Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทิพวัลย์ จรเกษ_clone

ทิพวัลย์ จรเกษ_clone

Published by nanthikarl, 2023-10-28 15:58:52

Description: ทิพวัลย์ จรเกษ

Search

Read the Text Version

การผลิตส่ ื อส่ ิ งพิมพ ์ นางสาว ทพิ วลั ย์ จรเกษ วิทยาลัยการอาชีพขอนแกน่ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3

การผลติ สอื่ สง่ิ พมิ พ์ 1.2 ความเปน็ มาของสื่อส่งิ พิมพ์ หลกั ฐานทางประวัติศาสตรศ์ ลิ ปะไดป้ รากฏบนผนังถ้าอัลตามิรา ความรเู้ บื้องตน้ เก่ียวกับส่ือสง่ิ พิมพ์ (Altamira) ในสเปนและถา้ ลาสควกั ซ์ (Lascaux) ในฝรั่งเศส มผี ลงานแกะสลักหนิ เร่ิมแรกในระบบการพมิ พจ์ ะใช้ช่างศิลป์ ชา่ งท้าแม่พิมพท์ ่ีมีทักษะและความ แกะสลกั ผนัง ถ้าเป็นรูปสตั ว์ลายเส้นจึงเปน็ หลกั ฐานในการแกะพิมพ์ เปน็ ครังแรก ชา้ นาญในการผลิตสอ่ื สง่ิ พิมพ์เป็นอย่างมาก ซง่ึ สิง่ พมิ พ์เริม่ แรกนนั เป็นการ ของมนษุ ยห์ ลังจากนันไดม้ บี คุ คลคิดวิธีการท้ากระดาษขนึ มาจนมาเป็นการพิมพ์ใน แกะสลักตวั อักษรลงหิน จากนนั ก็เขียนบนผ้าไหม หนงั สตั ว์ จากนนั พัฒนาการมา ปจั จบุ ันนนั่ คอื ไชลน่ั ซ่งึ มเี ชือสายจีน ชาวจนี ไดผ้ ลิตท้าหมกึ แท่งซง่ึ เรียกว่า “บ๊กั ” เปน็ การเขยี นบนกระดาษโดยในปจั จบุ ันความกา้ วหน้าทางด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ให้การสร้างงานสงิ่ พิมพ์ง่ายขนึ กอ่ นท่จี ะเรยี นรูถ้ ึงกระบวนการท้าจะ ขอกลา่ วถงึ ความหมายของสอื่ สิง่ พิมพ์ ประเภทของส่ือสิ่งพิมพ์ ประเภทของโประ แกรมท่ีใชใ้ นการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์ กระบวนการผลิตส่อื ส่ิงพิมพ์ การเตรยี มงาน พมิ พก์ ่อนส่งโรงพมิ พ์ บทบาทของส่ิงพมิ พใ์ นปัจจุบัน 1.1 ความหมายและความสาคัญของสื่อสงิ่ พิมพ์ “สือ่ ” หมายถึง การติดต่อให้ถึงกันชักน้าใหร้ ้จู ักกัน หรอื ตัวกลางทีท่ า้ การตดิ ต่อให้ถงึ กัน “พมิ พ์” หมายถงึ ถา่ ยแบบ ใช้เครื่องจักรกดตัวหนงั สอื หรอื ภาพ ให้ติดบนวัตถุ เช่น แผน่ กระดาษ ผ้า ทา้ ให้เป็นตัวหนงั สอื หรอื รปู รอยอย่างใด ๆ โดยการกดหรอื การใชพ้ ิมพ์ หนิ เคร่อื งกลวธิ เี คมหี รอื วิธอี ืน่ ใด อันอาจใหเ้ กดิ เป็นส่ิงพมิ พ์ขึนหลายส้าเนา รปู รา่ ง ร่างกาย แบบ ดังนนั “ สอื่ สิ่งพิมพ”์ จึงมคี วามหมายว่าจะเปน็ แผน่ กระดาษหรอื วัตถใุ ด ๆ ด้วยวิธตี ่าง ๆ อันเกิดเป็นชินงานที่มลี ักษณะเหมือนตน้ ฉบับขนึ หลายส้าเนา ในปริมาณมากเพือ่ เปน็ สิ่งท่ีทา้ การติดต่อหรือชกั นา้ ใหบ้ ุคคลอน่ื ให้เหน็ หรอื ทราบข้อมลู ตา่ ง ๆ” ส่งิ พิมพ์มหี ลายชนิด ได้แก่ เอกสารหนังสอื่ เรียน หนังสอื พิมพ์ นิตยสาร วารสาร บันทกึ รายงาน ฯลฯ

1.3 ประวตั กิ ารพิมพ์ในประเทศไทย 1.4 ประเภทของส่อื ส่ิงพมิ พ์ ในปจั จุบันสามารถแบง่ ประเภทของสื่อสง่ิ พิมพไ์ ดม้ ามายหลายประเภท ในสมัยสมเด็จพระนารายมหาราช กรงุ ศรอี ยุธยา ได้เริม่ แตง่ และ พมิ พห์ นงั สอื ค้าสอนทางศาสนาครสิ ต์ขนึ และหลังจากนันหมอบรัดเลย์เขา้ มา โดยทังส่งิ พิมพ์ 2 มิติ และส่ิงพมิ พ์ 3 มติ ิ เมืองไทย และไดเ้ รม่ิ ดา้ นงานพิมพ์จนสนใจเป็นธุรกิจดา้ นการพิมพ์ ในเมอื งไทย สิ่งพิมพ์ 2 มิติ คือ สงิ่ พมิ พ์ทมี่ ลี ักษณะเปน็ แผน่ เรยี บ ใชว้ สั ดุจา้ พวกกระดาษ พ.ศ. 2382 ไดพ้ มิ พ์เอกสารทางราชการเป็นชนิ แรกคอื หมายประกาศห้ามสบู ฝนิ่ ซ่งึ พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยหู่ ัวทรงโปรดให้จ้างพิมพ์ และมีเป้าหมายเพื่อนา้ เสนอเนือหาขา่ วสารต่าง ๆ เชน่ หนังสือ นติ ยสาร จลุ สาร จ้านวน 9,000 ฉบับ ตอ่ มาเมอ่ื วนั ที่ 4 ก.ค. 2387 ได้ออกหนงั ส่อื ฉบับแรกขนึ คอื หนังสอื พิมพ์ แผ่นพบั โบชัวร์ ใบปลิว นามบัตร แมกกาซีนพอ็ กเกต็ บ๊คุ เป็นต้น บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เป็นจดหมายเหตอุ ยา่ งสนั ออก เดอื นละ 2 ฉบบั และใน 15 ม.ิ ย. พ.ศ. 2404 ได้พมิ พห์ นงั สือเลม่ ออกจา้ หน่ายโดย สง่ิ พิมพ์ 3 มติ ิ คอื สง่ิ พิมพท์ มี่ ีลกั ษณะพิเศษที่ต้องอาศยั ระบบการพิมพแ์ บบ ซือลิขสิทธิ์จาก หนังสือนิราศลอนดอนของหม่อมราโชทัย และไดเ้ ริม่ ตน้ การซือ พเิ ศษ และส่วนใหญ่จะเป็นการพมิ พโ์ ดยตรงลงบนผลิตภณั ฑ์ท่สี ร้างรูปทรงมาแล้ว ขายลขิ สิทธจิ์ า้ หนา่ ยในเมอื งไทย หมอบรดั เลย์ไดถ้ งึ แกก้ รรมในเมืองไทย กิจการ ส้าหรบั ตัวอย่างการพมิ พ์แบบ 3 มติ ไิ ดแ้ ก่ การพิมพ์สกีนบนภาชนะต่าง ๆ เช่น การพมิ พ์ของไทยจงึ ได้เร่งิ เปน็ ต้นของไทย หลงั จากนนั ใน พ.ศ. 2500 ประเทศ แก้ว กระป๋อง พลาสตกิ การพมิ พ์ระบบแพดบนภาชนะท่ีมีผวิ ต่างระดบั เช่น ไทยจึงน้าเครือ่ งพิมพ์แบบโรตารี ออฟเซต (Rotary off set) มาใชเ้ ปน็ ครังแรก เครือ่ งป้นั ดินเผา เครื่องใชไ้ ฟฟา้ การพมิ พ์ระบบพ่นหมกึ เชน่ การพมิ พว์ นั โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชน้าเคร่ืองหลอ่ เรียงพิมพ์ (Monotype) มาใช้กับตัวพมิ พ์ หมดอายุของอาหารกระป๋องต่าง ๆ โดยสามารถจ้าแนกประเภทของส่อื ส่งิ พิมพ์ได้ ภาษาไทยธนาคารแห่งประเทศไทยไดจ้ ัดโรงพิมพ์ธนบตั รในเมอื งไทขนึ ใช้เอง 6 ประเภท ดังนี 1. สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ 2. สื่อสิ่งพิมพเ์ พื่อเผยแพร่ข่าวสาร 3. สงิ่ พมิ พ์เพือ่ การบรรจุภณั ฑ์ 4. สง่ิ พมิ พม์ ีคา่ 5.สง่ิ พิมพ์ลักษณะพิเศษ 6. สิ่งพิมพ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

สือ่ ส่ิงพมิ พ์ประเภทหนงั สือ สงิ่ พิมพเ์ พ่อื การบรรจภุ ัณฑ์ สื่อสิ่งพิมพป์ ระเภทหนังสือจะมหี นังสือสารคดี ต้ารา สิ่งพิมพเ์ พอื่ การบรรจภุ ณั ฑเ์ ป็นส่ิงพิมพท์ ่ีใชใ้ นการห่อหมุ้ ผลิตภณั ฑ์การค้า แบบเรียน และหนงั สอื บนั เทิงคดี จะเน้นความรูต้ า่ งๆ ตา่ ง ๆ แยกเปน็ ส่ิงพมิ พ์หลกั ได้แก่ส่งิ พมิ พ์ท่ีใช้ปิดรอบขวด หรือกระป๋อง ผลิตภณั ฑก์ ารค้า ส่งิ พมิ พร์ อง ได้แก่ สงิ่ พมิ พ์ทีเ่ ปน็ กลอ่ งบรรจุหรอื ลัง ส่อื สงิ่ พมิ พเ์ พอ่ื เผยแพร่ขา่ วสาร ส่ิงพิมพม์ คี า่ สื่อสิ่งพิมพเ์ พื่อเผยแพร่ข่าวสาร... เชน่ หนังสือพมิ พ์ วารสาร นติ ยสาร สงิ่ พิมพ์มีค่า เป็นส่อื ส่งิ พิมพท์ ี่เนน้ การน้าไปใชเ้ ปน็ หลักฐานสา้ คัญตา่ ง ๆ จุลสาร ใบปลวิ แผน่ พับ โบชัวร์ หรอื โปสเตอร์ ซ่ึงกา้ หนดตามกฎหมาย เชน่ ธนาณตั ิ บัตรเครดิต เชค็ ธนาคาร ตว๋ั แลกเงนิ หนังสือเดนิ ทาง โฉนด เป็นต้น

สงิ่ พิมพล์ ักษณะพเิ ศษ ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกบั การออกแบบ สิง่ พิมพล์ กั ษณะพเิ ศษ เป็นสอ่ื สง่ิ พมิ พม์ ีการผลติ ขึนตามลกั ษณะพิเศษแลว้ แต่ การออกแบบมีความส้าคัญในการผลิตส่ือสงิ่ พิมพ์ เพราะการออกแบบคือการ การใช้งาน ได้แก่นามบตั ร บตั รอวยพร ปฏิทิน ใบสง่ ของ ใบเสร็จรบั เงิน ส่งิ พิมพบ์ น วางแผนในการทา้ งานซง่ึ เปน็ ขนั ตอนหนึ่งทีส่ า้ คัญของกระบวนการผลติ สือ่ สิง่ พมิ พ์ให้ แก้ว สิง่ พมิ พ์บนผา้ เปน็ ตน้ ประสบผลส้าเร็จ การอออกแบบในลักษณะใดกต็ ามต้องอาศัยส่วนประกอบงานศิลป์ อนั ไดแ้ ก่ เสน้ รปู ร่าง สี ลกั ษณะผวิ เพื่อน้ามาประกอบกนั เป็นผลงานทีด่ มี คี วาม สงิ่ พมิ พอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ สวยงาม เหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ จงึ ท้าให้เกดิ ผลงานที่มีรปู แบบที่ดี สิง่ พิมพอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ เปน็ สอ่ื สิง่ พิมพ์ทผ่ี ลิตขนึ เมอ่ื ใชง้ านในคอมพิวเตอร์ สื่อสิ่งพิมพท์ ี่จะสา้ เร็จบรรลุจุดมุ่งหมายได้นัน นอกจากการออกแบบที่มีประสิทธิภาพ แลว้ กระบวนการผลติ สอ่ื สง่ิ พิมพ์กม็ ีความสา้ คญั อย่างยิง่ ทังในดา้ นการวางแผน การ หรอื ระบบเครือขา่ ยอนิ เตอร์เน็ต ได้แก่ Document Formats, E-book for เตรียมการกอ่ นพิมพ์ การทา้ ตน้ ฉบับ การเลือกประเภทของการพิมพเ์ พือ่ ใหเ้ หมาะสม Palm/PDA เปน็ ตน้ กบั ส่ือสง่ิ พิมพ์ และส่งผลใหก้ ารผลิตส่อื สง่ิ พิมพ์ส้าเรจ็ บรรลุจุดมุง่ หมาย การออกแบบส่อื สิ่งพมิ พ์ การอออกแบบเปน็ การน้าองค์การประกอบมลู ฐานมาจัด หรือรวบรวมเข้าไว้ ด้วยกันอยา่ งมีระบบในงานออกแบบ ไมว่ า่ จะเป็นตวั อกั ษร ภาพ หรือพืนท่ีว่างๆ เพอ่ื ใหก้ ารออกแบบส่ือสิง่ พมิ พเ์ ป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ี่ต้องการ วัตถปุ ระสงค์ของการออกแบบสือ่ ส่ิงพมิ พ์ 1. ใช้เป็นแนวทางในการผลิตสือ่ สง่ิ พมิ พ์ เพือ่ รับรู้รปู แบบ รปู รา่ ง ลักษณะ และ สว่ นประกอบในการพิมพ์ 2. เพอ่ื สรา้ งความสวยงามทางศิลป์ของสื่อส่ิงพมิ พ์ 3. เพือ่ ดงึ ดดู ความสนใจของผู้พบเหน็ และผูอ้ า่ น 4. เพื่อเสนอข่าวสารและงา่ ยต่อการจดจ้าเนือหา 5. เพ่อื ปดิ บังความด้อยตอ่ คณุ ภาพสอื่ สงิ่ พิมพ์ 6. เพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการสือ่ สาร

หลักการออกแบบสือ่ สิง่ พมิ พ์ 8. มสี ัดส่วนท่ีดี มีความกลมกลืนกันทงั ส่วนรวม เชน่ รูปแบบ ลกั ษณะผิว เส้น สี การออกแบบสอื่ ส่งิ พิมพใ์ ห้มคี วามนา่ สนใจและสะดุดตาแกผ่ ู้อ่าน สามารถทา้ เป็นต้น มีสดั สว่ นท่เี หมาะสมในการใชง้ าน ได้ตามหลกั การออกแบบสอ่ื ส่งิ พมิ พ์ดังนี 9. มีความเหมาะสมกบั วสั ดุและวิธกี าร มีคุณภาพ มีวธิ กี ารใช้งา่ ยสะดวก 1. ออกแบบใหด้ ึงดดู ความสนใจของผูอ้ า่ นและพบเหน็ 10. มีลกั ษณะของการตกแตง่ อย่างพอดี ไม่รกรุงรงั 2. ออกแบบส่ือส่งิ พมิ พ์ให้เป็นทีส่ งั เกตหรือจดจ้าไดง้ ่าย 11. มโี ครงสร้างทีเ่ หมาะสมกลมกลนื กับวัฒนธรรมและความต้องการของ 3. น้าข่าวสารไปสผู่ ู้อ่าน ด้วยการออกแบบท่ีมีลักษณะของการเสนอ สังคม เนอื หาในรปู แบบที่สวยงาม และสะดวกตอ่ การท้าความเขา้ ใจในเนือหา 12. ไม่ควรสนิ เปลอื งเวลามากนัก 4. ใชศ้ ลิ ปะของการออกแบบปิดบงั ความด้อยในคณุ ภาพของวสั ดุพมิ พ์ หลักในการพจิ ารณาออกแบบส่ือสง่ิ พิมพ์ 5. ให้ผอู้ ่านเขา้ ใจเนอื หาไดง้ า่ ยและสะดวกขึน ก่อนท่ผี อู้ อกแบบตัดสนิ ใจผลิตสื่อสิง่ พิมพ์ ผอู้ อกแบบจ้าเปน็ จะตอ้ ง 6. เป็นการออกแบบท่มี ลี ักษณะเหมาะสม ตรงกบั ความมุ่งหมายตาม พจิ ารณาองค์ประกอบของการพมิ พ์เปน็ ข้อมลู สา้ คัญตอ่ การออกแบบองค์ประกอบ ประโยชนใ์ ช้สอยมคี วามกลมกลนื ตามหลกั เกณฑ์ความงามของสงั คม และ ในการพิมพ์ ดังนี สามารถปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงได้ 1.วัตถปุ ระสงคข์ องการพิมพ์ 7. เป็นการออกแบบทีม่ ีลกั ษณะงา่ ย มจี า้ นวนผลติ ผลตามความตอ้ งการของ การก้าหนดเปา้ หมายของส่ือสงิ่ พิมพ์ว่า เปน็ สือ่ สง่ิ พิมพส์ ้าหรับบุคคลวัยใด หนังสือ สังคมและมกี ระบวนการผลิตไมย่ งุ่ ยากซับซ้อน สา้ หรบั เดก็ หรอื ผูใ้ หญ่ เพศใด สา้ หรับผู้หญงิ หรือผู้ชาย การศกึ ษาระดับใดลักษณะ ของสื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือทางวิชาการ สารคดี รอ้ ยแกว้ รอ้ ยกรอง

2.รปู ร่างของส่อื สิ่งพมิ พ์ 4.ขนาดของสือ่ ส่ิงพิมพ์ ตามปกติมรี ปู ร่างมาตรฐานเป็นรูปสเ่ี หลย่ี มผืนผา้ ตามลกั ษณะของกระดาษขนาด ขึนอยู่กับขนาดของกระดาษเป็นส้าคัญจะเห็นได้ว่าหนังสือขนาด 8 หนา้ ยก (7.5 มาตรฐาน ดงั นนั การกา้ หนดส่อื สิ่งพมิ พ์ใหม้ ีรูปรา่ งสเี่ หล่ยี มผนื ผา้ จึงไม่ท้าให้ นิว*10.25 นิว) ทีพ่ ิมพใ์ นปจั จบุ นั มขี นาดรูปเลม่ ทแี่ ทจ้ ริงไมเ่ ทา่ กัน ทังนเี นื่องจาก กระดาษเสยี เศษ ซ่งึ มีทังสี่เหลย่ี มผนื ผา้ แนวตงั และส่เี หลยี่ มผืนผ้าแนวนอน ขนาดของกระดาษท่ใี ช้พิมพไ์ ม่เทา่ กนั ได้แก่ กระดาษขนาด 31 นวิ *43 นวิ และ กระดาษขนาด 24 นวิ *35 นิว 3.ตาแหน่งจดุ แหง่ ความสนใจในสอื่ ส่งิ พิมพ์ 2.1.4 หลกั การออกแบบสงิ่ พมิ พ์ โดยปกติผู้ออกแบบสอ่ื สิ่งพิมพม์ กั จะให้ความส้าคญั แก่ปกหน้าพิเศษมากกว่าสว่ นอีก ส่ิงพมิ พ์ที่พบเหน็ โดยท่ัวไปประกอบดว้ ยองค์ประกอบส้าคัญหลายอย่าง ได้แก่ ทงั นีเพราะเป็นจุดดงึ ดูดสายตาและสามารถสร้างความน่าสนใจแกผดู้ ูในกรณีที่มกี าร ตัวอักษรหรอื ขอ้ ความภาพประกอบเนอื ทว่ี ่าง และส่วนประกอบอน่ื การออกแบบ แขง่ ขันกบั สอื่ สง่ิ พิมพ์อน่ื ๆส้าหรับการจัดหน้าภายในหนังสอื นันสมัยก่อนมกั ให้ สิง่ พิมพ์ทีต่ ้องค้านงึ ถงึ การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ดงั กลา่ วเขา้ ด้วยกนั โดยใช้ ความส้าคญั แก่หน้าขวามอื หรือหน้าคี่ ได้แก่ 1,3,5,7 ไปตามลา้ ดบั หลักการ ดงั นี

1. ทิศทางและการเคลอ่ื นไหว (Direction & Movement) 2. เอกภาพและความกลมกลืน (Unity & Harmony) เมื่อผรู้ ับสารมองดสู ่ือสิ่งพิมพ์ การรบั รเู้ กดิ ขึนเป็นลา้ ดับตามการมองเห็น เอกภาพคือความเป็นอนั หน่ึงอันเดียวกัน ซง่ึ ในการจัดทา้ เลยเ์ อาต์หมายถงึ กลา่ วคอื เกิดตามการวาดสายตาจากองค์ประกอบหนงึ่ ไปยงั อีกองค์ประกอบหนึ่ง จงึ มี การเอาองคป์ ระกอบท่ีแตกต่างกนั มาวางไว้ในพนื ท่ีหน้ากระดาษเดียวกนั อย่าง ความจ้าเป็นอย่างยิง่ ทจี่ ะต้องมีการด้าเนินการวางแผน ก้าหนดและชกั จงู สายตาผู้รบั กลมกลืน ทา้ หน้าทสี่ อดคลอ้ งและส่งเสริมกนั และกันในการส่อื สารความคิดรวบ สารใหเ้ คลือ่ นไหวในทิศทางท่ถี ูกตอ้ ง ตามล้าดบั ขององค์ประกอบทีต่ ้องการใหร้ ับรู้ ยอด และบุคลกิ ภาพของสื่อส่ิงพมิ พน์ ัน ๆ การสร้างเอกภาพนสี ามารถท้าไดห้ ลาย กอ่ นหลัง โดยทั่วไปหากไมม่ กี ารสร้างจุดเดน่ ขึนมา สายตาของผู้รบั สารจะมองดู วธิ ีเช่น หนา้ กระดาษทเี่ ป็นสื่อสง่ิ พมิ พ์ในทศิ ทางทเี่ ป็นตวั อักษร (Z) ในภาษาองั กฤษ คอื จะเรมิ่ ท่ีมมุ บนด้านขวาตามลา้ ดับการจัดองคป์ ระกอบทส่ี อดคล้องกบั ธรรมชาติการมองนี เปน็ สว่ นช่วยใหเ้ กดิ การรับรู้ตามล้าดบั ท่ีตอ้ งการ – การเลือกใชอ้ งค์ประกอบอย่างสมา้่ เสมอ เช่น การเลอื กใชแ้ บบตวั อักษรเดยี วกนั การเลอื กใชภ้ าพขาว ดา้ ทงั หมด เปน็ ต้น

– การสรา้ งความต่อเนือ่ งกนั ใหอ้ งคป์ ระกอบ เชน่ การจดั ให้พาดหวั วางทบั ลงบนภาพ 3. ความสมดลุ (Balance) การใช้ตัวอักษรท่ีเป็นขอ้ ความ ล้อตามทรวดทรงของภาพ เป็นต้น หลกั การเรอ่ื งความสมดลุ นีเป็นการตอบสนองธรรมชาติของผู้รบั สาร ใน – การเว้นพืนที่ว่างรอบองค์ประกอบทงั หมด ซง่ึ จ้าทา้ ใหพ้ นื ท่ีว่างนนั ท้าหนา้ ท่ี เหมือน กรอบสีขาวลอ้ มรอบองค์ประกอบทงั หมดไว้ภายใน ช่วยให้องคป์ ระกอบทังดเู หมอื นว่า เร่ืองของแรงโน้มถ่วง โดยการจดั วางองค์ประกอบทงั หมดในพนื ทห่ี น้ากระดาษ อยู่กนั อยา่ งเปน็ กลุ่มเปน็ ก้อ จะต้องไมข่ ดั กบั ความรสู้ ึกนี คอื จะต้องไมด่ ูเองเอียงหรือหนกั ไปด้านใดดา้ นหนึ่ง โดยไมม่ ีองคป์ ระกอบมาถ่วงในอีกด้าน การจดั องคป์ ระกอบให้เกดิ ความสมดุลแง ไดเ้ ป็น 3 ลักษณะคือ – สมดลุ แบบสมมาตร (Symmetrical Balance) เปน็ การจดั วางองคโ์ ดยให้ องค์ประกอบในดา้ นซา้ ยและด้านขวาพืนทห่ี นา้ กระดาษมลี กั ษณะเหมอื นกนั ทงั สองข้าง ซึง่ องค์ประกอบทีเ่ หมอื นกนั ในแต่ละด้านนีจะถ่วงนา้ หนักกนั และกันให้ ความรูส้ กึ สมดลุ – สมดลุ แบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance) เป็นการจักวางองคป์ ระกอบ โดยใหอ้ งค์ประกอบในด้านซา้ ยและดา้ นขวาพนื ที่หน้ากระดาษมีลกั ษณะไม่ เหมอื นกันทงั สองข้าง แมอ้ งคป์ ระกอบจะไมเ่ หมอื นกันในแต่ละดา้ นแตก่ จ็ ะถว่ ง นา้ หนกั กนั และกันให้เกดิ ความสมดลุ – สมดลุ แบบรศั มี (Radial Balance) เปน็ การจดั วางองคป์ ระกอบ โดยให้ องคป์ ระกอบแผไ่ ปทุกทศิ ทางจากจดุ ศูนย์กลาง

4. สดั สว่ น (Proportion) 6. จังหวะ ลีลา และการซา้ (Rhythm & Repetition) การจัดวางองคป์ ระกอบหลาย ๆ ชนิ โดยก้าหนดตา้ แหน่งให้เกิดมมี ชี อ่ งวา่ เป็น การก้าหนดสัดส่วนนเี ป็นการกา้ หนดความสัมพันธใ์ นเรอื่ งของขนาดซง่ึ มีความสมั พันธ์ โดยเฉพาะในหนา้ กระดาษของสื่อส่งิ พมิ พท์ ตี่ ้องการให้มีจดุ เดน่ เชน่ หนา้ ปกหนังสือเป็นต้น เพราะ ชว่ ง ๆ ตอน ๆ อย่างมกี ารวางแผนลว่ งหน้า จะทา้ ใหเ้ กดิ ลลี าขนึ และหากวา่ องค์ประกอบทม่ี สี ัดส่วนแตกตา่ งกนั จะดงึ ดดู สายตาไดด้ ีกวา่ การใช้องค์ประกอบทังหมดในสดั สว่ นท่ี องค์ประกอบหลาย ๆ ชนิ นันมลี กั ษณะซ้ากนั หรือใกลเ้ คียงกัน กจ็ ะย่ิงเปน็ การเน้นให้ ใกล้เคยี งกัน ในการก้าหนดสดั ส่วนจะตอ้ งก้าหนดองคป์ ระกอบทงั หมดในพืนทหี่ นา้ กระดาษไปพรอ้ ม ๆ เกิดจังหวะลลี า ได้ชดั เจนย่ิงขนึ ลักษณต์ รงข้ามกบั แบบแรก จังหวะและลีลาลักษณะนี กันว่าควรจะเพ่ิมหรอื ลดองคป์ ระกอบใดไมใ่ ชค่ อ่ ย ๆ ทา้ ไปทีละองค์ประกอบ จะก่อให้เกดิ ความรู้สกึ ที่ตน่ื เตน้ ดเู คล่อื นไหวและมพี ลัง 5. ความแตกตา่ ง (Contrast) เป็นวิธที ง่ี ่ายที่สดุ โดยการเน้นให้องค์ประกอบใดองคป์ ระกอบหนงึ่ เดน่ ขึนมาด้วยการเพม่ิ ขนาดใหญก่ วา่ องคป์ ระกอบอน่ื ๆ โดยรอบ เช่น พาดหวั ขนาดใหญ่ เปน็ ตน้ ซ่งึ โดยธรรมชาติแล้วผดู้ จู ะ เลอื กดูองคป์ ระกอบใหญ่กอ่ น – ความแตกตา่ งโดยขนาด เป็นวธิ กี ารท่ีง่ายที่สด โดยการเน้นใหอ้ งคป์ ระกอบใดองค์ประกอบหน่งึ เด่นขนึ มาด้วยการเพ่ิมขนึ มาด้วยการเพ่มิ ขนาดใหญ่กวา่ องค์ประกอบอื่น ๆ โดยรอบ เช่น พาดหัว ขนาดใหญ่ เปน็ ตน้ ซ่งึ โดยธรรมชาตแิ ล้วผู้ดจู ะเลอื กดูองค์ประกอบใหญก่ ่อน – ความแตกต่างโดยรูปรา่ ง เป็นวิธีท่ีเน้นองค์ประกอบใดองคป์ ระกอบหนง่ึ เด่นขึนมาดว้ ยการใช้รูปรา่ ง ทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไปจากองค์ประกอบอน่ื ในหนา้ กระดาษ เช่น การไดต้ ดั ภาพคนตามรปู ร่างของ ร่างกายแลว้ น้าไปวางทีห่ นา้ กระดาษทมี่ ีภาพแทรกเลก็ ๆ ท่อี ย่ใู นกรอบสีเ่ หลีย่ ม เป็นตน้ – ความแตกต่างโดยความเข้ม เป็นวิธกี ารท่เี น้นใหอ้ งคป์ ระกอบใดองค์ประกอบหนงึ่ เดน่ ขึนมาดว้ ยการ ใชเ้ พ่ิมหรือลดความเข้มหรอื นา้ หนักขององคป์ ระกอบนันใหเ้ ขม้ หรือออ่ นกวา่ องค์ประกอบอน่ื ๆ ทอ่ี ยู่ รวมกันในหนา้ กระดาษ เชน่ การใชต้ ัวอักษรที่เปน็ ตัวหนาในยอ่ หนา้ ที่ต้องการเน้นเพยี งยอ่ หนา้ เดยี วใน หนา้ กระดาษ เป็นตน้

สี เปน็ สิง่ ท่ีปรากฏอย่บู นโลก ทกุ ๆส่ิงท่เี รามองเห็นรอบๆตวั นนั ลว้ นแต่มีสี โลกของเราถูกจรรโลง และ 2. ประเภทของสี แตง่ แตม้ ดว้ ย สีสันหลายหลาก ทังสีสันตามธรรมชาติ และสีทม่ี นุษย์รงั สรรคข์ นึ หากโลกนีไมม่ สี ี หรอื “ส”ี มีอยทู่ ั่วไปในสิ่งแวดลอ้ มรอบๆตัวเรา สที ่ีปรากฏอยู่ในโลกสามารถแบง่ ออกได้ มนุษย์ไม่สามารถ รบั รูเ้ กีย่ วกบั สีได้ สงิ่ นันอาจเป็น ความพกพร่องที่ย่งิ ใหญข่ องธรรมชาติ เพราะสมี ี เป็น 2 ประเภทใหญๆ่ คอื ความสา้ คญั ต่อวัฏจักรแหง่ โลก และเกีย่ วขอ้ งกบั วิถีชีวิตมนุษย์ จนแยกกนั ไมอ่ อก เพราะมนษุ ยไ์ ด้ 2.1 สที ีเ่ กิดในธรรมชาติ มีอยู่ 2 ชนิดคือ ตระหนกั แล้วว่า สนี ันส่งผลตอ่ ความรูส้ ึกนกึ คดิ อารมณ์ จนิ ตนาการ การสอ่ื ความหมาย และความสขุ สา้ ราญใจในชีวิตประจา้ วันมาชา้ นานแลว้ ดงั นนั จงึ อาจกลา่ วได้วา่ สี มอี ทิ ธพิ ลตอ่ มนษุ ย์เราเป็นอยา่ ง 2.1.1. สที ี่เปน็ แสง ( Spectrum ) คอื สที ีเ่ กดิ จากการหกั เหของแสง เช่น สีร้งุ สี สูง และมนุษยก์ ็ใช้ประโยชน์ จากสีอยา่ ง อเนกอนันต์ ในการสรา้ งสรรค์ ส่ิงตา่ งๆอย่างไมม่ ีที่สนิ สดุ จากแท่งแก้วปริซึม 3.1 ความรูเ้ บือ้ งตน้ เก่ียวกบั สี 1. ความหมายและการเกิดสี รปู ที่ 3.2 สีทเ่ี ปน็ แสง ค้าว่า สี (Colour) ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน หมายถึง ลักษณะของแสง ที่ 2.1.2 สีท่อี ยู่ในวัตถุ หรือเนือสี ( Pigment ) คือ สีที่มอี ยู่ในวตั ถธุ รรมชาติ ปรากฏแก่ สายตาเรา ใหเ้ หน็ เปน็ สีขาว ดา้ แดง เขยี วฯลฯหรอื การสะทอ้ นรัศมีของแสงมาสตู่ าเรา ทว่ั ไป เชน่ สีของพชื สัตว์ หรอื แร่ธาตุต่างๆ สี ท่ปี รากฏในธรรมชาติ เกิดจากการสะท้อนของแสงสว่าง ตกกระทบ กับวตั ถุแลว้ เกิดการหกั เหของแสง ( Spectrum ) สีเปน็ คลืน่ แสงชนิดหนึง่ ซง่ึ ปรากฏให้เห็น เม่อื แสงผ่านละอองไอน้า ใน อากาศ หรือ แท่งแก้วปริซมึ ปรากฏเป็นสตี ่างๆ รวม 7 สี ไดแ้ ก่ สีแดง ม่วง สม้ เหลอื ง นา้ เงิน คราม และเขยี ว เรียกวา่ สรี ้งุ ท่ปี รากฏบนท้องฟา้ ตามธรรมชาติในแสงนนั มีสีต่างๆรวมกัน อยูอ่ ยา่ งสมดุลย์เป็น แสงสีขาวใส เม่อื แสงกระทบ กบั สีของวตั ถุ ก็จะสะท้อนสวี ตั ถุนนั ออกมาเข้าตาเรา วัตถสุ ขี าวจะสะทอ้ นได้ทกุ สี สว่ นวตั ถสุ ีด้านัน จะดูดกลนื แสงไว้ ไม่สะทอ้ นสีใด ออกมาเลย 3.1 ศลิ ปะการใช้สี รูปท่ี 3.3 สีท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขนึ

2.2 สีท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ คือ สที ่ีไดจ้ ากการสงั เคราะห์ เพ่ือใชป้ ระโยชนใ์ นงานต่างๆ เช่น งานศลิ ปะ นักวิทยาศาสตร์ไดเ้ คยทา้ การศกึ ษาเกี่ยวกับ ความไวในการรบั รู้ต่อสีตา่ งๆ อตุ สาหกรรม การพาณิชย์ และในชีวิตประจาวนั โดยสงั เคราะหจ์ ากวสั ดธุ รรมชาติ และจาก ของมนษุ ย์ ปรากฏวา่ ประสาทสมั ผสั ของมนษุ ย์ ไวตอ่ การรับรูส้ แี ดง สเี ขียว และสีมว่ ง สารเคมี ท่ีเรยี กวา่ สวี ทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ สที ่ีไดจ้ าก การสงั เคราะหส์ ามารถนามาผสมกนั ใหเ้ กิดเป็น สี มากกว่าสีอ่ืนๆ สว่ นการรับร้ขู องเดก็ เกี่ยวกบั สนี ัน เดก็ ส่วนใหญ่ จะชอบภาพ ทีม่ ีสี ตา่ งๆอกี มากมาย สะอาดสดใส มากกวา่ ภาพขาวดา้ ชอบภาพหลายๆสมี ากกว่าสเี ดียว และชอบภาพที่ เปน็ กลมุ่ สีรอ้ นมากกว่าสีเยน็ (โกสุม สายใจ, 2540) รูปท่ี 3.4 สีที่มนษุ ย์สรา้ งขนึ ตาของคนปกติจะสามารถ แยกแยะสตี ่างๆได้ถกู ตอ้ ง แต่หากมองเห็นสนี ันๆเป็นสอี ่นื ที่ ผดิ เพียนไป เรยี กวา่ ตาบอดสี เช่น เหน็ วัตถุสีแดง เปน็ สอี น่ื ทมี่ ิใชส่ แี ดง กแ็ สดงวา่ ตา 3. การรับรู้เร่ืองสี (Colour Perception) บอดสแี ดง หากเหน็ สนี า้ เงนิ ผดิ เพียน แสดงว่าตาบอดสีนา้ เงนิ เปน็ ตน้ ซึ่งตาบอดสเี ปน็ การรบั รู้ต่อสีของมนุษย์ เกดิ จากการมองเห็น โดยใช้ตา เปน็ อวยั วะรับสมั ผสั ตา ความบกพร่องทางการมองเห็นอย่างหน่ึง บคุ คลใดทตี่ าบอดสกี จ็ ะเป็นอปุ สรรคตอ่ การ ทา้ งานบางประเภทได้ เชน่ งานศลิ ปะ งานออกแบบ การขับรถ ขบั เครือ่ งบนิ งานด้าน จะตอบสนองต่อแสงสีต่างๆ โดยเฉพาะแสงสว่าง จากดวงอาทิตย์ และจากดวงไฟ ท้าให้ วทิ ยาศาสตร์ เป็นต้น มองเห็น โดยเร่มิ จากแสงสะทอ้ นจากวัตถุผา่ นเขา้ นัยน์ตา ความเข้มของแสงสว่าง มีผลต่อ การเหน็ สี และความคมชดั ของวัตถุ หากความเข้มของแสงสวา่ งปรกติ จะท้าใหม้ องเหน็ 4. จิตวิทยาสกี ับความรู้สึก ( Psychology of Colour) วัตถุชดั เจน แต่หากความเข้มของแสงสว่างมีนอ้ ย หรอื มดื จะทา้ ใหม้ องเหน็ วัตถไุ ม่ ในดา้ นจติ วิทยา สี เปน็ ตวั กระตุ้นความรสู้ ึกและมีผลต่อจิตใจของมนษุ ย์ สตี ่างๆจะให้ ชดั เจน หรอื พรา่ มวั ความรู้สกึ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ดังนันเราจงึ มกั ใชส้ ีเพอ่ื ส่อื ความรูส้ ึกและความหมายตา่ งๆ ได้แก่

• สีแดง ให้ความรู้สกึ เร่ารอ้ น รนุ แรง อนั ตราย ตื่นเต้น รูปท่ี 3.5 แสดงตวั อย่างสีแท้ • สเี หลือง ใหค้ วามรสู้ ึก สว่าง อบอุน่ แจม่ แจ้ง รา่ เริง ศรัทธา มง่ั ค่งั 5.2 น้าหนักของสี ( Value) หมายถงึ ค่าความอ่อนแก่ หรอื ความสวา่ งและความมืด • สเี ขยี ว ให้ความรสู้ ึก สดใส สดชน่ื เยน็ ปลอดภัย สบายตา ม่งุ หวัง ของสี โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ • สฟี า้ ให้ความร้สู กึ ปลอดโปล่ง แจ่มใส กว้าง ปราดเปร่อื ง • สีมว่ ง ให้ความรู้สึก เศร้า หม่นหมอง ลึกลบั 5.2.1 สีแทถ้ กู ท้าให้อ่อนลงโดยผสมสขี าว เรียกว่า สนี วล (Tint) • สีด้า ใหค้ วามรสู้ กึ มดื มดิ เศรา้ น่ากลัว หนกั แนน่ 5.2.2 สแี ทถ้ กู ทา้ ใหเ้ ข้มขนึ โดยผสมสีด้า เรยี กวา่ สคี ลา้ (Shade) • สีขาว ให้ความรสู้ กึ บรสิ ทุ ธิ์ ผดุ ผอ่ ง วา่ งเปลา่ จืดชืด 5.3 ความจัด หรือความเข้มของสี (Intensity) หมายถึง ความสดหรอื ความบริสุทธิข์ อง • สแี สด ใหค้ วามร้สู ึก สดใส รอ้ นแรง เจิดจ้า มพี ลัง อา้ นาจ สีๆหนึ่ง ทมี่ ิไดถ้ ูกผสมใหส้ ีหม่นหรอื ออ่ นลง หากสนี นั อยูท่ า่ มกลางสีที่มีนา้ หนกั ตา่ งค่ากัน • สีเทา ใหค้ วามรู้สึก เศร้า เงียบขรมึ สงบ แก่ชรา จะเหน็ สภาพสีแท้สดใสมากขนึ เช่น วงกลมสแี ดง บนพืนสีนา้ เงนิ อมเทา • สนี า้ เงนิ ให้ความรสู้ กึ เงยี บขรึม สงบสุข จรงิ จงั มีสมาธิ • สนี า้ ตาล ให้ความรู้สกึ แหง้ แล้ง ไมส่ ดชนื่ น่าเบื่อ • สชี มพู ใหค้ วามรูส้ ึก ออ่ นหวาน เป็นผูห้ ญิง ประณีต รา่ เรงิ • สีทอง ใหค้ วามรู้สึก ม่งั คง่ั อดุ มสมบูรณ์ 5. คณุ ลักษณะของสี (Characteristics of Colours) ในงานศลิ ปะ สี นับเป็นองค์ประกอบพืนฐานท่มี ีความส้าคัญมาก โดยเฉพาะใน งานจิตรกรรม สถี ือเปน็ ปจั จัยส้าคัญ ที่ช่วยใหศ้ ลิ ปิน สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานได้ตาม เจตนารมณ์ ซ่งึ คณุ ลกั ษณะของสีในงานศลิ ปะทตี่ อ้ งน้ามาพจิ ารณามอี ยู่ 3 ประการ คือ 5.1 สแี ท้ (Hue) หมายถึง ความเปน็ สนี ันๆ ทมี่ ไิ ด้มีการผสมใหเ้ ขม้ ขนึ หรือจางลง สแี ท้ เป็นสใี นวงจรสี เช่น สแี ดง นา้ เงนิ เหลอื ง ส้ม เขียว มว่ ง ฯลฯ รปู ท่ี 3.6 ความจัดหรือความเข้มของสี

5.4 คา่ ความเปน็ สีกลาง (Neutral) หมายถึง การทา้ ให้สีแทท้ ี่มคี วามเข้มของสีนนั หมน่ ลง โดยการ 3.2 ทฤษฎีสี ผสมสตี รงขา้ ม เรียกวา่ การเบรกสี เชน่ สแี ดงผสมกับสีเขียว หรือผสมดว้ ยสที ่ีเป็นกลาง เชน่ สเี ทา 1.ความหมายของทฤษฎสี ี สีน้าตาลอ่อน สคี รีม และขาว เพ่ือลดความสดของสแี ท้ลง 6. หน้าทขี่ องสี สี (COLOUR) หมายถึง ลกั ษณะกระทบต่อสายตาให้เหน็ เป็นสีมผี ลถงึ จติ วิทยา สีมคี ณุ ประโยชนต์ อ่ โลก และ มนษุ ยเ์ รารูจ้ กั การใชส้ มี าชา้ นาน คือมีอา้ นาจให้เกิดความเข้มของแสงท่อี ารมณ์และความรสู้ กึ ได้ การทไี่ ดเ้ หน็ สจี ากสายตา 6.1 สีท่ีมีอยใู่ นธรรมชาติ เป็นปรากฏการณท์ ่ธี รรมชาติสรา้ งขนึ้ มาเพ่ือแสดงถึงความเป็นไป ของ สายตาจะสง่ ความรสู้ กึ ไปยงั สมองท้าให้เกิดความรู้สกึ ตา่ งๆตามอทิ ธิพลของสี เชน่ สดชื่น สิ่งท่ีมีอยบู่ นโลก ซง่ึ สีจะเป็นตวั บง่ บอก สิ่งตา่ งๆ ไดแ้ ก่ รอ้ น ต่ืนเต้น เศร้า สมี ีความหมายอยา่ งมากเพราะศลิ ปนิ ต้องการใชส้ ีเป็นสอ่ื สร้างความ ประทับใจในผลงานของศลิ ปะและสะท้อนความประทับใจนันใหบ้ งั เกิดแก่ผดู้ ูมนษุ ย์ - ความเปล่ยี นแปลง หรอื ววิ ฒั นาการ ของธรรมชาติ หรอื วตั ถธุ าตุ เม่ือกาลเวลาเปล่ยี นไป เกีย่ วขอ้ งกบั สีต่างๆ อยู่ตลอดเวลาเพราะทุกส่ิงทีอ่ ยู่รอบตัวนันลว้ นแต่มสี สี นั แตกต่างกัน สอี าจกลายสภาพจากสหี น่งึ ไปเป็นอีกสหี น่งึ เช่น การเปล่ยี นสขี องใบไม้ มากมาย สเี ปน็ ส่งิ ท่ีควรศกึ ษาเพ่อื ประโยชน์กับตนเองและ ผูส้ รา้ งงานจติ รกรรมเพราะ เร่อื งราวองสนี นั มหี ลักวิชาเป็นวิทยาศาสตร์จงึ ควรท้าความเข้าใจวิทยาศาสตร์ ของสจี ะ - ความแตกตา่ งของชนิด หรอื ประเภทของวตั ถธุ าตุ ไดแ้ ก่ สขี องอญั มณี เช่น แรไ่ พลินมีสี บรรลุผลสา้ เร็จในงานมากขึน ถา้ ไม่เขา้ ใจเรือ่ งสีดพี อสมควร ถา้ ได้ศึกษาเรื่องสีดพี อแลว้ นา้ เงิน แรม่ รกตมีสเี ขียว แรท่ บั ทมิ มีสีแดง เป็นตน้ งานศลิ ปะกจ็ ะประสบความสมบรู ณ์เป็นอยา่ งยิ่ง คาจากดั ความของสี - แบง่ แยกเผา่ พนั ธุข์ องสิง่ มีชีวิต ไดแ้ ก่ สีผิวของมนษุ ยท์ ่ตี า่ งกนั เช่น คนยโุ รปผิวขาว คน เอเซยี ผิวเหลือง และคนแอฟรกิ าผิวดา ดอกไม้ หรอื แมลงมสี ีหลากสี ขนึ้ อยกู่ บั ชนิดและเผา่ พนั ธุ์ 1. แสงท่มี ีความถีข่ องคล่ืนในขนาดท่ตี ามนุษยส์ ามารถรบั สมั ผัสได้ ของมนั 2. แมส่ ที ี่เป็นวัตถุ (PIGMENTARY PRIMARY) ประกอบดว้ ย แดง เหลอื ง นา้ เงิน 3. สีที่เกดิ จากการผสมของแม่สี 6.2 สีในงานศิลปะ ทาหนา้ ท่ี เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ท่ีทาใหง้ านศิลปะชิน้ นนั้ มคี ณุ คา่ ทาง คณุ ลกั ษณะของสี สนุ ทรยี ะ หนา้ ท่หี ลกั ของสีในงานศิลปะ คือ - สแี ท้ (HUE) คือ สีท่ยี ังไมถ่ ูกสีอนื่ เข้าผสม เปน็ ลกั ษณะของสีแท้ท่ีมีความสะอาด สดใส เช่น แดง เหลอื ง นา้ เงิน - ใหค้ วามแตกตา่ งระหวา่ งรูปกบั พนื้ หรอื รูปทรงกบั ท่ีวา่ ง - สอี อ่ นหรือสีจาง (TINT) ใช้เรยี กสแี ทท้ ถี่ ูกผสมดว้ ยสีขาว เช่น สีเทา, สีชมพู - ใหค้ วามรูส้ กึ เคลอื่ นไหวดว้ ยการนาสายตาของผดู้ บู รเิ วณท่สี ตี ดั กนั จะดงึ ดดู ความสนใจ - สีแก่ (SHADE) ใชเ้ รียกสีแท้ที่ถกู ผสมดว้ ยสีด้า เช่น สีนา้ ตาล - ใหค้ วามเป็นมติ แิ กร่ ูปทรง และภาพดว้ ยนา้ หนกั ของสที ่ีตา่ งกนั - ใหอ้ ารมณค์ วามรูส้ กึ ไดด้ ว้ ยตวั มนั เอง 6.3 ในดา้ นกายภาพ สีมกั นามาใชเ้ พ่ือสง่ ผลตอ่ อณุ หภมู ิ เช่น สดี า จะดดู ความรอ้ นไดม้ ากกวา่ สี ขาว และดา้ นความปลอดภยั สีท่ีสวา่ งจะชว่ ยในเรอ่ื งความปลอดภยั ไดด้ กี วา่ สมี ดื

ประวัตคิ วามเป็นมาของสี สที ี่มนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ หรือไดส้ ังเคราะหข์ นึ เชน่ สีวทิ ยาศาสตร์ มนุษย์ได้ทดลองจากแสง มนษุ ย์เร่ิมมกี ารใช้สีตังแต่สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ มที งั การเขียนสลี งบนผนงั ถ้า ผนังหิน บน ตา่ งๆ เชน่ ไฟฟา้ นา้ มาผสมโดยการทอแสงประสานกัน นา้ มาใชป้ ระโยชน์ในด้านการ ละคร การจัดฉากเวที โทรทัศน์ การตกแต่งสถานที่ พืนผวิ เครื่องปัน้ ดนิ เผา และที่อ่ืนๆภาพเขยี นสบี นผนังถา้ (ROCK PAINTING) เร่มิ ทา้ ตังแตส่ มัยกอ่ น ประวัติศาสตรใ์ นทวปี ยุโรป โดยคนกอ่ นสมัยประวัติศาสตรใ์ นสมัยหินเก่าตอนปลาย ภาพเขยี นสีท่มี ี แม่สี (PRIMARIES) สีต่างๆนนั มอี ยมู่ ากมายแหลง่ ก้าเนิดของสีและวธิ ีการผสมของสี ชื่อเสยี งในยคุ นพี บทป่ี ระเทศฝรัง่ เศสและประเทศสเปนในประเทศ ไทย กรมศลิ ปากรได้สา้ รวจพบ ตลอดจนรูส้ ึกท่มี ตี ่อสขี องมนุษย์แตล่ ะกล่มุ ย่อมไมเ่ หมอื นกัน สตี า่ งๆที่ปรากฎนันย่อม ภาพเขียนสีสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์บนผนังถา้ และ เพงิ หินในท่ตี ่างๆ จะมอี ายุระหว่าง 1500-4000 ปี เกิดขึนจากแมส่ ีในลักษณะท่ีแตกต่างกนั ตามชนิดและประเภทของสีนัน มอื ยู่ 2 ชนิด เป็นสมัยหินใหม่และยคุ โลหะไดค้ น้ พบตงั แต่ปี พ.ศ. 2465 ครังแรกพบบนผนงั ถ้าในอ่าวพังงา ตอ่ มาก็ คือ คน้ พบอีกซึง่ มอี ยู่ทว่ั ไป เชน่ จงั หวดั กาญจนบุรี อุทยั ธานี เปน็ ต้นสที ี่เขียนบนผนงั ถา้ ส่วนใหญ่เป็นสีแดง นอกนันจะมีสสี ม้ สีเลือดหมู สีเหลือง สีนา้ ตาล และสีดา้ สีบนเครอื่ งปนั้ ดนิ เผา ไดค้ ้นพบการเขียนลาย 1. แม่สีของแสง เกิดจากการหกั เหของแสงผ่านแทง่ แกว้ ปริซึม มี 3 สี คือ สี ครงั แรกท่บี ้านเชยี งจังหวดั อุดรธานเี มื่อปี พ.ศ.2510 สที เ่ี ขียนเป็นสแี ดงเปน็ รปู ลายก้านขดจติ กรรมฝา แดง สเี หลือง และสนี ้าเงิน อย่ใู นรปู ของแสงรงั สี ซงึ่ เปน็ พลงั งานชนดิ เดยี วทีม่ สี ี ผนังตามวดั ตา่ งๆสมัยสุโขทยั และอยุธยามีหลกั ฐานวา่ ใชส้ ใี นการเขียนภาพหลายสี แต่กอ็ ย่ใู นวงจา้ กดั คุณสมบตั ขิ องแสงสามารถนา้ มาใช้ ในการถา่ ยภาพ ภาพโทรทศั น์ การจดั แสงสีในการ เพียง 4 สี คือ สีดา้ สีขาว สีดินแดง และสีเหลืองในสมัยโบราณนนั ช่างเขยี นจะเอาวัตถุต่างๆใน แสดงต่าง ๆ เป็นต้น (ดเู รือ่ ง แสงสี ) ธรรมชาติมาใช้เป็นสีสา้ หรับเขยี นภาพ เช่น ดินหรือหนิ ขาวใชท้ า้ สขี าว สีดา้ ก็เอามาจากเขม่าไฟ หรอื จากตัวหมกึ จีน เปน็ ชาติแรกท่ีพยายามคน้ คว้าเรอื่ งสธี รรมชาติไดม้ ากกว่าชาติอ่ืนๆ คือ ใชห้ นิ น้ามาบด 2. แม่สวี ัตถุธาตุ เป็นสที ี่ไดม้ าจากธรรมชาติ และจากการสงั เคราะหโ์ ดย เป็นสตี า่ งๆ สีเหลอื งน้ามาจากยางไม้ รงหรือรงทอง สคี รามก็นา้ มาจากตน้ ไมส้ ว่ นใหญ่แลว้ การคน้ ควา้ กระบวนทางเคมี มี 3 สี คือ สแี ดง สีเหลอื ง และสีน้าเงนิ แม่สีวัตถธุ าตุเป็นแม่สีที่ เร่อื งสกี ็เพ่ือทจี่ ะนา้ มาใช้ ย้อมผ้าต่างๆ ไมน่ ยิ มเขียนภาพเพราะจีนมีคตใิ นการเขียนภาพเพยี งสีเดยี ว นา้ มาใชง้ านกันอยา่ งกว้างขวาง ในวงการศลิ ปะ วงการอุตสาหกรรม ฯลฯแมส่ วี ัตถุ คอื สดี า้ โดยใชห้ มกึ จีนเขียนสสี ามารถแยกออกเป็น 2 ประเภทคอื ธาตุ เม่อื น้ามาผสมกนั ตามหลักเกณฑ์ จะทา้ ใหเ้ กดิ วงจรสี ซ่ึงเปน็ วงสีธรรมชาติ เกิด จากการผสมกันของแม่สวี ตั ถุธาตุ เปน็ สีหลกั ท่ีใชง้ านกนั ทวั่ ไป ในวงจรสี จะแสดงส่งิ 1. สีธรรมชาติ ต่าง ๆ ดังตอ่ ไปนี 2. สีทมี่ นุษยส์ ร้างขึน สธี รรมชาติ เป็นสีทเี่ กดิ ขึนเองธรรมชาติ เชน่ สขี องแสงอาทติ ย์ สีของทอ้ งฟ้ายามเช้า เยน็ สีของรงุ้ กนิ นา้ เหตุการณ์ทเี่ กดิ ขึนเองธรรมชาติ ตลอดจนสีของ ดอกไม้ ต้นไม้ พืนดนิ ท้องฟ้า นา้ ทะเล

แมส่ ีวัตถธุ าตุ (PIGMENTARY RRIMARIES) แม่สวี ัตถุธาตุนันหมายถึง “วัตถทุ ่มี สี ีอยใู่ น สีแดง สเี หลอื ง สนี า้ เงิน ตัว” สามาน้ามาระบาย ทา ย้อม และผสมได้เพราะมเี นือสแี ละสีเหมอื นตัวเอง เรยี กอกี อยา่ งหนึง่ วา่ แม่สขี องช่างเขียนสีตา่ งๆจะเกิดขึนมาอกี มากมาย ดว้ ยการผสมของแม่สซี ึ่งมี รูปที่ 3.7 แม่สีปฐมภูมิ อยู่ดว้ ยกัน 3 สีคือ สีขันท่ี 2 แม่สที ุติยภูมิ (Secondary Hues) เปน็ การน้าเอาแมส่ ีมาผสมกันใน 1. น้าเงนิ (PRUSSIAN BLUE) ปริมาณเทา่ ๆ กัน จะได้สใี หมอ่ ีก 3 สี ดังนี 2. แดง (CRIMSON LEKE) 3. เหลอื ง (GAMBOGE TINT) สีแดง ผสมกับ สีเหลอื ง เป็น สีส้ม สแี ดง ผสมกบั สนี า้ เงิน เปน็ สมี ว่ ง สีแดง (CRIMSION LAKE) สะท้อนรงั สขี องสแี ดงออกมาแล้วดึงดดู เอาสนี ้าเงนิ กบั สเี หลอื ง สเี หลอื งผสมกบั สนี ้าเงนิ เปน็ สีเขียว ซงึ่ ตา่ งผสมกันในตัวแลว้ กลายเป็นสีเขียว อนั เปน็ คสู่ ีของสีแดง รปู ท่ี 3.8 แม่สีทุตยิ ภูมิ สีเหลือง (GAMBOGE YELLOW) สะทอ้ นรงั สีของสีเหลอื งออกมาแลว้ ดงึ ดดู เอาสีแดงกับสี น้าเงนิ ซงึ่ ผสมกนั ในตัวแล้วกลายเป็นสมี ่วง อันเป็นคสู่ ขี องสเี หลอื ง สนี ้าเงนิ (PRESSION BLUE) สะท้อนรังสขี องสีน้าเงินออกมาแล้วดงึ ดูดเอาสีแดงกบั สี เหลืองเขา้ มาแลว้ ผสมกันกจ็ ะกลายเปน็ สสี ้ม ซ่งึ เปน็ คสู่ ขี องสีนา้ เงิน การผสมสี วัตถธุ าตุ แม่สีวตั ถธุ าตุ แดง เหลือง และสีนา้ เงนิ นัน ผสมกนั แล้วเกดิ สขี นึ อกี หลายสแี มส่ วี ัตถุ ธาตุ (PIGMEMPAR Y PRIMARIES) หรือเรียกอีกอย่างหน่งึ วา่ สขี ันที่หน่ึง สีขันท่ี 1 แม่สีปฐมภมู ิ (Primary Color) ได้แก่

สขี นั ที่ 3 สตี ตยิ ภูมิ (Tertiary Hues) เกดิ จากน้าเอาแมส่ ีมาผสมกับสีขนั ที่ 2 โดยจะได้สใี หมเ่ พ่ิมอีก 6 2.วรรณะสเี ยน็ (COOL TONE) ประกอบด้วย สีเหลอื ง สีเขียวเหลอื ง สีเขียว สีเขียวนา้ สี ดังนี เงิน สีนา้ เงนิ สีม่วงนา้ เงนิ และสมี ่วง สว่ นสอี น่ื ๆ ถา้ หนกั ไปทางสนี ้าเงินและสีเขยี วกเ็ ป็นสี สแี ดง ผสม สมี ว่ ง เป็น สมี ่วงแดง วรรณะเย็นดังเช่น สีเทา สดี า้ สเี ขยี วแก่ เปน็ ต้น จะสังเกตไดว้ ่าสเี หลืองและสีมว่ งอยู่ทังวรรณะ สีแดง ผสม สสี ้ม เป็น สีสม้ แดง รอ้ นและวรรณะเย็น ถา้ อยูใ่ นกลุม่ สีวรรณะรอ้ นกใ็ ห้ความรสู ึกร้อนและถา้ อยใู่ นกลุ่มสีวรรณะ สีเหลือง ผสม สสี ้ม เปน็ สสี ้มเหลือง เยน็ ก็ใหค้ วามรสู้ กึ เยน็ ไปดว้ ย สเี หลืองและสีม่วงจงึ เปน็ สีได้ทงั วรรณะร้อนและวรรณะเยน็ สเี หลอื ง ผสม สเี ขียว เปน็ สเี ขยี วเหลือง สนี ้าเงิน ผสม สมี ่วง เป็น สมี ว่ งนา้ เงนิ สีนา้ เงิน ผสม สเี ขียว เปน็ สีเขียวน้าเงิน วรรณะของสี รูปท่ี 3.9 สตี ตยิ ภมู ิ รูปท่ี 3.10 วรรณะร้อนและวรรณะเย็น วรรณะของสี คอื สที ่ีให้ความรสู้ ึกร้อน-เยน็ ในวงจรสีจะมีสรี อ้ น 7 สี และสเี ย็น 7 4.3 ระบบสี โดยท่ัวไปสีในธรรมชาตแิ ละสีท่ีสร้างขึน จะมรี ปู แบบการมองเหน็ ของสีท่แี ตกตา่ งกัน ซง่ึ รูปแบบการ สี ซึง่ แบ่งที่ สมี ว่ งกบั สเี หลือง ซึง่ เปน็ ได้ทังสองวรรณะ แบง่ ออกเปน็ 2 วรรณะ มองเหน็ สี ท่ีใช้ในงานด้านกราฟิกทัว่ ไปนันมีอยดู่ ้วยกัน 4 ระบบ คือ 1.วรรณะสีรอ้ น (WARM TONE) ประกอบดว้ ยสเี หลือง สสี ้มเหลือง สสี ม้ สสี ม้ แดง สมี ว่ ง 1. ระบบสีแบบ RGB ตามหลกั การแสดงสีของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ 2. ระบบสีแบบ CMYK ตามหลกั การแสดงสีของเคร่อื งพิมพ์ แดงและสมี ว่ ง สีใน วรรณะรอ้ นนจี ะไม่ใช่สสี ดๆ ดังที่เห็นในวงจรสเี สมอไป เพราะสีในธรรมชาติย่อม 3. ระบบสแี บบ HSB ตามหลักการมองเหน็ สขี องสายตามนุษย์ 4. ระบบสีแบบ Lab ตามมาตรฐานของ CIE ซึ่งไม่ขนึ อยู่กบั อปุ กรณ์ใดๆ มีสีแตกต่างไปกวา่ สีในวงจรสีธรรมชาติอีกมาก ถ้าหากว่าสีใด คอ่ นขา้ งไปทางสแี ดงหรือสีสม้ เชน่ สี น้าตาลหรอื สเี ทาอมทอง กถ็ ือว่าเปน็ สีวรรณะรอ้ น

1. ระบบสแี บบ RGB 2.ระบบสแี บบ CMYK เปน็ ระบบสีทป่ี ระกอบด้วยแมส่ ี 3 สีคือ แดง (Red), เขียว (Green) และ นา้ เงิน (Blue) ในสดั สว่ น เป็นระบบสีท่ีใช้กบั เครื่องพมิ พท์ พี่ ิมพ์ออกทางกระดาษ ซง่ึ ประกอบด้วยสี ความเขม้ ข้นที่แตกตา่ งกนั เม่ือนา้ มาผสมกนั ทา้ ให้เกิดสตี ่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์ได้มากถึง 16.7 ลา้ น สี ซ่งึ ใกลเ้ คียงกบั สที ่ีตาเรามองเห็นได้โดยปกติ และจดุ ทส่ี ที งั สามสีรวมกนั จะกลายเป็นสขี าว นิยมเรียก พนื ฐาน คือ สฟี ้า (Cyan), สมี ว่ งแดง (Magenta), สเี หลอื ง (Yellow), และเม่อื นา้ สีทัง การผสมสแี บบนีว่าแบบ “Additive” หรอื การผสมสีแบบบวก ซง่ึ เป็นการผสมสีขนั ท่ี 1 หรอื ถ้าน้าเอา 3 สีมาผสมกันจะเกิดสีเป็น สดี ้า (Black) แต่จะไม่ดา้ สนิทเนอื่ งจากหมึกพิมพ์มีความ Red Green Blue มาผสมครงั ละ 2 สี ก็จะท้าให้เกิดสใี หม่ เชน่ ไม่บรสิ ุทธิ์ โดยเรียกการผสมสที งั 3 สขี ้างต้นวา่ “Subtractive Color” หรอื การ ผสมสีแบบลบ หลกั การเกดิ สขี องระบบนีคอื หมกึ สหี น่ึงจะดูดกลนื สจี ากสหี นึ่งแล้ว Blue + Green = Cyan สะทอ้ นกลบั ออกมาเป็นสตี ่างๆ เช่น สฟี ้าดูดกลืนสมี ่วงแลว้ สะทอ้ นออกมาเป็นสนี า้ เงนิ Red + Blue = Magenta ซึง่ จะสงั เกตได้ว่าสที ่สี ะท้อนออกมาจะเป็นสหี ลักของระบบ RGB การเกดิ สนี ีในระบบ Red + Green = Yellow นีจึงตรงขา้ มกับการเกิดสใี นระบบ RGB แสงสี RGB มกั จะถูกใช้สา้ หรับการส่องสวา่ งทงั บนจอทวี แี ละจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งสรา้ งจากการให้ ก้าเนิดแสงสแี ดง สเี ขียว และสีน้าเงิน ท้าให้สีดูสว่างกว่าความเปน็ จริง รูป 3.11 แสดงระบบสีแบบ RGB 3. ระบบสีแบบ HSB เป็นระบบสพี ืนฐานในการมองเหน็ สีด้วยสายตาของมนษุ ย์ ประกอบด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ คอื - Hue คอื สีตา่ งๆ ท่สี ะท้อนออกมาจากวัตถุเข้ามายงั ตาของเรา ท้าใหเ้ ราสามารถ มองเหน็ วัตถเุ ป็นสีต่างๆ ได้ ซึ่งแต่ละสจี ะแตกต่างกนั ตามความยาวของคล่ืนแสงทีม่ า กระทบวตั ถแุ ละสะท้อนกลบั ทีต่ าของเรา Hue ถูกวดั โดยต้าแหนง่ การแสดงสบี น Standard Color Wheel ซ่งึ ถูกแทนด้วยองศา 0 ถึง 360 องศา แต่โดยทว่ั ๆ ไปแลว้ มกั จะเรียกการแสดงสนี นั ๆ เปน็ ชือ่ ของสเี ลย เชน่ สีแดง สีม่วง สีเหลือง

- Saturation คือ ความสดของสี โดยค่าความสดของสจี ะเรม่ิ ที่ 0 ถึง 100 ถา้ กา้ หนด รปู 3.13 แสดงระบบสีแบบ Lab Saturation ท่ี 0 สจี ะมีความสดน้อย แตถ่ ้าก้าหนดท่ี 100 สจี ะมีความสดมาก ถ้าถูกวดั โดย ตา้ แหนง่ บน Standard Color Wheel คา่ Saturation จะเพ่ิมขึนจากจุดกึง่ กลางจนถงึ เส้น 4. ระบบสแี บบ Lab ขอบ โดยค่าทเ่ี สน้ ขอบจะมสี ที ่ชี ัดเจนและอ่มิ ตัวทสี่ ุด ระบบสแี บบ Lab เปน็ คา่ สที ่ถี ูกก้าหนดขนึ โดย CIE (Commission - Brightness คือ ระดบั ความสวา่ งและความมืดของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเร่มิ ท่ี 0 Internationale d’ Eclarirage) เพอ่ื ให้เป็นสีมาตรฐานกลางของการวัดสที กุ รูปแบบ ถึง 100 ถ้ากา้ หนดที่ 0 ความสว่างจะน้อยซงึ่ จะเปน็ สีด้า แต่ถ้ากา้ หนดท่ี 100 สีจะมคี วาม ครอบคลุมทกุ สีใน RGB และ CMYK และใช้ไดก้ ับสีที่เกิดจากอปุ กรณท์ ุกอย่างไมว่ ่า สวา่ งมากท่ีสุด ย่ิงมคี ่า Brightness มากจะท้าใหส้ ีนันสว่างมากขึน จะเปน็ จอคอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งพมิ พ์ เคร่อื งสแกนและอื่นๆ ส่วนประกอบของโหมดสนี ี ได้แก่ รูป 3.12 แสดงระบบสีแบบ HSB L หรือ Luminance เปน็ การกา้ หนดความสว่างซ่งึ มคี ่าตงั แต่ 0 ถึง 100 ถา้ ก้าหนดที่ 0 จะกลายเป็นสดี า้ แต่ถ้าก้าหนดที่ 100 จะกลายเปน็ สขี าว A เป็นคา่ ของสที ีไ่ ลจ่ ากสเี ขียวไปสแี ดง B เปน็ คา่ ของสีท่ีไล่จากสีนา้ เงินไปสีเหลอื ง

ในการออกแบบ และสรา้ งงานกราฟิกบนคอมพิวเตอร์ ควรเรมิ่ ตน้ จากการเรียนรู้จกั กับ 4.2 คอมพวิ เตอร์ประมวลผลภาพอยา่ งไร ชนิดของภาพกราฟิก และโปรแกรมทใ่ี ชส้ ้าหรบั งานกราฟิก ซงึ่ illustrator CS4 เป็น ภาพในคอมพิวเตอร์นัน มีวธิ ีการประมวลผลภาพ 2 แบบแตกตา่ งกันไป โปรแกรมหน่ึงท่ไี ดร้ บั ความนิยมจากนกั ออกแบบในการสร้างงานกราฟกิ ต่างๆ ดงั นันจึงต้อง มีการเรยี นรู้ในเรื่องโปรแกรม illustrator CS4 ตลอดจนการจัดเตรยี มเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ตามแตล่ ะโปรแกรมดังนี คอื และติดตงั โปรแกรมสา้ หรบั สร้างกราฟกิ 1. การเก็บ และประมวลผลภาพแบบเวกเตอร์ (Vector) 4.1 ความสาคัญของภาพกราฟิก เป็นการประมวลผลแบบอาศยั การค้านวณทางคณิตศาสตร์ โดยมีสแี ละต้าแหนง่ ของสี ทีแ่ นน่ อน ฉะนนั ไม่ว่าเราจะมกี ารเคลือ่ นย้ายทหี่ รอื ย่อขยายขนาดของภาพ ภาพก็จะ ภาพกราฟกิ เป็นภาพที่ถกู ตกแตง่ ขนึ เพอ่ื แทนความหมายท่ีจะสื่อไปถึงผชู้ มได้รับรู้ ไมเ่ สียรูปทรงในเชิงเรขาคณิต และความละเอียดของภาพจะไม่ลดลงดว้ ย จึงท้าให้ ในสิ่งท่เี ราต้องการ ซึง่ สื่อต่างๆ ไดแ้ ก่ ข้อมลู ข่าวสาร โฆษณา กลอ่ งสนิ ค้า งานพรเี ซนเตช่ัน ภาพยังคงคมชดั เหมือนเดมิ แม้ขนาดของภาพจะเปล่ียนแปลงใหญข่ นึ หรือเล็กลงก็ และเว็บไซตล์ ว้ นแตต่ ้องใช้ภาพกราฟิกมาเป็นสว่ นประกอบทงั สนิ ตาม แต่มีข้อเสียทไ่ี มส่ ามารถใช้เอฟเฟคต์ในการปรับแตง่ ภาพไดเ้ หมือนกับภาพแบบ Bitmap การประมวลผลภาพลกั ษณะนี ได้แกภ่ าพ .AI, .DRW โปรแกรมท่ปี ระมวลผล แบบเวกเตอร์ ไดแ้ ก่ Illustrator และ CorelDraw เปน็ ต้น รปู ที่ 4.2 ตัวอย่างของภาพโลโก้ รูปท่ี 4.1 ตวั อยา่ งกราฟิกปกสินคา้ หนงั สอื

2. การเก็บ และประมวลผลภาพแบบบิตแมพ (Bitmap) 4.3 โปรแกรม Illustrator คอื อะไร เปน็ การประมวลแบบอาศัยการอ่านคา่ สใี นแต่ละพิกเซล มชี ือ่ เรียกอีกอย่างหน่งึ ว่า Illustrator เป็นโปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการวาดภาพที่มลี ักษณะเป็นลายเส้น หรือเวกเตอร์ Bitmap จะเกบ็ ข้อมูลเป็นคา่ 0 และ 1 แต่ละพิกเซลจะมีการเกบ็ ค่าสีท่เี จาะจงในแต่ และยงั สามารถรวมภาพกราฟิกทังแบบเวกเตอรแ์ ละแบบบติ แมพเข้าดว้ ยกัน ให้เปน็ ละต้าแหน่ง ซงึ่ เหมาะกับภาพทีม่ ลี กั ษณะแบบภาพถ่าย การใสเ่ ทคนคิ พิเศษ และการ งานกราฟกิ ท่ีมีทังภาพเปน็ เสน้ ที่คมชดั และมีเอฟเฟ็กต์สีสันสวยงาม รีทชั ภาพทมี่ อี ย่แู ลว้ โปรแกรมทป่ี ระมวลผลแบบบติ แมพ ไดแ้ ก่ Photoshop และ PhotoPaint เปน็ ตน้ Illustrator ทาอะไรได้บา้ ง Illustrator ใหเ้ ราสามารถสร้างภาพโดยเรม่ิ จากหน้ากระดาษเปลา่ เหมือนจติ รกรท่ี รูปที่ 4.3 เทคนิคการซ้อนภาพ เขียนภาพลงบนผนื ผา้ ใบ โดยใน Illustrator จะมที ังปากกา พู่กนั ดินสอ และอปุ กรณ์ การวาดภาพอนื่ ๆ ซ่งึ ทงั หมดนเี ป็นการท้าบนเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ซึง่ เราสามารถ :: ภาพเปรียบเทยี บการแสดงผลแบบเวกเตอร์ และแบบบิตแมพ นา้ มาใช้งานได้หลากหลายรปู แบบ อาทิ งานสง่ิ พิมพ์ ไมว่ า่ เปน็ งานโฆษณา โบรช์ ัว นามบตั ร หนังสือหรือนิตยสาร เรยี กไดว้ ่างานสงิ่ พิมพ์ แทบทุกชนิดทตี่ อ้ งการความคมชัด รปู ท่ี 4.4 เปรยี บเทียบการแสดงผลแบบ เวกเตอร์ และแบบบิตแมพ รปู ท่ี 4.5 งานสื่อสง่ิ พิมพ์ประเภทหนังสอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook