทธะ ผชู้ ่วยนักวิจัย 3. นางยพุ า คงสวัสดิพ์ ร ผชู้ ว่ ยนักวิจัย 4. นายเลศิ พนั ธ์ สุขยิรัญ 5. นางนิรมล มหติ พงษ์ ความเป็นมาของปญั หาการวิจัย การบริหารจัดการสาธารณะด้วยความยุติธรรมและเช่ือถือได้ย่อมก่อให้เกิดความ ไว้วางใจของสาธารณะต่อการบริหาร ข้าราชการการเมืองในฐานะท่ีเป็นตัวแทนของประชาชนที่ได้มา จากการเลือกต้ัง มีบทบาทและหน้าท่ีเป็นส่ือกลางระหว่างประชาชนกับรัฐบาล ทาหน้าท่ีรักษา ผลประโยชน์สาธารณะโดยเสนอความคิดเห็นและหาทางแก้ไขปัญหาสาธารณะที่ดีกว่าเดิม ด้วยการตรา กฎหมายและจัดทานโยบายท่ีดี พฤติกรรมของข้าราชการจะถูกตรวจสอบและเป็นแบบอย่างท่ีดีในด้าน คุณธรรมจริยธรรม ความซ่ือสัตย์ ความน่าเช่ือถือได้ การไม่ลาเอียง การรับผิดชอบรายงาน และความ โปร่งใส เพื่อนาไปสู่ผลประโยชน์สูงสุดของสาธารณะ ส่วนข้าราชการประจาในฐานะของผู้ทาหน้าท่ีนา นโยบายไปปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรมตามวิชาชีพเพื่อรับใช้ผลประโยชน์สาธารณะและบริหาร จัดการทรัพยากรของรัฐอย่างเหมาะสมในการบริการสาธารณะประจาวัน การบริการสาธารณะท่ีเชื่อถือ ได้และยุติธรรมก่อให้เกิดความไว้วางใจสาธารณะและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อธุรกิจ ซึ่งจะช่วยส่งเสริม กลไกตลาดที่ดแี ละความเตบิ โตทางเศรษฐกิจ (OECD, 2000) ความสาเร็จหรอื ความล้มเหลวของ ข้าราชการการเมืองหรือข้าราชการประจาจึงเกิดจากความเชื่อม่ันของประชาชนที่ให้ความไว้วางใจ ซ่ึง สะทอ้ นถงึ ความมธี รรมาภิบาลของรัฐหรอื สังคม นักวิชาการดา้ นรฐั ประศาสนศาสตร์โดยทว่ั ไปเห็นพ้องกันวา่ จริยธรรมสาธารณะเป็น 4

เง่ือนไขที่ต้องมีหรือทาก่อนเพื่อนาไปสู่ความไว้วางใจสาธารณะและยังเป็นหลักสาคัญของธรรมาภิบาล Lewis and Catron ระบุว่า “การบริการสาธารณะคือความไว้วางใจสาธารณะ หากจะมีคุณลักษณะ บางอย่างท่เี ป็นอตั ลักษณ์ของการบริการสาธารณะ อัตลักษณ์ดังกล่าวจะต้องวางอยู่บนรากฐานข้อเสนอ น”้ี (1996, p: 699.) ความซ่ือสัตย์จึงเป็นคุณค่าหลักท่ีสาคัญและเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับความไว้วางใจ เพราะได้ประยุกต์ทั้งการพูดความจริงกับพฤติกรรมที่รับผิดชอบตามกฎข้อบังคับเอาไว้ด้วยกัน (Rose - Ackerman, 2001) ความสมั พันธ์ใกล้ชิดระหว่างจรยิ ธรรมความซือ่ สัตย์และความไว้วางใจมีอิทธิพลทาให้ รัฐสมัยใหม่สามารถทาหน้าที่ในฐานะรัฐท่ีเป็นประชาธิปไตยและกลไกตลาดทางานได้เมื่อมีมติเอกฉันท์ ในรัฐบาลในการกาหนดองค์ประกอบสาคัญของยุทธศาสตร์ทางจริยธรรมท่ีมีประสิทธิผล สัมพันธภาพ ของปัจจัยท้ังสองประการน้ีจะส่งผลถึงความสาเร็จและความล้มเหลวขอ งความร่วมมือทางการเมือง ความไว้วางใจของพลเมืองและความเช่ือมั่นในรัฐบาลหรือข้าราชการส่วนใหญ่เกิดจากจริยธรรมความ ซ่ือสัตย์โดยตรง บุคคลจะไว้วางใจผู้ที่มีพฤติกรรมซ่ือสัตย์ แม้ว่าความซื่อสัตย์จะไม่เหมือนกับความ น่าเช่ือถือก็ตามคอรัปชั่นเป็นพฤติกรรมความไม่ซื่อสัตย์ซึ่งทาลายความไว้วางใจของประชาชนท่ีมีต่อ ขา้ ราชการ รวมทง้ั การใช้ตาแหน่งสาธารณะเพอื่ ผลประโยชน์ส่วนตัว ดังน้ัน กลไกท่ีเป็นประโยชน์ในการ ธารงรักษาและส่งเสริม “ความซ่ือสัตย์” คือผลประโยชน์ทางการเมืองท่ีทาให้พลเมืองมีผลประโยชน์ ร่วมกันกับผู้อ่ืนและก่อให้เกิดความต้องการร่วมกันอันนาไปสู่ความร่วมมือทางการเมืองและความชอบ ธรรม รัฐบาลประชาธิปไตยแนวใหม่มักจะได้รับสืบทอดความไว้วางใจสถาบันสาธารณะจากพลเมืองใน ระดับต่า และพฤติกรรมของพลเมืองท่ีชอบพ่ึงพิงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมากกว่าการพึ่งพิงสถาบัน ต่างๆ และกฎหมาย ด้วยความเป็นพลเมืองของรัฐสมัยใหม่ในยุคหลังสมัยใหม่นิยม ปัจเจกบุคคลจะมี ความคาดหวังเพ่ิมข้ึนว่ารัฐบาลจะรับใช้ผลประโยชน์สาธารณะของตนอย่างซื่อสัตย์ ยุติธรรมและมีการ บรหิ ารจัดการทรพั ยากรดว้ ยความรับผดิ ชอบผ่านนโยบายสาธารณะทเ่ี หมาะสมซ่ึงอาศัยหลกั ธรรมา - ภิบาล วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั บนรากฐานแนวความคิดดังกล่าว การวจิ ัยคร้งั น้จี งึ ต้องการศึกษาวา่ ประชาชนซึ่งถือว่า เปน็ ผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียในผลประโยชน์สาธารณะของสังคมไทยมคี วามไวว้ างใจและเช่อื ถือต่อจรยิ ธรรม ในเร่ืองความซื่อสตั ย์ของขา้ ราชการประจาในปจั จบุ ัน อยู่ในระดบั ใด สาเหตหุ รือปัจจัยที่เป็นอปุ สรรคตอ่ ความไว้วางใจที่ประชาชนมีต่อจริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการประจาในปัจจุบันคืออะไร การศึกษานีย้ งั ได้สารวจความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยวัฒนธรรมความไว้วางใจและจริยธรรมความซื่อสัตย์ ของข้าราชการประจาจากการรับรู้ของประชาชนไทย เน่ืองจากความสาคัญของการสร้าง ”วัฒนธรรม ความไว้วางใจ” เป็นหัวใจของ “การบริหารจัดการสาธารณะ” ในทางรัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน นอกจากนี้ วิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ได้แก่ ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในระบบ ราชการ ปัญหาการเมืองแทรกแซงกระบวนการบริหารราชการ ปัญหาเร่ืองการติดสินบน หรือปัญหา ความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ สาเหตุที่สาคัญส่วนหน่ึงเกิดจากการขาดคุณธรรมจริยธรรม 5

ของข้าราชการ การศึกษาครั้งนี้ยังได้เสนอแนวทางสาหรับการพัฒนาการปฏิบัติงานของข้าราชการที่ นาไปสู่การส่งเสริม “วัฒนธรรมความไว้วางใจ” ซึ่งเป็นคุณค่าของประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และบท สนทนาทางสังคมของจริยธรรมความซ่ือสัตย์ เพื่อเป็นการขยายพรมแดนความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ และการบริหารทรพั ยากรมนษุ ยด์ ว้ ย วธิ ดี าเนินการวจิ ยั ระเบียบวิธที ใ่ี ช้ในการศึกษาวจิ ยั เพอื่ สารวจการรบั รู้ของประชาชนไทยเก่ยี วกบั วัฒนธรรมความไว้วางใจและจริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการคร้ังน้ี อาศัยวิธีการศึกษาแบบ ผสมผสานหลายวิธี (Mixed-Method) โดยเฉพาะการศึกษาจากทฤษฎีและแนวคิดเรื่องความไว้วางใจ สาธารณะ วัฒนธรรมความไว้วางใจ และจริยธรรมความซื่อสัตย์ ซึ่งเสนอโดย OECD (2000; 2004), Rose-Ackerman (2001), Lewis and Gilman (2005), and Zaufanie (1998; 2007) การจัดส่ง แบบสอบถามจานวน 2,558 ชุดไปยังประชาชนจานวน 13 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ กลุ่มข้าราชการการเมือง กลุ่มข้าราชการประจา กลุ่มพนักงานรัฐวิสาหกิจ กลุ่มนักวิชาการและอาจารย์ กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจ และอุตสาหกรรมภาคเอกชน กลุ่มพนกั งานองคก์ ารเอกชน กลมุ่ นกั ส่อื สารมวลชน กลุ่มผู้ประกอบการค้า กลุ่มเกษตรกร กลุ่มผู้มีอาชีพรับจ้าง กลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษา กลุ่มเจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน และกลมุ่ อาชีพอื่นๆ จากทุกภูมิภาค และการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลจานวน 390 ราย โดยท้ังแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณไ์ ด้สงั เคราะหส์ รา้ งข้ึนจากทฤษฎีและแนวคิดในวรรณกรรมเพ่อื นาไปสารวจภาคสนาม สรปุ ผลการศึกษา หลังจากการรวบรวมข้อมูลจากพฤศจิกายน 2554 ถึงกุมภาพันธ์ 2555 สามารถสรุปผล การศกึ ษาไดด้ ังนี้ 1) การรับรู้จริยธรรมความซอื่ สตั ยข์ องข้าราชการประจา ผลสรุปจากข้อค้นพบ แสดงให้เห็นว่าระดับการรับรู้เกี่ยวกับจริยธรรมความซ่ือสัตย์ของ ข้าราชการประจาในปัจจุบันของประชาชนทั้ง 6 ภูมิภาคอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยรวม 2.92 และ ค่าเฉล่ียของส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานรวมมีค่า 1.026) โดยการแบ่งระดับการรับรู้ออกเป็น 5 ระดับ จาก น้อยไปหามาก (ระดับท่ี 1-5) ประชาชนในภาคเหนือมีการรับรู้จริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการ ประจาในลาดับสูงท่ีสุดจาก 6 ภูมิภาค โดยมีค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการ ประจา 3.08 รองลงมาเป็นประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันตกมีระดับค่าเฉลี่ยการ รับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการประจา 2.98 เท่ากัน ลาดับต่อมาเป็นประชาชนในภาคใต้ มี ระดับค่าเฉล่ียการรับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการประจา 2.86 ต่อมาเป็นประชาชนในภาค กลางมีระดับค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการประจา 2.78 และประชาชนในภาค ตะวนั ออกมีระดบั คา่ เฉล่ียการรับร้จู รยิ ธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการประจา 2.72 อยู่ในลาดับต่าที่สุด ใน 6 ภูมภิ าค 6

เมอ่ื จาแนกตามกลุ่มอาชีพ พบวา่ ประชาชนมีการรับรจู้ รยิ ธรรมความซอื่ สัตยข์ อง ข้าราชการประจาอยู่ในระดับปานกลางทั้ง 13 อาชีพ โดยมีค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความซ่ือสัตย์ของ ข้าราชการประจาแตกต่างกันไป เรียงตามลาดับค่าเฉลี่ยดังน้ี กลุ่มข้าราชการประจามีระดับการรับรู้ จริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการประจาในลาดับสูงท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ีย 3.25 รองลงมาเป็นผู้ตอบ แบบสอบถามกลุ่มประชาชนอาชีพอื่นๆ นอกเหนือจากท่ีระบุ มีค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ ของข้าราชการ 3.20 ลาดับต่อมากลุ่มเกษตรกร กสิกร ชาวประมง ผู้เล้ียงสัตว์ มีระดับค่าเฉลี่ยการรับรู้ จริยธรรมความซื่อสัตย์ของข้าราชการ 3.12 กลุ่มข้าราชการการเมืองมีระดับค่าเฉล่ียการรับรู้จริยธรรม ความซ่อื สตั ย์ของข้าราชการ 3.06 กลุ่มนักสื่อสารมวลชนมีระดับค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ ของข้าราชการ 2.99 กลุ่มพ่อค้า แม่ค้า ผู้ประกอบการค้ามีระดับค่าเฉล่ียการรับรู้จริยธรรมความซ่ือสัตย์ ของข้าราชการ 2.88 กลุ่มพนักงานรัฐวิสาหกิจมีระดับค่าเฉล่ียการรับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ของ ข้าราชการ 2.81 กลุ่มนักพัฒนาองค์กรเอกชนมีระดับค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความซื่อสัตย์ของ ข้าราชการ 2.79 ซ่ึงใกล้เคียงกับกลุ่มนักวิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลัย มีระดับค่าเฉลี่ยความไว้วางใจ 2.78 กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษามีระดับค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความ ซื่อสัตย์ของข้าราชการ 2.73 กลุ่มนักธุรกิจและผู้ประกอบการมีระดับค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความ ซอ่ื สตั ยข์ องขา้ ราชการ 2.66 กลมุ่ ผู้ใชแ้ รงงานและผู้มอี าชีพรบั จา้ งมีระดบั ค่าเฉลี่ยการรับรู้จริยธรรมความ ซอ่ื สตั ยข์ องขา้ ราชการอยู่ในระดบั ตา่ คอื 2.58 และกลมุ่ พนกั งานและลกู จ้างบรษิ ัทเอกชนมีระดับค่าเฉล่ีย การรับรู้จริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการอยู่ในระดับต่าที่สุดคือ 2.44 โดยมีค่าเฉล่ียรวมทุกภาค 2.45 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน .798 2) ความไวว้ างใจทป่ี ระชาชนมตี อ่ จริยธรรมความซ่อื สัตยข์ องข้าราชการประจา ความไว้วางใจท่ีประชาชนมีต่อจริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการประจาในปัจจุบัน อย่ใู นระดับปานกลาง (คา่ เฉล่ยี รวม 2.92 และค่าเฉลี่ยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวมมีค่า 1.004) โดย จาแนกออกเป็นการรับรู้ความไว้วางใจ 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความน่าเช่ือถือ - รับรู้ผ่านพฤติกรรม ประจาวันของข้าราชการท้ังการกระทาที่มีเหตุผลและการกระทาที่ไม่มีเหตุผล 2) ด้านความน่าไว้วางใจ พน้ื ฐาน – รบั รู้ได้จากการขัดเกลาทางสังคม และ 3) ด้านวัฒนธรรมความไว้วางใจ – รับรู้ผ่านพฤติกรรม ต่างๆ ท่ีสะท้อนความซ่ือสัตย์ และแพร่ไปทั่วทั้งสังคม กระตุ้นให้เกิดปทัสถานและกิจกรรมต่างๆที่ นา่ เชื่อถือ ในองค์ประกอบด้านแรกของความไว้วางใจ คือ “ความน่าเช่ือถือ” ประชาชนมีความ ไวว้ างใจตอ่ ข้าราชการในมิติด้านความนา่ เชือ่ ถืออย่ใู นระดับปานกลาง (มีค่าเฉลี่ยรวม 2.94 ส่วนค่าเฉล่ีย ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่า 1.004) ประชาชนมีความเชื่อถือไว้วางใจต่อข้าราชการในมิติในเร่ือง ความซือ่ สัตย์ เร่ืองความยดึ ม่ันตอ่ ความถูกตอ้ งตามกฎหมาย และเรื่องการใหบ้ ริการสาธารณะแก่ ประชาชนอย่างเต็มที่ตามลาดับ ส่วนมิติท่ีได้รับความน่าเชื่อถือต่าที่สุดคือเรื่องความเชื่อมั่น ว่า ข้าราชการจะใช้ทรัพยากร เวลา และเงินภาษีของประชาชนอย่างคุ้มค่าหรือการใช้เครือข่ายระบบ อุปถัมภ์ เน่ืองจากข้าราชการส่วนใหญ่เคยชินกับการทางานอยู่ในระบบราชการไทยท่ีมี ข้ันตอนมาก 7

ส่วนองค์ประกอบด้านท่ีสอง คือ “ความน่าไว้วางใจขั้นพื้นฐาน” ของข้าราชการ พบว่าประชาชนมีความ ไวว้ างใจต่อข้าราชการในมิติด้านความน่าไว้วางใจขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับปานกลาง (มีค่าเฉล่ียรวม 2.90 ส่วนคา่ เฉลี่ยของสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคา่ 0.982) ประชาชนเช่อื ว่าข้าราชการเป็นบุคคลท่ีมีสมรรถนะ ประกอบด้วยความรู้ ความสามารถในหน้าที่อย่างดี และต้ังใจนาความรู้มารับใช้สังคม แต่ไม่ไว้วางใจ ข้าราชการประจาในเรื่องความยุติธรรมหรือความเสมอภาคทางสังคม สาหรับองค์ประกอบสุดท้าย คือ “วัฒนธรรมความไว้วางใจ” ของข้าราชการ พบว่าประชาชนมีความไว้วางใจต่อข้าราชการในมิติด้าน วัฒนธรรมความไว้วางใจอยู่ในระดับปานกลาง (มีค่าเฉล่ียรวม 2.92 ส่วนค่าเฉลี่ยของส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานมีค่า 1.026) ประชาชนมีความเชื่อถือไว้วางใจข้าราชการประจาในมิติของความซื่อสัตย์ ความ พร้อมรับผิดต่อสาธารณะ ส่วนใหญ่ปฏิบัติตามหน้าที่อย่างตรงไปตรงมา แต่ไม่ไว้วางใจข้าราชการในมิติ การเคารพคุณคา่ ศกั ดิศ์ รีและความแตกตา่ งของประชาชน มิติการยึดมั่นอุดมการณ์หรือสิ่งดีเลิศ และการ ธารงรกั ษาความไว้วางใจสาธารณะ 3) ความสมั พนั ธ์ระหว่างจริยธรรมความซื่อสัตยข์ องข้าราชการประจา กบั ความไวว้ างใจของประชาชน ผลสรปุ การศกึ ษา แสดงใหเ้ ห็นว่าตัวแปรจรยิ ธรรมความซ่อื สัตยข์ องข้าราชการประจามี ความสมั พันธก์ บั ระดบั ความไวว้ างใจของประชาชนในทศิ ทางเดียวกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05 (r = .959) เป็นความสัมพันธ์ในทางบวก และเป็นความสัมพันธ์แบบสองทาง กล่าวคือ ถ้าระดับ การรบั รแู้ ละทศั นคตขิ องประชาชนท่มี ตี อ่ เร่อื งจรยิ ธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการประจาอยู่ในระดับสูง จะทาให้ความไว้วางใจที่ประชาชนมีต่อข้าราชการประจาเพ่ิมสูงขึ้นด้วย หรือในทางกลับกัน หากระดับ ความไว้วางใจของประชาชนที่มีต่อข้าราชการประจาอยู่ในระดับสูง ย่อมสะท้อนถึงความมีจริยธรรม ความซื่อสัตย์ของข้าราชการประจาอยู่ในระดับสูง แต่ผลการทดสอบสมมติฐานนี้พบว่าระดับการรับรู้ ความสัมพันธ์ในเรื่องความไว้วางใจของประชาชนกับจริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการประจาอยู่ใน ระดับปานกลาง ผลลัพธ์ที่ได้จากการทดสอบสถิติสามารถจาแนกความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ ความไวใ้ จ 3 ด้านที่ประชาชนมีตอ่ จรยิ ธรรมความซือ่ สัตย์ของข้าราชการประจา ในองค์ประกอบด้านแรก คือ ด้านความน่าเชื่อถือ ของข้าราชการประจามีระดับความสัมพันธ์กับจริยธรรมความซื่อสัตย์อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ในลาดับสูง (r=.928) องค์ประกอบด้านที่สอง คือ ด้านความน่าไว้วางใจ ขั้นพ้ืนฐาน ของข้าราชการประจามีระดับความสัมพันธ์กับจริยธรรมความซื่อสัตย์อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 ในลาดับสูงรองลงมา (r=.885) และองค์ประกอบด้านท่ีสาม คือ ด้านวัฒนธรรมความ ไว้วางใจ มีระดบั ความสมั พันธ์กับจริยธรรมความซ่ือสัตย์อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิท่ีระดับ 0.05 ในลาดับ สงู สดุ (r=.963) 4) พฤติกรรมท่สี ะท้อนความซื่อสัตย์ของข้าราชการกบั พฤติกรรมทีอ่ ยู่ในความ คาดหวงั ของประชาชน ผลสรุปการศึกษา แสดงใหเ้ ห็นวา่ พฤติกรรมดา้ นตา่ งๆ ทีส่ ะทอ้ นถึงจริยธรรมความ 8

ซื่อสัตย์ของข้าราชการกับพฤติกรรมที่อยู่ในความคาดหวังของประชาชนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 (Sig .676) พฤติกรรมความซ่ือสัตย์ท่ีอยู่ในความคาดหวังของประชาชน ประชาชนคาดหวงั ให้มีการปรับปรงุ ตามลาดับต่อไปน้ี 1) ต้องการให้พฤติกรรมของข้าราขการตอบสนอง เป้าหมายของหน่วยงาน 2) ต้องการให้การบริการสาธารณะประจาวันของข้าราชการมีความน่าเช่ือถือ มากข้ึน 3) พลเมืองรับรู้ถึงการปฏิบัติด้วยความไม่เท่าเทียมกันตามพื้นฐานของกฎหมายและความ ยุติธรรม 4) ต้องการให้ข้าราชการใช้ทรัพยากรสาธารณะอย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และมีความ เหมาะสม 5) ต้องการให้กระบวนการตัดสินใจในการดาเนินงานมีความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบ อย่างละเอียดและทาการปรับปรุงให้ถูกต้องได้ โดยพฤติกรรมด้านต่างๆ ที่สะท้อนจริยธรรมความ ซ่อื สตั ยข์ องขา้ ราชการประจาทีอ่ ยใู่ นความต้องการและความคาดหวงั ของประชาชนมคี ่าเฉลี่ยสงู ท่ี 4.26 5) อปุ สรรคสาคญั ของความไวว้ างใจสาธารณะท่ปี ระชาชนมตี อ่ ข้าราชการ ผลสรุปการศึกษา แสดงให้เหน็ ถึงปจั จยั ทเี่ ป็นอปุ สรรคต่อความไวว้ างใจสาธารณะท่ี ประชาชนมีต่อข้าราชการ ประกอบด้วย 1) การขาดคุณค่าหรือปทัสถานทางจริยธรรมของสังคมเรื่อง ความซื่อสัตย์ 2) การเมืองแทรกแซงระบบราชการ 3) ผู้นาท่ีขาดจริยธรรม 4) การขาดคุณค่า ประชาธปิ ไตย 5) การขาดคุณค่าของข้าราชการประจาและความเป็นมืออาชีพ 6) การบังคับใช้กฎหมาย ไม่มีประสทิ ธภิ าพและขาดความยตุ ิธรรม 7) การขาดอดุ มการณ์ในการบรกิ ารสาธารณะ และ 8) การขาด ธรรมาภบิ าล 6) ตัวช้ีวดั หรือแนวทางในการส่งเสริมความไว้วางสาธารณะและวัฒนธรรม ความไวว้ างใจ ผลสรุปการศกึ ษา แสดงให้เห็นถงึ แนวทางในการส่งเสรมิ ความไวว้ างใจสาธารณะและ ปลูกฝังวัฒนธรรมความไว้วางใจ ได้แก่ 1. การไม่คอร์รัปชัน - ส่งเสริมปทัสถานทางจริยธรรมของสังคม เร่ืองความซ่ือสัตย์ 2. การรักษาผลประโยชน์สาธารณะและความยุติธรรม - บังคับใช้กฎหมายอย่างเท่า เทียมกันและซื่อสัตย์ 3. ความโปร่งใสและความพร้อมรับผิด - ปกครองด้วยนิติธรรม 4. การเคารพ คุณค่าศักดิ์ศรีและความแตกต่างของบุคคล - ฟันฝ่าเพื่อเป็นสังคมประชาธิปไตย 5. การยึดมั่นกับส่ิงที่ดี เลิศและการธารงรกั ษาความไวว้ างใจสาธารณะ – มอี ดุ มการณใ์ นการบรกิ ารสาธารณะเพ่ือส่งเสริมคุณค่า และความเปน็ มอื อาชพี ของการเปน็ ข้าราชการ การวจิ ยั ครั้งน้ีอาศัยหลักฐานเชงิ ประจักษ์ที่นาไปสู่ขอ้ สรุปไดว้ า่ 1. ความไวว้ างใจของประชาชนและการรบั ร้จู ริยธรรมความซอ่ื สัตยข์ องข้าราชการประจาอยใู่ น ระดับปานกลาง 9

2. ตัวแปรต้น ได้แก่ “จริยธรรมความซ่ือสัตย์ของข้าราชการ” และตัวแปรตาม ได้แก่ “ความ ไว้วางใจของประชาชน” มีความสัมพันธ์กันในระดับสูงในทิศทางเดียวกันและเป็น ความสัมพนั ธใ์ นทางบวก 3. พฤตกิ รรมความซือ่ สตั ย์ของข้าราชการที่อยู่ในการรับร้ขู องประชาชนแตกต่างจากพฤติกรรม ความซื่อสตั ยท์ ่ีอยู่ในความคาดหวังของประชาชน 4. การเลือกแนวทางที่เป็นไปได้ในการส่งเสริมวัฒนธรรมความไว้วางใจเกิดจากปัจจัย ดังตอ่ ไปน้ี ไดแ้ ก่ การไม่คอร์รัปชนั การธารงรักษาผลประโยชน์สาธารณะและความยุติธรรม ความโปร่งใสและความพร้อมรับผิด การเคารพในคุณค่า ศักดิ์ศรี ความแตกต่างของบุคคล และการยึดม่ันกบั สิง่ ทีด่ ีเลิศและการธารงรกั ษาความไว้วางใจสาธารณะ 5. วัฒนธรรมความไว้วางใจท่ีจะช่วยกระตุ้นให้ปัจเจกบุคคลแสวงหาความซื่อสัตย์และความ ร่วมมอื กันเพอ่ื นาไปสู่ความไว้วางใจในระดับของกลุ่ม จาเป็นต้องอาศัยเงื่อนไขต่างๆ ท่ีมีอยู่ ก่อนแลว้ ในการส่งเสรมิ ปจั จัยความไวว้ างใจในระดบั โครงสรา้ ง ซึ่งเก่ยี วข้องกับประชากรผู้มี ส่วนไดส้ ว่ นเสยี ทกุ กลุ่ม ข้อสรุปและข้อเสนอแนะในการศึกษาสนับสนุนแนวคิดการบริหารความไว้วางใจของ Zaufanie (2007) แนวคิดและข้อเสนอเกี่ยวกับเรื่องวัฒนธรรมความไว้วางใจและความซ่ือสัตย์ซึ่งอยู่ใน แนวทางเดียวกับข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาน้ี ได้แก่ การวิจัยของ Zaufanie (1996), Rose - Ackerman (2001), OECD (2000, 2004), Dietz and Hartog (2006) วัฒนธรรมความไว้วางใจในหมู่ พลเมอื งกับจรยิ ธรรมความซอื่ สัตย์ของข้าราชการจะทาให้ประชาชนมองดูสมาชิกอื่นๆ ในชุมชนในฐานะ เพื่อนพลเมืองด้วยกัน ไม่ใช่ศัตรูหรือคนแปลกหน้า และจะกระตุ้นให้เกิดความอดทนต่อความเป็นพหุ นยิ มและวิถีชีวติ ทหี่ ลากหลาย ผลสรปุ การศึกษาทาใหเ้ ห็นถงึ ปัจจัยสาคัญท่ีส่งเสรมิ วัฒนธรรมความไวว้ างใจและเป็น ปจั จยั ทชี่ ่วยลดความไมซ่ ่ือสัตย์ในวัฒนธรรมของสงั คมไทยลง ปัจจยั เหล่าน้ีได้แก่ 1) คุณค่าความซื่อสัตย์ 2) ผู้นาท่ีมีจริยธรรม 3) คุณค่าข้าราชการและความเป็นมืออาชีพ 4) อุดมการณ์ในการบริการสาธารณะ 5) ความไว้วางใจในระบบราชการ 6) คุณค่าประชาธิปไตย 7) การบังคับใช้กฎหมายอย่างยุติธรรมโดย ไม่แบ่งแยก และ 8) ธรรมาภิบาล มิติทางวัฒนธรรมเหล่านี้จะช่วยสนับสนุนความไว้วางใจท่ามกลาง พลเมืองในสังคมไทยดังภาพที่นาเสนอต่อไป 10

ภาพ: ปัจจยั ส่งเสริมวฒั นธรรมความไวว้ างใจกบั จรยิ ธรรมความซื่อสัตยข์ องข้าราชการไทย ปจั จยั สง่ เสรมิ วฒั นธรรมความไวว้ างใจกบั จริยธรรมความซอ่ื สตั ย์ - คณุ คา่ ความซ่อื สตั ย์ - ความไวใ้ จในระบบราชการ - ผนู้ าทมี่ จี ริยธรรม - ประชาธิปไตย - คณุ คา่ ข้าราชการ/ ความเปน็ มอื อาชพี - การบังคบั ใช้กฎหมายที่ยตุ ิธรรม - อุดมการณใ์ นการบรกิ ารสาธารณะ - ธรรมาภิบาล จริยธรรมความซอ่ื สัตย์ของข้าราชการ ความไว้วางใจของประชาชน - พฤตกิ รรมเปน็ ไปเพ่ือตอบสนอง 1. มติ ิความน่าเชือ่ ถือของข้าราชการ 4 มติ ิ - พฤติกรรมด้านความซื่อสตั ย์ เป้าหมายหนว่ ยงาน - การบริการสาธารณะประจาวัน - การยึดมั่นในการบรกิ ารสาธารณะ มคี วามเชอ่ื ถอื ได้ - ความพร้อมรับผิดตอ่ สาธารณะ - การให้บริการทเี่ ทา่ ทยี มกนั - การยึดมนั่ ตอ่ กฎหมาย 2. มติ ิความนา่ ไวว้ างใจพน้ื ฐาน 4 มติ ิ ตามกฎหมาย - การยึดหลักคณุ ธรรม หน้าทต่ี อ่ พลเมอื ง - การใชท้ รพั ยากรอย่างมีประสิทธภิ าพ - การมคี วามเมตตา ความเหน็ ใจ - การมีสมรรถนะในงานทด่ี ี ประสทิ ธผิ ลและเหมาะสม - การมีพฤตกิ รรมที่สม่าเสมอ ทานายได้ - กระบวนการดาเนินงานสามารถ 3. มิตกิ ารสรา้ งวัฒนธรรมความไวว้ างใจ 5 มิติ - การไมค่ อร์รัปช่นั ตรวจสอบ วัดผลได้อยา่ งละเอียด - การรกั ษาผลประโยชนส์ าธารณะ ความยตุ ิธรรม - ความโปรง่ ใส - การเคารพคณุ คา่ ศักดิศ์ รขี องบคุ คล - การยดึ มัน่ กบั สิ่งทด่ี ีเลศิ และการธารงรกั ษาความ ไว้วางใจสาธารณะ 11

ขอ้ เสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ได้เสนอภาพรวมของวัฒนธรรมความไว้วางใจที่ต้ังอยู่บนจริยธรรมความ ซ่ือสัตย์ของข้าราชการซึ่งอยู่ในการรับรู้ของประชาชนในสังคมไทย นอกจากนี้ ยังเน้นความสาคัญของ วัฒนธรรมความไวว้ างใจในฐานะทเี่ ปน็ ประเดน็ สาคัญของการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐ การวิจัยแสดง ให้เหน็ วา่ ในกระบวนการสรา้ งวฒั นธรรมความไว้วางใจระหว่างข้าราชการและประชาชน องค์กรภาครัฐ และพลเมือง หรือแม้แต่ความไว้วางใจในหมู่พลเมืองของรัฐที่มีธรรมาภิบาลและในกระบวนการ ประยุกต์ใช้ยุทธศาสตร์ที่ช่วยสนับสนุนวัฒนธรรมความไว้วางใจนั้น จาเป็นต้องพิจารณาปัจจัยจริยธรรม ความซ่อื สตั ยใ์ หม้ คี วามสาคัญเป็นอันดับแรก ข้อเสนอแนะในทางปฏบิ ัติคือ 1. บทบาทของรัฐบาลและผู้นารัฐบาลที่ส่งเสริมการบริหารจัดการวัฒนธรรมความไว้วางใจและ ความซ่ือสัตย์ ด้วยการส่งเสริมยกย่องข้าราชการท่ีไม่คอร์รัปชัน ด้วยการรณรงค์ในสังคม และในหน่วยงานภาครัฐเกี่ยวกับการส่งเสริมคุณค่าหรือปทัสถานเร่ืองความซื่อสัตย์ การยก ย่องหรือให้คุณค่าต่อข้าราชการที่มีอุดมการณ์ในการบริการสาธารณะ การส่งเสริมคุณค่า และความเป็นมอื อาชีพของ “ข้าราชการ” การลงโทษข้าราชการผู้กระทาผิด นอกจากนี้ การ ตรวจสอบจากองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หรือการตรวจสอบจากภายนอกหน่วยงาน จะ ช่วยเสริมสร้างวัฒนธรรมความไว้วางใจ 2. บทบาทของหน่วยงานภาครัฐ ในการเสริมสร้างพฤติกรรมทางการเมืองท่ีส่งเสริมจริยธรรม ความซ่ือสัตย์และวัฒนธรรมความไว้วางใจ ข้อเสนอแนะในทางปฏิบัติคือ ให้มีการปฏิรูป วัฒนธรรมในการดาเนินงานของระบบราชการ วัฒนธรรมการดาเนินงานของหน่วยงาน ภาครฐั และวฒั นธรรมการทางานของขา้ ราชการผูน้ านโยบายไปปฏิบัติให้เป็นวัฒนธรรมเชิง สนับสนุนท่ีส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมืองท่ีดีดังกล่าว ด้วยการลดวัฒนธรรมองค์กรแบบ ลาดับช้ันในระบบราชการ และเน้นการส่งเสริมวัฒนธรรมความซ่ือสัตย์อันจะนาไปสู่ วฒั นธรรมความไว้วางใจ 3. รัฐบาลควรรณรงค์ให้มีวัฒนธรรมเชิงสนับสนุน ด้วยการลดการใช้อานาจแบบบนลงล่าง ลด การควบคุม และลดการบังคับบัญชาแบบรวมศูนย์ เพื่อให้เกิดนโยบายของการมีส่วนร่วม มากย่ิงข้ึน และทาให้พลเมืองสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ อาทิ ในการ กาหนดนโยบายสาธารณะ การทาประชาพิจารณ์ การทาฉันทามติ เป็นต้น ดังน้ัน การ ส่งเสริมคุณค่าประชาธิปไตยท่ีเน้นการกระจายอานาจและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ปัจเจกบคุ คลจะช่วยเสรมิ สรา้ งวัฒนธรรมความไว้วางใจใหเ้ พม่ิ ขึ้นในสังคมไทย ถงึ กระนั้นกต็ าม การวจิ ยั เชิงลกึ เกีย่ วกบั ความเชื่อมโยงระหวา่ งวัฒนธรรมความไว้วางใจ และความซ่ือสัตย์ รวมถึงค่านิยมทางสังคมเกี่ยวกับความไว้วางใจและความดีงาม ประเด็นวัฒนธรรม ความไว้วางใจและอิทธิพลที่ส่งไปยังผลลัพธ์การบริหารจัดการธรรมาภิบาลสาธารณะยังไม่ได้มีการ สารวจอย่างเป็นระบบในวรรณกรรมด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน ซ่ึงอาจนาไปสู่การ 12

ศึกษาวิจัยต่อไปด้วยคาถามวิจัยที่ว่า “องค์กรภาครัฐ / ภาคเอกชน ที่เน้นการบริหารวัฒนธรรมความ ไว้วางใจและปรับยุทธศาสตร์เชิงสนับสนุน น่าจะประสบความสาเร็จในสัมฤทธิผลท่ีคาดหวังเกี่ยวกับ วัฒนธรรมองค์กรมากกว่าองค์กรภาครัฐ / ภาคเอกชน ท่ีไม่ใส่ใจแนวทางการบริหารวัฒนธรรมความ ไว้วางใจหรือไม่?” คาถามนี้น่าจะเปน็ คาถามสาหรับการศกึ ษาเชงิ ประจักษ์ต่อไป 13

Research Summary ------------------- The public administration of justice and trustworthy would cause the public trust for the government. The political officials, as citizens‟ representative, play a major role of linking pin or mediator between people and government, and serve public interest by offering ideas, finding better solutions for public problems, and formulating the good policies and enactments. Their behaviors are verified and exemplified as well on these aspects of morality: integrity, honesty, trustworthiness, impartiality, accountability, and transparency, in order to contribute to public interest. The officials or public servants, as policy implementers, are expected to act with moral and professional ethics and to serve the public interest fairly and to manage public resources properly on a daily basis. Fair and reliable public services inspire public trust and create a favorable environment for businesses, thus contributing to well - functioning markets and economic growth (OECD, 2000). The success or failure of political officials or public servants, therefore, is rooted in the confidence of the people who have trusted in themselves, which also reflects the good governance of that state or society. Public administration scholars generally agree that public ethics are a prerequisite to public trust and a keystone of good governance. Lewis and Catron stated that “Public service is a public trust. If there is anything unique about public service, it derives from this proposition” (1996, p: 699). When they think of public ethics, honesty is an important substantive value with a close connection to trust for it implies both truth - telling and responsible behavior that seeks to abide by the rules (Rose- Ackerman, 2001). The close relationship between the ethics of honesty and trust allows the modern state to function as democratic state with market mechanism at a time when there is a growing consensus among governments on what should constitute the essential elements of an effective and comprehensive ethics strategy. The relationship of these two factors will be resulted in a success or failure of political coalition. Citizens‟ trust and confidence with governments or officials are mostly and particularly derived from the ethics of honesty. One may trust another person to behave honestly, though honesty is not identical to trustworthiness. Corruption is dishonest behavior that violates the trust placed in a public official. It involves the use of a public position for private gain. Thus, a beneficial mechanism in the preservation and promotion of „honesty‟ is a political advantage. Because this benefit make citizen share their common interest with others and will create common need which is leading to political collaboration and legitimization. The new democratic governments often inherited a citizenry with low levels of trust in public institutions and with the habit of relying on inter-personal relations, not public institutions and laws. As citizens of a modern state in postmodern period, individuals have increased expectations that the government would serve their public interests with integrity, fair and responsible 14

management of resources through appropriate public policies, which is based on fundamental principles of governance. Research Objectives On the basis of these concepts, this research studied whether how Thai people perceived the ethics of honesty of their officials and how people trust or distrust their officials. What the causes or factors that hinder citizens‟ trust or the obstruction of the ethics of honesty of Thai officials are. This study aimed to investigate the relationship between trust culture and the ethics of honesty of officials from the perception of Thai people due to the importance of building “Trust Culture”, which is at the heart of \"public management\" in the current public administration. In addition, the political crisis occurred in Thailand such as the problem of fraud and corruption in the bureaucracy, the problem of political interference with the public administration process, the problem of bribe, or the crisis of political conflict in the country are critically caused from the lack of morality. This study also provides guidelines for the development and optimization of the official performance that will lead to the promote „Trust culture‟ - the values of democracy, good governance and democracy- and the social dialogue of the ethics of honesty, which will extend the frontiers of knowledge in public administration and human resource development. Methodology The research methodology used in this study is mixed method by both quantitative and qualitative methods, specifically conducted by theories and concepts of public trust, trust culture and ethics of honesty proposed by OECD (2000;2004), Rose-Ackerman (2001), Lewis and Gilman (2005), and Zaufanie (1998; 2007). The total number of 2,558 questionnaires was mailed to 13 targets grouped namely political official, government official, public enterprise official, academic and university lecturer, entrepreneur in business and industry from private sector, worker from private organization, mass media worker, merchant, farmer and fishermen, wage - earner or labor, student, non - governmental organization staff, and the group of other careers from all sectors of Thai society. In addition, personal interviews with 390 informants were purposively drawn. Both interview schedule and mailed questionnaire were synopsized from those above theories to explore a field. Conclusions After data collecting, from November 2011 to February 2012, findings are as follows. 1) Citizen perception on the ethics of honesty of Thai officials The results showed that the respondents in 6 regions perceived on the 15

honesty of officials at a moderate level (mean 2.92 and SD 1.026). The level of perception was divided into five orders and arranged in ascending order. Officials‟ honesty in northern region was perceived at the highest ranking (mean 3.08). Next below are the people‟s perception from north-eastern and western region (mean 2.98), southern region (mean 2.86), central region (mean 2.78), and people‟s perception from east region is at the lowest order (mean 2.72). Stratifying by their occupation, most respondent in 13 career groups perceived officials‟ honesty at the moderate one, but were slightly different by mean values measurement. People in government official‟s career perceived on officials‟ honesty at the highest order (mean 3.31). Next below are the people‟s perception from the group of other careers (mean 3.20), farmer and fishermen group (mean 3.12), political official group (mean 3.06), mass media worker group (mean 2.99), merchant group (mean 2.88), public enterprise official (mean 2.81), non - governmental organization staff group (mean 2.79) and approximately with academic and university lecturer group (mean 2.78), student group (mean 2.73), entrepreneur in business and industry from private sector group (mean 2.66), wage - earner or labor group (mean 2.58), and worker from private organization perceived on officials‟ honesty at the lowest order (mean 2.44). The mean of all careers is 2.45 and and SD value is .798. 2) Citizen trust in the ethics of honesty of Thai officials The citizen trust in the ethics of honesty of Thai officials was shown at a moderate level (mean 2.92 and SD 1.004) and separated into three areas of trust perception: (1) trustworthiness- thoroughly reflected in a daily life both in reason or unreason actions (2) basis trust - derived from socialization and (3) trust culture - thoroughly reflected by integrity behaviors, diffused to all society, and stimulated creditable norms and activities. The first element of trust, „trustworthiness‟, was perceived at a moderate level (mean 2.94 and SD 1.004). Officials were trusted orderly in dimensions of honesty, commitment beyond the law, and provision for public service. But people do not trust them in dimension of being responsible stewardship of resources such as time, people, money (tax) employing or using by spoil system network. Most officials were perceived that they accustomed to work in Thailand's bureaucratic style called „red tape‟. They were also perceived that they can avoid of punishment if they have connections with people in high-ranking. The second one, „basis trust‟ was also perceived at a moderate level (mean 2.90 and SD 0.982). Officials were trusted in dimensions of competency, consistency of service, and helpfulness, but distrusted in fairness or social justice dimensions. The last element, trust culture, was perceived at a moderate level (mean 2.92 and SD 1.026). Officials were trusted in dimensions of integrity, accountability to public, but distrusted in respect for the worth, dignity of individuals, and commitment to excellence and to maintaining the public trust. 3) Relationship between the ethics of honesty of Thai officials and citizen trust The results reveal that the ethics of honesty of Thai officials and citizen 16

trust were positively correlated in the same direction at almost high level (r = .959). Besides, they were relatively in a two-way relationship. The results of statistical test portrayed this correlation among the three elements of citizen trust: trustworthiness - correlated with the ethics of honesty of Thai officials at high level (r = .928), basis trust - correlated with the ethics of honesty of Thai officials at almost high level (r = .885), and (3) trust culture - correlated with the ethics of honesty of Thai officials at high level (r = .963). 4) Behaviors of officials’ honesty and expectation of people The results show that apparent behaviors of officials‟ honesty has disparity from those expected ones at high level (sig. 676). Citizen‟s expectation on better behaviors of officials‟ honesty were prioritized in five dimensions as followed: (1) officials‟ behavior is in line with the public purpose of the organization in which they work, (2) daily public service operations for business are reliable, (3) citizens receive impartial treatment on the basis of legality and justice, (4) public resources are effectively, efficiency, and properly used, and (5) decision-making procedures are transparent to the public, and measures are in place to permit public scrutiny and redress. 5) Major barriers of public trust in Thai officials The results reveal factors which are barriers of public trust in Thai officials, consisted of: 1) lack of ethical norms of society, 2)political intervening in bureaucracy system, 3) unethical leader, 4)lack of democratic values, 5) lack of public servant‟s value and professionalism, 6) inefficient and partial law enforcement, 7) lack of ideology of public service, and 8) lack of governance. 6) Indicators or alignments to strengthen public trust and trust culture The results reveal the five alignments to strengthen public trust and cultivate trust culture as follow: (1) incorruptibility - promoting ethical norms of honesty, (2) public interest and justice preservation - enforcing law impartially and honestly, (3) transparency and accountability - governing by rule of law, (4) respect for the worth, dignity, and diversity - striving for democratic society, (5) commitment to excellence and to maintaining the public trust - having an ideology of public service promoting public servants‟ value and professionalism. This research postulates that there is sufficient evidence to conclude that 1. People trust and perception on the ethics of honesty of Thai officials is at a moderate level. 2. Both variables of „ethics of honesty of Thai officials‟ and „people trust‟ are at high correlation in positive and same direction. 3. Honesty behaviors of Thai officials that people perceive in daily life are very different from those that they expect. 4. The selection of possible means for contributing trust culture is based upon these followed determinant factors namely incorruptibility, public interest 17

and justice preservation, transparency and accountability, respect for the worth, dignity, and diversity, and commitment to excellence and to maintaining the public trust. 5. Trust culture values orientations that encourage the individual to seek honesty and collaboration which lead to the level of trust at the collective level, one should take into consideration to what supportive preconditions of trust are safeguarded by macro-level factors with regard to all stakeholders of the population. The conclusions and recommendations give support to Zaufanie‟s trust management concept (Zaufanie, 2007). Concepts and propositions on trust culture and honesty aligned with the findings of this study are those of Zaufanie (1996), Rose- Ackerman (2001), OECD (2000, 2004), Dietz and Hartog (2006). Trust culture among citizens with ethics of honesty of public servant allows people to see other members of the community not as enemies or strangers, but as fellow citizens; it encourages tolerance for pluralism and a variety of ways of life. The results reveal the determinant factors which strongly promote trust culture and also decrease dishonesty in Thai social culture. They are: (1) value of honesty, (2) ethical leader, (3) public servant‟s value and professionalism, (4) ideology in public service, (5) trust in bureaucracy, (6) democratic value, (7) law enforcement with impartiality, (8) governance. These cultural dimensions will also sustain and strengthen trust among citizen in Thai society as a figure illustrated below. 18

Figure: Factors Contributing to Trust Culture and Ethics of Honesty of Thai Official Factors contributing to Trust culture (1) Value of Honesty (5) Trust in Bureaucracy (6) Democratic Value (2) Ethical Leader (7) Law Enforcement (3) Public Servant‟s Value/ with Impartiality Professionalism (8) Governance (4) Ideology in Public Service Ethics of Honesty of Public Servant Citizen’s Trust 1. Public servants‟ behaviors is in line 1. Trustworthiness in 4 dimensions with the public purposes of organization - Honesty behaviors - Commitment to public service 2. Daily public service operations are - Accountability to the public reliable - Commitment beyond the law 3. Impartial treatment for received citizen 2. Common Trust in 4 dimensions on the basis of legality - Merit and duty to citizen - Compassion with people in service 4. Public resources are effectively, - Work competency efficiency, and properly used - Regularity in daily behaviors 5. Procedures are measured to permit 3. Trust culture building in 5 dimensions public scrutiny. - Incorruption - Maintenance of public interest and social justice - Transparency - Respect for the worth, dignity of individuals - Commitment to excellence and to maintaining the public trust Recommendation The research gives an overview of trust culture on the ethics of honesty of public servants perceived by citizen in Thai society. It highlights trust culture as a critical issue in managing public organizations. It shows that in the process of building trust culture between officials and people, public organizations and citizen, or even among citizen in governance state by applying facilitation strategies, the ethics of 19

honesty should be first prioritized taken into consideration. This study offers recommendations as followed: 1. Role of government and government leaders are to promote public management on culture of trust and honesty. They should also promote and praise honest officials who do not have corruption behaviors, campaign for the values and norms about integrity within society and government agencies. They should sustain value to official ideology in public service and promote the official value and professionalism. On the contrary, they should seriously punish the corrupted official. Besides, they have to be examining by independent regulatory agencies and monitoring by external agencies in order to help sustain a culture of trust. 2. Role of government agencies are to strengthen political behavior that promotes a culture of ethics, honesty, and trust. They should reform the hierarchical culture of the bureaucracy, government agencies, and official who are implementing public policy to be a supportive culture that promotes such good political culture. By emphasizing and promoting a culture of honesty, thereby they will lead society to a strong culture of trust. 3. Government should encourage a supportive culture by reducing top - down authorization, control, and centralized command. By this way, they will make participation policy even more and the citizens can get involved in the public administration of such public policy formulation, public hearing, and public consensus. Promoting democratic values that emphasize decentralization and encouraging the participation of individuals, therefore, helps ascend a culture of trust in Thai society. Notwithstanding the research regarding the links between trust culture and honesty, including social value of trust and goodness, the issues of trust culture and its influence on public governance management performance have not been systematically explored in current human resource development literature. Consequently, the following question arises: “Should public/private organizations that consider culture in their approach to trust culture management and adjust facilitating strategies be more successful in achieving expected results of organizational culture than public/private organizations that neglect culture in their trust approach?” This query should be addressed in further empirical study. 20

ผลงานวิจยั โดย ศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชยั ยาวะประภาษ ท่ีปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนดิ า จติ ตรทุ ธะ หัวหนา้ คณะผวู้ จิ ยั นางยุพา คงสวสั ด์พิ ร นักวิจยั ผชู้ ว่ ย นายเลศิ พันธ์ สุขยริ ญั ผชู้ ่วยผู้วจิ ยั นางนิรมล มหติ พงษ์ ผ้ชู ่วยผวู้ ิจัย คณะรัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั