1
2
วงปี่ พาทย์ เป็นการประสมวงที่มีเคร่ืองเป่ าและเคร่ืองตี ประกอบกนั ตามหลกั ฐานสมยั สุโขทยั ปรากฏ “วงปี่ พาทยเ์ คร่ืองหา้ ” ข้ึนมาก่อน 3
๑. วงปี่ พาทย์เครื่องห้า สมยั อยธุ ยา มีการเพ่ิมระนาดเอกในวงป่ี พาทยเ์ ครื่องหา้ ทาใหว้ งป่ี พาทยเ์ คร่ืองหา้ ประกอบไปดว้ ย ๑. ป่ี ใน ๒. ฉิ่ง ๓. ฆอ้ งวงใหญ่ ๔. ตะโพน ๕. กลองทดั ๖. ระนาดเอก ดงั รูป 4
๒. วงป่ี พาทย์เครื่องคู่ • สมยั รัชกาลที่ ๑ เพ่มิ กลองทดั อีก ๑ ลูก • สมยั รัชกาลที่ ๒ เพ่มิ กลองสองหนา้ • สมยั รัชกาลที่ ๓ มีการสร้างระนาดทุม้ และเพิม่ ฆอ้ งวงเลก็ ในวงปี่ พาทยเ์ ครื่องหา้ ทาใหเ้ กิดเป็น “วงปี่ พาทย์เคร่ืองคู่” 5
วงปี่ พาทย์เคร่ืองคู่ ประกอบดว้ ย ๑. ปี่ ใน ๒. ปี่ นอก ๓.ระนาดเอก ๔. ระนาดทุม้ ๕. ฆอ้ งวงใหญ่ ๖. ฆอ้ งวงเลก็ ๗. ตะโพน ๘. กลองทดั ๙.ฉิ่ง ๑๐.โหม่ง ดงั รูป 6
๓. วงป่ี พาทย์เครื่องใหญ่ สมยั รัชกาลที่ ๔ มีการสร้างระนาดเอกเหลก็ และ ระนาดทุม้ เหลก็ เพิม่ ในวงปี่ พาทยเ์ คร่ืองคู่ จึงเกิดเป็น “วงปี่ พาทย์เครื่องใหญ่” ข้ึน 7
วงปี่ พาทย์เคร่ืองใหญ่ ประกอบดว้ ย ๑. ปี่ ใน ๒. ป่ี นอก ๓. ระนาดเอก ๔. ระนาดทุม้ ๕. ระนาดเอกเหลก็ ๖. ระนาดทุม้ เหลก็ ๗. ฆอ้ งวงใหญ่ ๘. ฆอ้ งวงเลก็ ๙. ตะโพน ๑๐. ฉ่ิง ๑๑. กลองทดั ๑๒. โหม่ง ๑๓. ฉาบเลก็ ๑๔.ฉาบใหญ่ ดงั รูป 8
9
วงเคร่ืองสาย มีหลกั ฐานปรากฏในสมยั อยธุ ยา เครื่องดนตรีหลกั คือ ซอดว้ ง ซออู้ จะเข้ ขลุย่ ส่วนเครื่องดนตรีท่ีใชป้ ระกอบจงั หวะ ไดแ้ ก่ ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง ทบั (โทน) และ รามะนา วงเครื่องสาย เป็นวงดนตรีของชาวบา้ นที่ ร้องเลน่ กนั ทว่ั ไป จึงไม่มีแบบแผนการผสมวง และการบรรเลงมากนกั 10
จนสมยั รัตนโกสินทร์จึงไดน้ า แบบอยา่ งการผสมวงมโหรีของราชสานกั มาปรับใชผ้ สมวงเคร่ืองสาย จนกลายมาเป็น วงเครื่องสายแบบต่าง ๆในปัจจุบนั วงเคร่ืองสาย มกั จะใชบ้ รรเลงในงาน มงคลทวั่ ไป เช่น งานเล้ียงสังสรรค์ ทาบุญ ข้ึนบา้ นใหม่ เป็นตน้ 11
๑. วงเครื่องสายเครื่องเดย่ี ว วงเคร่ืองสายเคร่ืองเดยี่ ว ประกอบดว้ ย ๑. ซอดว้ ง ๒. ซออู้ ๓. จะเข้ ๔. ขลุ่ยเพียงออ ๕. โทน ๖. รามะนา ๗. ฉ่ิง 12
๒. วงเคร่ืองสายเคร่ืองคู่ วงเคร่ืองสายเครื่องคู่ ประกอบดว้ ย ๑. ซอดว้ ง ๒ คนั (ซอดว้ งหลิบ ๑ คนั ) ๒. ซออู้ ๒ คนั (ซออูห้ ลิบ ๑ คนั ) ๓. จะเข้ ๒ ตวั (จะเขห้ ลิบ ๑ ตวั ) ๔. ขลุ่ยเพยี งออ ๕. ขลุ่ยหลิบ ๖. โทน รามะนา ๗. ฉิ่ง ๘. โหม่ง ๙. ฉาบเลก็ 13
นอกจากน้ี ยงั มี “วงเคร่ืองสายป่ี ชวา” ท่ีใชป้ ่ี ชวาแทนขลุย่ และ “วงเครื่องสายผสม” ที่ใชเ้ คร่ืองสายไทยผสมกบั เคร่ืองดนตรี ของตา่ งชาติ เช่น ออร์แกน เปี ยโน ไวโอลิน ขิม เป็นตน้ 14
15
วงมโหรี วงมโหรี เกิดข้ึนในสมยั อยธุ ยา เกิดจากการ พฒั นาวงขบั ไมก้ บั การบรรเลงพิณมารวมกนั แลว้ เปลี่ยนคนขบั ลานามาเป็นคนร้อง พร้อมกบั การตี กรับพวง และเปล่ียนจากบณั เฑาะวเ์ ป็นโทน แลว้ เรียกวา่ “วงมโหรีเครื่องส่ี” ดงั รูปภาพตอ่ ไปน้ี 16
วงมโหรีเคร่ืองส่ี 17
วงมโหรีเครื่องหก ภายหลงั จึงเพ่ิมรามะนาและขลุ่ยผสมวงดว้ ยเรียกวา่ “วงมโหรีเครื่องหก” วงมโหรีใชบ้ รรเลงขบั กล่อมเจา้ นาย ในราชสานกั โบราณ ดงั รูปภาพต่อไปน้ี 18
ตอ่ มาเม่ือมีการประดิษฐเ์ ครื่องดนตรีใหม่ ๆ ข้ึน เช่น ระนาดเอก ระนาดทุม้ ฆอ้ งวง กน็ ามาผสมในวงมโหรีดว้ ย นอกจากน้ียงั นาวงเครื่องสายเขา้ มาผสมวงดว้ ย วงมโหรีจึงเป็นวงท่ีมีเคร่ืองดนตรีครบทุกชนิด ท้งั ดีด สี ตี เป่ า 19
๑. วงมโหรีเครื่องเดย่ี ว วงมโหรีเครื่องเดยี่ ว ประกอบดว้ ย ๑. ซอสามสาย ๒. ระนาดเอก ๓. ฆอ้ งวง ๔. ซอดว้ ง ๕. ซออู้ ๖. จะเข้ ๗. ขลุย่ เพียงออ ๘. โทน ๙. รามะนา ๑๐. ฉิ่ง 20
๒. วงมโหรีเครื่องคู่ วงมโหรีเคร่ืองคู่ ใชเ้ ครื่องดนตรีเหมือนกบั วงมโหรีเครื่องเลก็ แต่เพม่ิ เครื่องดนตรีเป็นอยา่ งละ ๒ เคร่ือง เช่นระนาดเอก ระนาดทุม้ ฆอ้ งวงใหญ่ ฆอ้ งวงเลก็ ซอดว้ ง ๒ คนั ขลุ่ยเพียงออ และขลุย่ หลิบ ส่วนเคร่ืองประกอบจงั หวะยงั คงใชเ้ หมือนเดิม เพ่มิ บางอยา่ ง เช่น ฉาบเลก็ กรับ ดงั น้ี 21
วงมโหรีเครื่องคู่ ประกอบดว้ ย ๑. ซอสามสาย ๒ คนั ๒. ระนาดเอกมโหรี ๓. ระนาดทุม้ มโหรี ๔. ฆอ้ งกลาง ๕. ฆอ้ งวงเลก็ ๖. ซอดว้ ง ๒ คนั ๗. ซออู้ ๒ คนั ๘. จะเข้ ๒ ตวั ๙. ขลุย่ เพยี งออ ๑๐. ขลุ่ยหลิบ ๑๑. โทน ๑๒. รามะนา ๑๓. ฉิ่ง ๑๔.โหม่ง ๑๕. ฉาบเลก็ ๑๖. กรับพวง 22
๓. วงมโหรีเคร่ืองใหญ่ วงมโหรีเครื่องใหญ่ ประกอบดว้ ย ๑. ซอสามสาย ๒ คนั ๒. ระนาดเอกมโหรี ๓. ระนาดทุม้ มโหรี ๔. ระนาดเอกเหลก็ มโหรี ๕. ระนาดทุม้ เหลก็ มโหรี ๖. ฆอ้ งกลาง ๗. ฆอ้ งวงเลก็ ๘. ซอดว้ ง ๒ คนั ๙. ซออู้ ๒ คนั ๑๐. จะเข้ ๒ ตวั ๑๑. ขลุ่ยเพยี งออ ๑๒. ขลุ่ยหลิบ ๑๓. ขลุ่ยอู้ ๑๔. โทน ๑๕. รามะนา ๑๖. ฉ่ิง ๑๗.โหม่ง ๑๘. ฉาบเลก็ ๑๙. กรับพวง 23
สมยั รัชกาลที่ ๔ วงป่ี พาทยไ์ ดเ้ พิม่ ระนาดทุม้ กบั ระนาดเอกเหลก็ ข้ึนอีก ๒ ราง กลายเป็นวงปี่ พาทยเ์ คร่ืองใหญ่ วงมโหรีจึงเลียนแบบ โดยเพ่ิมระนาดทุม้ เหลก็ ข้ึน ส่วนระนาดเอกเหลก็ น้นั เปล่ียนเป็นสร้างลูกระนาดดว้ ยทองเหลือง เพราะเทียบให้ เสียงสูงไพเราะกวา่ เหลก็ เรียกวา่ ระนาดทอง รวมท้งั วงเรียกวา่ “วงมโหรีเคร่ืองใหญ่” ซ่ึงไดถ้ ือเป็นแบบปฏิบตั ิใชบ้ รรเลงมาจนปัจจุบนั น้ี 24
ผู้จดั ทา นาย ไพโรจน์ เส็งดอนไพร รหัสนักศึกษา 4008614030 25
แหล่งที่มา http://staffzone.amnuaysilpa.ac.th http://human.tru.ac.th/elearning/aesthetic http://www.wpp.co.th/ http://www.youtube.com/ https://www.google.co.th/ 26
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: