Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20..

20..

Published by leismwngb, 2017-07-25 05:14:37

Description: 20..

Search

Read the Text Version

มลั ติมิเตอร์ เรียบเรียงโดย นาย เบญจพล เลศิ มว่ ง สาขาวชิ าไฟฟ้ ากาลงั วทิ ยาลยั เทคนคิ สโุ ขทยั

การใชง้ านมลั ตมิ เิ ตอร(์ Multimeter)เบอ้ื งตน้โดย เจา้ ของรา้ น Google+เมอ่ื 2 ปีทผ่ี า่ นมา อนาลอคมลั ตมิ เิ ตอร(์ Multimeter) มลั ตมิ ิเตอร์(Multimeter) เกิดจากคา 2 คาผสมกนั นนั่ คอื Multi ซ่ึงแปลวา่ หลากหลาย มากมาย ส่วน Meter หมายถงึ เคร่ืองวดั เมื่อนาสองคามารวมกนั คือ เคร่ืองมือวดั ทางไฟฟ้ า ซ่ึงสามารถวดั ไดห้ ลายคา่ เช่น ค่าแรงดนั (Voltage) คา่ กระแส (Current) คา่ ความตา้ นทาน(Resistance) บางรุ่นสามารถวดั frequency,คา่ Diod หรือคา่ อื่นๆภายในเครื่องเดียวไดด้ ว้ ย การแสดงผลของมลั ติมิเตอร์แบ่งออกเป็น 2 แบบ คอื มลั ตมิ ิเตอร์แบบเขม็ (Analog Multimeters) กบั มลั ติมิเตอร์แบบตวั เลข(DigitalMultimeters) เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั การทดลองเรื่องน้นั ๆ ซ่ึงมลั ตมิ ิเตอร์แตล่ ะเคร่ืองจะมีรายละเอียดปลกี ยอ่ ยและขอ้ ควรระมดั ระวงั ในการใชง้ านแตกต่างกนัไปในบทความน้ีจะกล่าวถึงการใชง้ านของ มลั ตมิ ิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) มลั ตมิ ิเตอร์แบบเขม็ (analog multimeter, AMM) เป็นเคร่ืองมือวดั ปริมาณทางไฟฟ้ าหลายประเภทรวมอยใู่ นเครื่องเดียวกนั โดยทวั่ ไปแลว้ มลัตมิ ิเตอร์จะสามารถใชว้ ดั ปริมาณตอ่ ไปน้ี- ความตา่ งศกั ยก์ ระแสตรง (DC voltage)- ความตา่ งศกั ยก์ ระแสสลบั (AC voltage)- ปริมาณกระแสตรง (DC current)- ความตา้ นทานไฟฟ้ า (electrical resistance) อยา่ งไรกต็ ามมลั ติมิเตอร์บางแบบสามารถใชว้ ดั ปริมาณอื่น ๆ ไดอ้ ีก เช่น กาลงั ออกของสัญญาณความถี่เสียง(AF output) การขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (DC current amplification, hFE) กระแสรั่วของทรานซิสเตอร์ (leakagecurrent, lCEO) ความจุทางไฟฟ้ า (capacitance) ฯลฯมลั ตมิ ิเตอร์แบบเขม็ มีลกั ษณะดงั ภาพขา้ งล่าง

หมายเลข 1 indicator Zero Conector มหี นา้ ทตี่ งั้ คา่ เข็มใหอ้ ยตู่ าแหน่ง 0 หรอื ตาแหน่งอน่ื ๆทต่ี อ้ งการหมายเลข 2 Indicator Pointer หรือ เขม็ ช้ีบง่ มีหนา้ ท่ีช้ีบง่ ปริมาณต่างๆหมายเลข 3 Indicator Scale สเกลต่างที่อยบู่ นหนา้ ปัดของมิเตอร์หมายเลข 4 Continuity Indicating LED ( CONTINUITY ) เป็นหลอด Led ที่เปลง่ แสงบ่งบอกความต่อเนื่องหมายเลข 5 Range Selector Switch knob ลกู บิดปรับเลือกคา่ ท่ีตอ้ งการวดัหมายเลข 6 0-ohms adjusting knob /0- centering meter ป่ ุมปรับต้งั คา่ ความตา้ นทานใหอ้ ยตู่ าแหน่ง 0 หรือตาแหน่งท่ีตอ้ งการหมายเลข 7 Measuring Terminal + เทอร์มินอลไฟบวกหมายเลข 8 Measuring - COM เทอร์มินอลไฟลบ หรือ commonหมายเลข 9 Series Terminal Capacitor OUTPUT ใชว้ ดั คา่ แรงดนั กระแสสลบัหมายเลข 10 Panel หรือ หนา้ ปัดมิเตอร์หมายเลข 11 Rear Case หรือ กรอบมิเตอร์

1.) Resistance (OHMS) scale หรือ สเกลวดั ความตา้ นทานมีหน่วยเป็น โอหม์2.) สเกลกระแสและแรงดนั ท้งั AC และ DC3.) 0-centerig (NULL) +/- DCV scale4.) สเกลวดั แรงดนั AC 2.5 volt.5.) สเกลวดั การขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (hFE) มีสีน้าเงิน6.) สเกลสาหรับทดสอบแบตเตอร์ร่ี 1.5 V 0.25A.7.) สเกลวดั กระแสรั่วของทรานซิสเตอร์ (LEAK, I ,CEO Ll) มีสีน้าเงิน8.) สเกลวดั ความต่างศกั ยร์ ะหวา่ งปลายขณะวดั ความตา้ นทาน (LV) มีสีน้าเงิน9.) สเกลวดั กาลงั ออกของสญั ญาณความถ่ีเสียง (dB) มีสีแดง10.) Continuity Indicating LED ( CONTINUITY ) เป็นหลอด Led ที่เปล่งแสงบ่งบอกความต่อเน่ือง11.คือกระจกเงาเพอื่ ทาใหก้ ารอ่านค่าบนสเกลท่ีแสดงดว้ ยเขม็ ช้ีของมิเตอร์ถูกตอ้ ง ที่สุด การอา่ นคา่ ที่ถูกตอ้ งคือตาแหน่งที่เขม็ ช้ีของมิเตอร์จริงกบั ตาแหน่งเขม็ ช้ี ของมิเตอร์ในกระจกเงาซอ้ นกนั พอดีการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ ากระแสตรงปรับมลั ติมิเตอร์ใหเ้ ป็นโวลทม์ ิเตอร์ก่อน โดยหมนุ สวิทชบ์ นตวั มิเตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการวดั ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ ากระแสตรง (DCV) (หมายเลขอา้ งอิง 7) ซ่ึงมี 7 ช่วงการวดั คือ 0-0.1V, 0-0.5V, 0.2.5V, 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V

หลกั การนามลั ติมิเตอร์ SUNWA ไปใชใ้ นการวดั ความต่างศกั ย์1.เลือกตาแหน่งที่ตอ้ งการวดั ความต่างศกั ย์ และตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ า2. เสียบสายวดั มิเตอร์สีดาที่ข้วั ลบ(- COM) และสายวดั สีแดงที่ข้วั บวก(+)เขา้ กบั มลั ตมิ ิเตอร์3. ต้งั ช่วงการวดั ใหส้ ูงกวา่ ความต่างศกั ยข์ องบริเวณน้นั โดยหมุนสวิทชบ์ นตวั มิเตอร์ ไปท่ี ตาแหน่งช่วงการวดั ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้ ากระแสตรง(DCV)4. นาสายวดั มิเตอร์ไปตอ่ ขนานหรือต่อคร่อมวงจร โดยใชห้ วั วดั แตะกบั จุดท่ีตอ้ งการวดั และตอ้ งใหก้ ระแสไฟฟ้ าไหลเขา้ ทางข้วั บวก (+) ของมลั ติมิเตอร์สมอ ถา้ วดั สลบั ข้วั เขม็ วดั จะตีกลบั ตอ้ งรีบเอาสายวดั มิเตอร์ออกจากวงจรทนั ที จากน้นั ทาการสลบั หวั วดั ใหถ้ กู ตอ้ ง5. การอา่ นคา่ ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า ใหอ้ า่ นสเกลสดี าทอ่ี ยใู่ ตแ้ ถบเงนิ ซงึ่ มคี า่ ระบอุ ยใู่ ตส้ เกล 3 ชว่ ง คอื 0-10,0-50 และ 0-250 คา่ ทอี่ า่ นไดต้ อ้ งสมั พันธก์ บั ชว่ งการวดั ทต่ี งั้ ไว ้การวดั ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้ ากระแสสลบัการวดั ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั ไมจ่ าเป็ นตอ้ งใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นทางขวั้ บวกเหมอื นไฟฟ้ากระแสตรง เพราะไฟฟ้ากระแสสลบั ไมม่ ขี วั้ ตายตวั ขวั้ แรงดนั จะสลับไปสลบั มาตลอดเวลา กลา่ วคอื สามารถตอ่ โดยใหส้ ายวดั เสน้ ใดอยขู่ า้ งใดก็ได ้ แตว่ ธิ วี ัดคา่ ยังใชห้ ลกั การเดยี วกนั กบั โวลตม์ เิ ตอรก์ ระแสตรงกอ่ นทจี่ ะนามลั ติมิเตอร์ไปวดั คา่ ตอ้ งทาการปรับมลั ตมิ ิเตอร์ใหเ้ ป็ นโวลทม์ เิ ตอรก์ ระแสสลับกอ่ น จากนัน้ เลอื กชว่ งการวดั ใหเ้ หมาะสม โดยหมนุ สวทิ ชบ์ นตวั มเิ ตอร์ ไปทตี่ าแหน่งชว่ งการวดั ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้ากระแสตรง (ACV) (หมายเลขอา้ งองิ 10) ซง่ึ มี 4 ชว่ งการวดั คอื 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V

การวดั กระแสไฟฟ้ ากระแสตรง1. เลอื กตาแหน่งทต่ี อ้ งการวัดกระแสไฟฟ้า และตรวจสอบทศิ ทางการไหลของกระแสไฟฟ้า2. เสยี บสายวดั มเิ ตอรส์ ดี าทข่ี วั้ ลบ (- COM) และสายวดั สแี ดงทขี่ วั้ บวก (+) เขา้ กบั มลั ตมิ ิเตอร์3. ตัง้ ชว่ งการวัดทเ่ี หมาะสม ในกรณีทที่ ราบคา่ กระแสในวงจร ควรตงั้ ชว่ งการวัดใหส้ งู กวา่ คา่ กระแสทท่ี ราบแตใ่ นกรณีทไี่ มท่ ราบคา่ กระแสในวงจร ควรตงั้ ชว่ งการวัดทส่ี งู ๆ (0-0.25A) ไวก้ อ่ น แลว้ คอ่ ยปรับชว่ งการวดัใหม่ กอ่ นปรับชว่ งการวดั ใหมต่ อ้ งเอาสายวัดออกจากวงจรทกุ ครัง้ และตอ้ งแน่ใจวา่ คา่ ทจี่ ะวัดไดน้ ัน้ มคี า่ ไม่เกนิ ชว่ งการวดั ทปี่ รับตงั้ ใหม่4. นาสายวัดมเิ ตอรไ์ ปตอ่ แทรกหรอื ตอ่ แบบอนุกรม โดยใชห้ ัววดั แตะบรเิ วณทต่ี อ้ งการวดั และตอ้ งให ้กระแสไฟฟ้าไหลเขา้ ทางขัว้ บวกของมลั ตมิ ิเตอร์ หากเข็มวดั ตเี กนิ สเกลตอ้ งรบี เอาสายวัดมเิ ตอรอ์ อกจากวงจรทันที แลว้ เลอื กชว่ งการวดั ทส่ี งู ขนึ้ จากนัน้ ทาการวดั คา่ ใหม่5. อา่ นคา่ กระแสไฟฟ้าทไี่ หลในวงจร ซง่ึ การอา่ นตอ้ งสมั พนั ธก์ บั ชว่ งทต่ี ัง้ ไว ้

Digital multimeter คอื อปุ กรณท์ ใ่ี ชว้ ดั คา่ พารามเิ ตอรท์ างไฟฟ้า อาทเิ ชน่ แรงดนั กระแส กาลงังานไฟฟ้าจรงิ กาลงั งานไฟฟ้ารแี อคตฟี กาลงั ไฟฟ้าปรากฏ ตวั ประกอบกาลงั ฮารโ์ มนคิ คา่ พลงั งานไฟฟ้า เป็ นตน้ Digital Multimeter เป็ นมลั ติมิเตอร์อกี ชนดิ หนง่ึ ทพี่ ัฒนาขน้ึ มาจากเทคโนโลยีทางดา้ นอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละดา้ นดจิ ติ อล โดยการรวมเอาดจิ ติ อลโวลตม์ เิ ตอร์ (DigitalVoltmeter) ดจิ ติ อลแอมมเิ ตอร์ (Digital Ammeter) และดจิ ติ อลโอหม์ มเิ ตอร์ (DigitalOhmmeter) เขา้ ดว้ ยกนั ใชก้ ารแสดงผลการวดั คา่ ดว้ ยตวั เลข ชว่ ยใหก้ ารวดั คา่ และการอา่ นคา่ มคี วามถกู ตอ้ งมากขนึ้ และยังชว่ ยลดความผดิ พลาดทเ่ี กดิ จากการอา่ นคา่ได ้ เกดิ ความสะดวกในการใชง้ าน Digital Multimeterสามารถวดั ปรมิ าณทางไฟฟ้าไดห้ ลายประเภทเชน่ เดยี วกบั มลั ตมิ ิเตอร์แบบเข็ม นอกจากนยี้ งั สามารถวดั ปรมิ าณกระแสสลับ วดั การขยายกระแสตรงของทรานซสิ เตอร์ วดั ความจไุ ฟฟ้าและตรวจสอบไดโอดไดอ้ กี ดว้ ยDigital Multimeterเป็ นมลั ตมิ ิเตอร์ทส่ี ามารถวดั คา่ ปรมิ าณไฟฟ้าไดห้ ลายชนดิเชน่ เดยี วกบั มลั ตมิ ิเตอร์ชนดิ เขม็ ชี้ เชน่ วดั แรงดนั ไฟตรง (DCV) แรงดันไฟสลบั(ACV) กระแสไฟตรง (DCA) กระแสไฟสลับ (ACA) และความตา้ นทาน ( ) เป็ นตน้นอกจากนใี้ นดจิ ติ อลมลั ตมิ ิเตอร์บางรนุ่ ยงั มคี วามสามารถเพม่ิ มากขน้ึ ไปอกี สามารถวดั คา่ปรมิ าณไฟฟ้าอน่ื ๆ นอกเหนอื จากคา่ ปกตไิ ด ้ เชน่ วัดการตอ่ วงจรแสดงดว้ ยเสยี งได ้วดั อณุ หภมู ไิ ด ้ วดั ความถไี่ ด ้ วดั คา่ ความจขุ องตวั เก็บประจไุ ด ้ วดั อัตราขยายของทรานซสิ เตอร์ (hFE) ได ้ และวดั ขาทรานซสิ เตอรไ์ ด ้ เป็ นตน้ Digital Multimeterแบบยา่ นวดั อตั โนมตั ิ ดจิ ติ อลมลั ตมิ ิเตอร์แบบยา่ นวัดอตั โนมัติ ปรมิ าณไฟฟ้าแตล่ ะชนดิ ทจ่ี ะวดั คา่ มยี า่ นตงั้วดั เพยี งยา่ นเดยี ว สามารถใชว้ ดั ปรมิ าณไฟฟ้าตัง้ แตค่ า่ ตา่ ๆ ไปจนถงึ คา่ สงู สดุ ทเ่ี ครอื่ ง

สามารถแสดงคา่ ออกมาได ้ ใชง้ านไดง้ า่ ยและสะดวกรวดเร็ว รปู รา่ งและสว่ นประกอบของดจิ ติ อลมลั ตมิ ิเตอร์แบบยา่ นวดั อตั โนมตั แิ บบหนงึ่ Digital Multimeterแบบยา่ นวดั ปรบั ดว้ ยมอื ดจิ ติ อลมลั ตมิ ิเตอร์แบบยา่ นวัดปรบั ดว้ ยมอื ผใู ้ ชด้ จิ ติ อลมลั ติมเิ ตอร์จะตอ้ งเป็ นผปู ้ รับเลอื กยา่ นวดั ใหเ้ หมาะสมกบั คา่ ปรมิ าณไฟฟ้าทว่ี ดั หากปรับคา่ ไมถ่ กู ตอ้ งดจิ ติ อลมลั ตมิ ิเตอร์จะไม่สามารถแสดงคา่ การวดั ออกมาได ้ การใชง้ านคลา้ ยมลั ตมิ ิเตอร์แบบเขม็ แตกตา่ งเพยี งดจิ ติ อลมลั ตมิ ิเตอร์เมอื่ วดั คา่ สามารถแสดงคา่ ปรมิ าณไฟฟ้าทวี่ ดั ไดเ้ ป็ นตัวเลขออกมาเลยรปู รา่ งและสว่ นประกอบของดจิ ติ อลมลั ติมิเตอร์แบบยา่ นวดั ปรบั ดว้ ยมอื แบบหนงึ่ สว่ นประกอบของ Digital Multimeter 1. หนา้ จอแสดงผล โดยจะแสดงผลเป็ นตวั เลข 2. ป่ มุ ปรบั คา่ ตา่ งๆ เชน่ เลอื กตาแหน่งจดุ ทศนยิ ม เป็ นตน้ 3. สญั ลักษณแ์ สดงชว่ งการวดั แตล่ ะชว่ ง 4. ป่ มุ ตัง้ ชว่ งการวดั 5. ชอ่ งสาหรับเสยี บสายวดั สาหรับวัดความตา่ งศกั ย์ (V) ทงั้ ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลบั , ความตา้ นทาน() 6. ชอ่ งสาหรับเสยี บสายวดั Output 7. ชอ่ งสาหรบั เสยี บสายวดั กระแส ในหน่วย mA และ A ทัง้ ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลบั 8. ชอ่ งเสยี บสายวดั สาหรับวดั กระแสไฟฟ้าสลับสงู สดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook