Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นาฏศิลป์

นาฏศิลป์

Published by mulonpan, 2022-09-09 16:54:11

Description: นาฏศิลป์

Search

Read the Text Version

ร า ย วิ ช า ศิ ล ป ะ พื้ น ฐ า น 2565 นาฏศิลป์ คุณครูสุธิษา ราชสงค์

ผู้จัดทำ ศุภาพิชญ์ เทพแก้ว เลขที่ 13 ชนิดานต์ หนูฉ้ง เลขที่ 14 ตรีรัตน์ ปราบเขต เลขที่ 15 พราวพรรษ กลั่นสุวรรณ เลขที่ 23 พัชรหทัย กล้างาม เลขที่ 24 ศุภิสรา ราชพัฒน์ เลขที่ 29

คำนำ หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชานาฏศิลป์ โดยทางผู้จัดทำได้ศึกษาเกี่ยวกับคุณค่าของนาฏศิลป์, กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์,การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาส ต่างๆ,ระบำ รำ ฟ้อน ,การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองของไทย ,การแสดงนาฏศิลป์ไทยพื้นเมือง เพลงเถิดเทิง กลองยาว และบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย โดยหวังว่าผู้อ่าน จะได้ความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของนาฏศิลป์ไทย คณะผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้นี้จะมี ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจในนาฏศิลป์เป็นอย่างดี คณะผู้จัดทำ

สารบัญ 5 6 คุณค่าของนาฏศิลป์ 7 กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์ 8 9 การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาสต่างๆ 10 ระบำ รำ ฟ้อน และการแสดงนาฏศิลป์ 11 พื้ น เ มื อ ง ข อ ง ไ ท ย การแสดงนาฏศิลป์ไทย รำกลองยาวหรือเถิดเทิง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย ขันกำนล

คุณค่าและประโยชน์ของนาฏศิลป์ สะท้อนให้เห็นสภาพบ้านเมือง ให้คุณค่าด้านความรู้เกี่ยวกับ ที่มีความงดงาม ประณีต วรรณคดีไทย ให้ทั้งความสนุกสนาน นาฏศิลป์ ให้คุณค่าด้านพิธีกรรม เพราะมีการ เบิกบานใจ แสดงนาฏศิลป์ในงานพิธีต่าง ๆ ให้ความรู้ทั้งในมิติของ ให้คุณค่าด้านการอนุรักษ์และเผยแพร่ ประวัติศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ เพราะเป็นการแสดงที่เป็น มรดกของชาติ เป็นเครื่องหมายแสดงความ เป็นชาติ ที่มีมรดกทาง แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาของ วัฒนธรรม ปรมาจารย์ทางด้านนาฏศิลป์ และดนตรีไทย พัชรหทัย กล้างาม เลขที่ 24

๑. การสืบทอดนาฏศิลป์ ๒. กระบวนการสืบทอด สมัยโบราณ นาฏศิลป์ในสมยัปัจจุบน เป็นการถ่ายทอดจากครูแบบตัวต่อตัว โดยวิธีการจำ วิชานาฏศิลป์เปิดสอนอยู่เกือบทุกระดับ มี ไม่มีการบันทึกเป็นลายลกัษณ์อักษร กระบวนการเรียนการสอนที่เป็นแบบ ทำกิจกรรม ๓. การจัดกิจกรรมเพื่อสืบทอด วัฒนธรรม ทางด้านนาฏศิลป์ไทย เพื่อประเทืองปัญญา โดยจักการเรียนการสอนที่ วัฒนธรรม ทางด้านนาฏศิลป์ ไทยที่เราควรศึกษา ได้แก่ กระบวนการ มีผูเ้รียนเป็นศูนย์กลาง ค้นคว้า หาความรู้ด้วย พิธีไหวค้รูครอบครูและรับมอบ ตนเองฝึกให้รู้จัก การสังเกตคิด และนำไปใช้ คติความเชื่อเกี่ยวกับนาฏศิลป์ สืบทอด ประโยชน์ได้ในชีวิตประจำวัน นาฏศิลป์ไทย ๔. แนวทางการอนุรักษ์ นาฏศิลป์ ไทย การค้นคว้า วิจัย การอนุรักษ์ การฟ้ืนฟู การพัฒนา การถ่ายทอด ส่งเสริมกิจกรรม ตรีรัตน์ ปราบเขต เลขที่ 15 การเผยแพร่แลกเปล่ียน

พราวพรรษ กลั่นสุวรรณ 4/1 เลขที่23 การแสดงนาฏศิลป์ใน การแสดงนาฏศิลป์ งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานเทศกาลต่างๆ ในงานพระราชพิธี งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เลือกชุดแสดงให้เหมาะ เลือกชุดตามที่เหมาะตาม การแสดงในโอกาสต่างๆ สมกับโอกาสที่แสดง โอกาสที่ผู้จัดต้องการ การแสดงนาฏศิลป์ การแสดงนาฏศิลป์ใน การแสดงนาฏศิลป์ หลักในการเลือกชุดการ ในงานมงคลทั่วไป งานอวมงคล ในโอกาสต่างๆ แสดงให้หมาะสม งานแต่งงาน หลักการในการเลือกจัดการแสดง งานขึ้นบ้านใหม่ บทร้องมีใจความเหมาะสม คัดเลือกผู้แสดงที่มีความสามารถมีฝี มือในการรำ ใส่ทำนองเพลงใหถูกต้องและเหมาะสมกับเน้ือเพลง การเลือกรูปแบบที่ของการ แสดงอย่างเหมาะสม

ระบำ รำ คือ การแสดงที่ต้องใช้คนจำนวนมากกว่า 2 คนขึ้นไป ซึ่งการแสดงนั้นๆ จะใช้เพลง บรรเลงโดยมีเนื้อร้องหรือไม่มีเนื้อร้องก็ได้ระบำนั้นเป็น ศิลปะของการร่ายรำที่เป็นชุด ไม่ดำเนินเป็นเรื่องราว ผู้รำแต่งกาย คือ แสดงท่าเคลื่อนไหวคนเดียวหรือหลายคน โดยมีลีลา งดงาม จุดมุ่งหมายเพื่อแสดงความงดงามของศิลปะการรำไม่มีการ ดำเนินเรื่อง และแบบท่าของการเคลื่อนไหว และมีจังหวะลีลาเข้ากับ เสียงที่ทำจังหวะเพลงร้องหรือเพลงดนตรี รำในความหมาย ต่อมาคือ \"รำละคร การแสดงนาฎศิลป์ พื้นเมืองของไทย ระบำ รำ ฟ้อน และการแสดงนาฏศิลป์พื้น เมืองของไทย ภาคเหนือ การร่ายรำที่มีจังหวะช้า ท่าหยาบนุ่มนวล เพราะมีอากาศ ฟ้ อน เย็นสบาย ทำให้จิตใจของผู้คนมีความนุ่มนวล เช่น ฟ้ อนเมือง ฟ้ อน เทียน ฟ้ อนจ้อง เป็นต้น คือ การแสดงกริยาเดียวกับระบำหรือการรำ เพียงแต่เรียกให้แตก ภาคอีสาน ทำนองเพลงพื้นเมืองอีสานมีทั้งทำนองที่เศร้าสร้อยและ ต่างกันไปตามท้องถิ่น จัดเป็นการ แสดงพื้นเมืองของภาคนั้นๆ สนุกสนาน เพลงที่มีจังหวะเร็วนั้นถึงจะสนุกสนานอย่างไรก็ยังคงเจือ ความทุกข์ยากลำบากในบทเพลงอยู่เสมอ เช่น หมอลำ ลำกลอน ลำเพลิน ภาคใต้ เป็นดินแดนที่ติดทะเลทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออกทางด้านใต้ ติดกับมลายู ทำให้รับวัฒนธรรมของมลายูมาบ้าง นาฏศิลป์ภาคใต้แบ่ง ออกเป็น ๒ ประเภท ๑.การแสดงพื้นบ้าน เช่น โนรา หนังตะลุง เพลงเรือ ๒.ระบำพื้นบ้าน เช่น ตารีกีปัส ระบำร่อนแร่ ระบำกรีดยาง ภาคกลาง การแสดง มีการถ่ายทอดสืบต่อกันและพัฒนาดัดแปลงขึ้นเรื่อยๆ น.ส.ชนิกานต์ หนูฉ้ ง เลขที่14 ออกมาในรูปแบบของขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชีพ เช่น เต้นกำรำเคียว เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเรือ เพลงฉ่อย เพลงอีแซว ลิเก ลำตัด กลองยาว เถิดเทิง เป็นต้น

ประวัติความเป็นมา 1เ.สืช้อาคยอกกลกามงาเรแกแขงนตข่สังา้นยกาามวียผค้ารึ่โงพแกข้ศงีรษะ สทมหไัดยา้รรธับพนอบมิุ่ทารีธกิ็หพเลร่ลืนอมสตา้นนจุกราักตสพนนาโมก่นาสิเชนร่ีวทยงรก์ทวเำ่วาสลกงาลคพัอรกางรมยบใานว และผ้าคาดเอว กลองยาวของพม่าจะเรียกว่า โอสิ มีลักษณะ 2กป. รลห่ะอบญยิองผกมคทนอุั่ดงปิผดด้าอหซกิ่่นมไมส้เไสืบ้อทคราดง เข็มขัด คล้ายตะโพนของไทย 21ต..มากกายนรลลิตำยออัดวมงง้วเรยเลืยำพ่นืนไ่โดอผใ้อูผน้คูแ้กตมงวสีีแกาาาดนมบสลงมสบอแลงงแงล่วาคผยดะืงลนนวลิาใธมาหคีแ้กยลจนโัใางะดดนมูรหยสกาเวมาาลตีะ่มรรนรา่ฐราายถนรเขำา เถิดเทิง เทิงบ้อง!? รำกลองยาว พวกตีเครื่อง เถิดเทิง ประกอบจังหวะ!!~ เรียกตามเสียงกลองยาว ที่เมื่อเริ่มตี หู คนไทยได้ยินเป็น นางสาวศุภาพิชญ์ เทพแก้ว เลขที่ 13 “เถิด – เทิง – บ้อง – เทิง – บ้อง” เลยเรียกตามเสียงที่ได้ยินว่า เถิดเทิง หรือเทิงบ้องกลองยาว

ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ ที่ประดิษฐ์ ครูเฉลย ศุขะวณิช ครูลมุล ยมะคุปต์ ให้กรมศิลปากรในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เช่น รำแม่บทใหญ่ รำซัดชาตรี รำวง มาตรฐาน รำเถิดเทิง ระบำกลอง ฟ้ อน ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็น เงี้ยว ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนเทียน ฟ้ อนม่านมุ้ย เป็ นผู้เชี่ยวชาญการสอนและ ตัวเอกเกือบทุกเรื่อง เพราะมีฝี มือเป็ น เชียงตา ฟ้ อนแพน ฟ้ อนแคน เซิ้งสราญ ออกแบบนาฏศิลป์ไทย แห่งวิทยาลัย นาฏศิลป์ กรมศิลปากร ซึ่งมีความรู้ เยี่ยม บทบาทที่ท่านเคยแสดง เช่น พระ เซิ้งสัมพันธ์ เป็นต้น ความสามารถสูงในกระบวนท่ารำทุก สังข์ เขยเล็ก เจ้าเงาะ ฮเนา ซมพลา พระ ในการคิดค้นท่ารำนั้น บางท่ารำครูลมุลสามารถนำเอาท่ารำของ ประเภท วิษณุกรรม พระอภัยมณี ศรีสุวรรณ นาฏศิลป์ เพื่ อนบ้านมาดัดแปลงประดิษฐ์ขึ้นใหม่ได้อย่างแนบ สุดสาคร อิเหนา วิหยาสะกำ พระราม พระ เนียนกลมกลืน นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้ร่างหลักสูตรให้แก่วิทยาลัยนาฏศิลป ลอ อินทรชิต พระนารายณ์ เป็นต้น ซึ่งนับว่าท่านเป็ นครูนาฏศิลป์ คนแรกในการวางหลักสูตรการ เรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย ทำให้การเรียนนาฏศิลป์มีระบบ มี ขั้นตอนในการฝึ กหัด ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี มีนามเดิมว่า แผ้ว สุทธิบูรณ์ บุคคลบุคคลสำคัญใน นายกรี วรศะริน ได้ถวายตัวในสมเด็จ พระบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า เป็นศิลปินผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์โขน อัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวง ของวิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร มีความ นครราชสีมา และได้รับการ ฝึกหัดนาฏศิลป์ กับครู วงการนาฏศิลป์ไทย สามารถรอบรู้กระบวนการงานนาฏศิลป์ และการ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิในราช แสดงโขนทุกประเภท เป็นหลักและแม่แบบโดย สำนัก จนมีความรู้ความ เฉพาะโขนตัวลิง เป็นผู้อนุรักษ์แบบแผนการ สามารถออกแสดงละคร เตปั็วนเอกในโอกาสที่แสดงถวายทอดพระเนตรหน้า แสดงโขน ทั้งยังสร้างสรรค์และประดิษฐ์ผลงาน พระที่นั่ง ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หลายครั้ง ท่านแสดงเป็นอิเหนาและนาดรสาในเรือง ด้านการแสดงโขน - ละครหลายชุด ซึ่งวิทยาลัย ครูรัจนา พวงประยงค์ นาฏศิลป์ กรมศิลปากรและวงการนาฏศิลป์ทั่ว ประเทศ ได้ยึดถือเป็นแบบฉบับของการแสดง เป็นผู้มีความรู้ความสามารถสูงส่ง และแสดงนำได้หลายหลาก และการเรียนการสอนสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน มากบทตั้งแต่กระบวนรำบทนางกษัตริย์ บทเทวดานางฟ้า จนถึง บทนางทุกประเภท นอกจากจะเป็นศิลปินที่มีกระบวนรำงามมาก แล้ว ยังเป็นครูผู้รักษาขนบประเพณีในการแสดง ถูกต้องครบ อิเหนา เป็นพระพิราพและทศกัณฐ์ในเรื่องรามเกียรติ์ ครันตามแบบฉบับ เป็นนางเอกรูปลักษณ์งดงามแขนอ่อนยากจะ ทางด้านการศึกษาวิชาสามัญท่านจบหลักสูตรจาก หาใครเหมือน นับเป็นศิลปิน บทนางที่มีความสามารถสูงส่งตีบท โรงเรียนในวังสวนกุหลาบในรัชสมัยพระมหาธีรราชเจ้า ได้สมจริงทุกบทบาท ทั้งมีความสง่างาม สมที่เป็นแบบอย่างที่ดี ยิ่งแก่ศิลปินรุ่นหลัง น.ส.ศุภิสรา ราชพัฒน์ เลขที่ 29

เทียน 3 เล่ม ขันกำนล ดอกไม้ ขัน 1 ใบ หมากพลู 3 คำ เงิน 6 บาท ผ้าห่ม/ผ้าเช็ดหน้า นางสาวศุภาพิชญ์ เทพแก้ว เลขที่ 13

ธูป เทียน3เล่ม พราวพรรษ กลั่นสุวรรณ 4/1 เลขที่23 หมากพลู 3 คำ ดอกไม้ ขันกำนล ขัน 1 ใบ ผ้าขาว1ผืน เงินกำนัล6บาท

น.ส.ศุภิสรา ราชพัฒน์ เลขที่ 29


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook