Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Protocol

Protocol

Published by chalardpalas2561, 2021-01-31 10:44:54

Description: Protocol

Search

Read the Text Version

บทท่ี 5 โปรโตคอล (Protocol) การทจี่ ะทราบวา โปรโตคอล (Protocol) คืออะไรตองกลา วถงึ ยคุ แรกของการผลิตคอมพวิ เตอร ในยุคนน้ั ผผู ลติ แตละรายกไ็ ดผลติ คอมพวิ เตอรต ามมาตรฐานของตนเองขนึ้ มา ซ่ึงสามารถทาํ งานไดเ ฉพาะกบั เครอื่ งๆ เดยี วเทา น้นั จากการ ท่ีมีการพัฒนาเครือ่ งคอมพวิ เตอรและระบบการทาํ งานทที่ นั สมยั ทาํ ใหก ารติดตอระหวางเครอื่ งคอมพวิ เตอรเปน เร่ืองที่ สําคญั ขนึ้ มา แตเน่ืองจากการทเี่ ครอ่ื งแตล ะเครอ่ื งผลติ ขนึ้ มาโดยมาตรฐานทไ่ี มเ หมอื นกัน ทาํ ใหก ารสงขอ มลู ระหวา งเครอ่ื ง น้นั เปนไปไดย าก ดงั นัน้ จากจดุ นที้ ําใหเ กดิ การสรา งมาตรฐานของขอ มลู ข้นึ เพอื่ ความสะดวกของเครื่องคอมพวิ เตอรใ นการ ทีจ่ ะติดตอ สอ่ื สารกัน โปรโตคอลการสือ่ สารมมี ากมายหลายแบบ เชน X.25, NetBEUI, IPX/SPX, TCP/IP เปน ตน กระบวนการทโี่ ปรโตคอลในระดบั ตางๆ ถกู รวมเขา โปรโตคอลอ่นื ๆ เรยี กวา “Binding” การดาํ เนินการนจ้ี ะ เกดิ ขึ้นเพ่อื จดั เตรียมใหข อ มลู ไดรบั การกาํ หนดเสน ทางการขนสง ตั้งแตระดับ Application Layer ลงมาจนถงึ การด เช่อื มตอ ระบบเครือขา ย และทําใหมั่นใจไดวาขอมูลไดถกู จัดเตรียมไวใ หส ามารถใชบ รกิ ารจากโปรโตคอลท่อี ยใู นระดบั สงู กวา และต่าํ กวา และการดเชอ่ื มตอระบบเครอื ขา ยสามารถทําการขนสง ขอ มลู เขาและออกจากโหนดนัน้ ๆ ได 5.1 หนา ที่ของโปรโตคอล โปรโตคอล คอื กฏเกณฑแ ละกระบวนการในการสือ่ สาร ซงึ่ กฎของการส่อื สารนสี้ ามารถนาํ มาประยกุ ตใ ชก บั การ ส่อื สารขอมลู ในระบบเครอื ขา ยคอมพวิ เตอรไ ด โดยทโ่ี ปรโตคอลจะมีอยหู ลายชนดิ โปรโตคอลแตล ะชนิดจะมจี ดุ ประสงคใ น การทํางานทแี่ ตกตางกันแตจ ะชว ยในการสอ่ื สารบนระบบเครอื ขาย โดยโปรโตคอลแตละตัวจะทํางานรวมกนั เปนลาํ ดบั ชัน้ ใน รปู แบบของชดุ โปรโตคอล (Protocol Stack) เชน ในโครงสรา งแบบ OSI Model จะมโี ปรโตคอลตา งๆ ทํางานอยใู น เลเยอรแ ตล ะระดับชน้ั ในการสอื่ สารขอ มลู การทาํ งานในแตละเลเยอรจ ะเปนการทํางานหน่งึ ขนั้ ตอน โดยการทาํ งานแตล ะ ข้ันตอนจะมกี ระบวนการทแ่ี ตกตา งกนั ไป กฏเกณฑก ารสอ่ื สารกม็ ีลกั ษณะเดียวกับการพูด หากพูดคนละภาษากไ็ มส ามารถเขา ใจซง่ึ กนั และกนั ได ดังนั้นการ ใชก ฏเกณฑท ่ีแตกตา งกนั จะทําใหไ มส ามารถสอ่ื สารกันได ในทํานองเดยี วกนั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท ี่ใชโ ปรโตคอลแตกตางกนั จะไมสามารถทําการส่อื สารขอ มลู ระหวา งกนั ได 5.1.1 Routable Protocol ในราวกลางป 1980 ระบบเครอื ขา ย LAN สวนใหญถกู จัดตงั้ แยกจากกนั โดย LAN หนง่ึ วงจะถกู ใช โดยองคก รหรอื หนว ยงานใดหนว ยงานหนึ่งเทา นนั้ จงึ ยงั ไมเ กดิ ระบบเครอื ขายขนาดใหญข ึ้นมา ตอมาการทาํ งานบนระบบ เครือขายเร่มิ ทจ่ี ะไดร บั ความนยิ มเพมิ่ มากขน้ึ จงึ มีความตอ งการในการเชอ่ื มตอ วง LAN ตางๆ เหลา น้เี ขาดวยกนั เปน ระบบเครอื ขาย WAN เพอ่ื แลกเปล่ียนขอมลู ทางธรุ กจิ หรอื ขอมลู อ่ืนๆ ระหวา งกัน จนเปน เครอื ขายขนาดใหญและ ซบั ซอ น ในการขนสง ขอ มลู ระหวา งวง LAN เหลานี้ จงึ มเี สน ทางในการขนสง ขอ มูลไดหลายเสนทาง จาํ เปนทจ่ี ะตองใช โปรโตคอลทสี่ ามารถระบุเสน ทางการขนสง ขอมลู ได หรือทเ่ี รยี กวา Routable Protocol สําหรับชว ยในการขนสง แพก็ เกต็ ขอมูลขา มไปมาระหวางวง LAN ท่เี ชอ่ื มโยงเขา ดว ยกนั นไี้ ดอยางเหมาะสม 117

5.1.2 Binding Process กระบวนการในการขนสง ขอ มลู เปน กระบวนการทโี่ ปรโตคอลตางๆ ทําการตดิ ตอระหวา งกันและกัน และ สงไปยงั การด เชอ่ื มตอ ระบบเครอื ขา ย เพอ่ื ทาํ การขนสงขอมลู ทางกายภาพจริงๆ การที่โปรโตคอล และการด เชอื่ มตอ ระบบ เครอื ขายทาํ งานรว มกนั จะตอ งมกี ระบวนการทีเ่ รยี กวา “Binding” เชน ถาตอ งการใหใชโปรโตคอล 2 ตวั ในการทาํ งาน (IPX/SPX หรอื TCP/IP) จะตอ งรวมโปรโตคอลนเี้ ขา กบั ไดรฟ เวอรข องการด เช่อื มตอ ระบบเครอื ขา ย โดยทวั่ ไป กระบวนการ Binding จะเรมิ่ ตัง้ แตก ารติดต้งั ระบบปฏบิ ัติการหรอื ตดิ ต้ังโปรโตคอล หรอื การเรียกใชโ ปรโตคอล การ ดําเนนิ การเชนนจี้ ะเออื้ อาํ นวยตอ ความสาํ เร็จในการจัดต้ังการเชอ่ื มตอ ในกระบวนการ Binding มีขั้นตอนมากกวา การรวมโปรโตคอลทเี่ กยี่ วขอ งเขา กับไดรฟเวอรข องการด เช่อื มตอระบบเครอื ขาย แตโปรโตคอลแตล ะตวั ใน Stack จะตองมีสว นเกยี่ วขอ งกบั องคประกอบของโปรโตคอลในเลเยอร ลาํ ดับชั้นท่ีสงู กวา หรอื ตํ่ากวา เพ่อื ใหส ามารถทาํ งานไดอยา งราบรนื่ เชนโปรโตคอล TCP/IP อาจจะตอ งตดิ ตอกบั โปรโตคอล NetBIOS ใน Session Layer รวมไปถงึ สวนของไดรฟ เวอรที่อยูในลาํ ดบั ตาํ่ กวา เปนตน 5.1.3 Device Driver Device Driver หรอื บางครั้งอาจจะเรยี กวา “ไดรฟเวอร (Driver)” คอื ซอฟตแ วรท ท่ี าํ ใหเ ครื่อง คอมพิวเตอรส ามารถทํางานรว มกบั อุปกรณทต่ี องการได เม่ือติดตั้งอปุ กรณตางๆ เขากับเครือ่ งคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัตกิ ารจะยังไมส ามารถทํางานรวมกับอปุ กรณเ หลา น้นั ไดจ นกวา จะมีการติดต้ังไดรฟ เวอรและต้งั คาตางๆ ให เหมาะสม ทํานองเดยี วกันการด เชือ่ มตอระบบเครือขา ย ซ่ึงใชใ นการเช่อื มตอเครื่องคอมพวิ เตอรเขา กบั ระบบเครือขา ยยงั คง เปนเพยี งฮารด แวร การที่จะทาํ ใหส ามารถทาํ งานกับระบบเครือขายไดอยางเหมาะสม การด เหลานจ้ี ะตองอาศัยไดรฟ เวอร ทช่ี ว ยใหส ามารถทาํ งานกบั ระบบปฏบิ ัติการและโปรโตคอลซง่ึ มสี ว นรว มในระบบเครอื ขายได ในความหมายของคาํ วา “ไดรฟเวอร” นั้น ส่ิงสาํ คัญทีจ่ ะตองบนั ทึกไวค ือวามอี ุปกรณท ่ีแตกตา งกันหลายชนดิ ท่ี แตกตา งกนั ในระบบเปด เชน เครือ่ ง Wintel (Windows/Intel based) ท่ีไดรบั การออกแบบมาใหท ํางานไดกบั การ เพิ่มเตมิ อุปกรณท่ีผลิตจากบรษิ ัทตางๆ ถึงแมว า อปุ กรณเหลาน้ีจะสามารถจดั แบงตามประเภทได เชน เครอ่ื งพมิ พ ดิสก ไดรฟ อปุ กรณตัวชี้ และโมเดม็ แตอ ปุ กรณแ ตละประเภทเหลา นจ้ี ะมกี ารทํางานตามวิถีทางของตัวเอง โดยมี ความสามารถของตัวเอง วิธีการตดิ ตัง้ อุปกรณข องตัวเอง และวธิ ีการทาํ งานที่เปนของตัวเอง ดังน้ันงานของไดรฟเวอรก็ คือจะตอ งรบั รูแ ละทําใหอ ุปกรณนน้ั ๆ มีความสามารถเหลา นีอ้ ยา งครบถว นบนระบบปฏบิ ัติการและโปรโตคอลทอ่ี ปุ กรณ เหลานที้ าํ งานดวย (ในกรณีของการด เช่ือมตอ ระบบเครือขา ย) ผลก็คอื บรษิ ัทผูผลติ อุปกรณจะเขยี นไดรฟ็ เวอรส ําหรับ อปุ กรณข องตนเอง ปรับแตง ไดรฟ เวอรเพอื่ ทําใหอ ุปกรณน นั้ ๆ มีสมรรถนะสูงสดุ และใชไ ดกับระบบทตี่ อ งการใหอุปกรณ น้ันๆ เขามาทํางานรว ม 5.1.4 Driver กบั OSI ไดรฟ เวอรของการดเชอื่ มตอระบบเครือขายจะทํางานใน MAC Sub-layer ใน Data Link Layer ของ OSI Reference Model ซึ่ง Mac Sub-layer จะเปนผสู ง ขอ มูลใหก บั Physical Layer โดยไดรฟเวอรจะ สนับสนุนการทาํ งานของการดเชอ่ื มตอระบบเครือขายกับ Redirector ซง่ึ เปน สว นหนึ่งของซอฟตแวรร ะบบเครอื ขา ย ซึง่ ทาํ งานอยูในเครอ่ื งคอมพิวเตอรบ นระบบเครือขาย ดงั แสดงตามรูปที่ 5 – 1 118

รูปที่ 5 – 1 การส่ือสารระหวา ง NIC กบั ซอฟตแ วรร ะบบเครอื ขา ยผานไดรฟ เวอร 5.1.5 NDIS and ODI เม่อื กลาวถึงการดเชอื่ มตอ ระบบเครือขาย มีการพัฒนามาตรฐานขน้ึ มา 2 แบบ เพือ่ ชว ยเหลืองานใน การสรางไดรฟ เวอรใหสามารถสนับสนุนระบบปฏบิ ัติการและโปรโตคอลทแ่ี ตกตางกันซงึ่ มีใชบ นระบบเครอื ขา ยเปนจาํ นวน มาก หนงึ่ ในมาตรฐานน้คี อื NDIS (Network Device Interface Specification) ท่ไี ดรับการพัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟต และบริษัท 3Com สว นอกี มาตรฐานหนึ่ง คือ ODI (Open Data-Link Interface) ทีไ่ ดร บั การพัฒนา โดยบริษัท Novell และ Apple โดยทัง้ คูเ ปนซอฟตแวรการตอ เชอ่ื มซึง่ กําหนดขอบเขตรวมกนั ระหวางการดเชื่อมตอ ระบบเครอื ขายกบั โปรโตคอลในระดบั สงู เพือ่ ใหท าํ งานไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ โดยจะจดั ใหมีจดุ เชอื่ มตอ (linkage point) ระบบเครอื ขา ยกับโปรโตคอล มาตรฐานเหลา นจี้ ะทําใหส ามารถเขยี นไดรฟเวอรส าํ หรับการดเชอื่ มตอ ระบบเครือขายให เปนไปตามคุณลักษณะเฉพาะของตนเอง เพ่ือสนับสนุนโปรโตคอลไดมากกวา 1 ตัวในการดเดียว นน่ั คือ NDIS และ ODI จะจดั ใหมบี างสงิ่ ท่ีเปน ระเบียบแบบแผนที่สามารถเขา ใจไดท้ัง 2 ฝาย ใหก บั การด เชื่อมตอระบบเครอื ขายและชุด โปรโตคอล (protocol stack) จึงเปนเหมือนบางส่ิงบางอยางทเี่ ปรียบไดก ับระเบยี บแบบแผนทีซ่ งึ่ ใชส ัญลักษณส ากลที่ นักทอ งเทย่ี วท้งั หมดสามารถเขาใจได โดยไมคาํ นึงถึงภาษาพ้นื เมืองของแตล ะคน 5.2 โปรโตคอลสแต็กมาตรฐาน (Standard Protocol Stack) อุตสาหกรรมคอมพวิ เตอรไ ดพฒั นาโปรโตคอลมาตรฐานสําหรบั การสือ่ สารขอ มูลไวห ลายชนดิ จงึ ทําใหผ ลิตภณั ฑ ฮารดแวรและซอฟตแวรตา งๆ ทีผ่ ลิตออกจาํ หนายสามารถทํางานรว มกับมาตรฐานเหลานีไ้ ด ตนแบบในการกาํ หนด มาตรฐานตา งๆ เหลา นี้ไดแก ƒ มาตรฐานกลางของ OSI Reference Model ƒ สถาปต ยกรรมเครอื ขาย SNA ของบริษทั IBM ƒ DECnet ของบรษิ ทั Digital ƒ NetWare ของบริษัท Novell ƒ AppleTalk ของบรษิ ทั Apple ƒ โปรโตคอลมาตรฐานของอินเตอรเ นต็ คือ TCP/IP ในสแตก็ แตล ะชนิดจะมีโปรโตคอลท่รี องรบั การทาํ งานในแตล ะระดบั ชน้ั อยเู ปนจาํ นวนมาก ซงึ่ โปรโตคอลแตล ะตวั ในแตล ะเลเยอรก จ็ ะมีหนา ท่กี ารทํางานทแ่ี ตกตา งกัน โดยจะทํางานตามหนาท่ซี ่งึ ถกู กําหนดไวใ นเลเยอรน น้ั ๆ อยางไรกต็ าม งานในการสื่อสารของระบบเครือขายจะตอ งใชโปรโตคอลตวั ใดตวั หนงึ่ ใน Application, Transport และ Network Layer เปนหลกั ในการสอ่ื สารขอ มลู ซง่ึ จะตองเปน โปรโตคอลทส่ี ามารถทาํ งานไดมากกวา 1 เลเยอรข นึ้ ไป 119

5.3 โครงสรา งระบบเครือขายกบั โปรโตคอล (Network Models and Protocols) การมั่นใจวาโครงสรางระบบเครือขายท่ีมีเปนสิ่งท่ีวิเศษและหรูหรา จะดูไดจากมุมมองของระบบเครือขายใน รูปแบบของเลเยอรท่ีบรรจุอยูภายในทําใหงายตอการจัดเขาชุดและงายตอการทําความเขาใจความสัมพันธระหวางการ ปฏิบัติงานตางๆ และการใหบริการท่ีจัดใหมีโดยระบบเครือขาย อยางไรก็ตามคําอธิบายโดยตลอดของโครงสรางเหลาน้ี จะไดพ บกบั การอา งถงึ โปรโตคอลน้ที าํ งานในเลเยอรน ี้ โปรโตคอลนั้นทํางานที่เลเยอรนน้ั อยตู ลอดเวลา หลงั จากทีไ่ ดอ ธบิ ายแนวความคดิ ของโครงสรา งระบบเครือขายโดยการแบง การทํางานของระบบเครอื ขา ยเปน หลายเลเยอร โดยมีโปรโตคอลซึ่งถกู แสดงใหเ หน็ ในลกั ษณะของซอฟตแ วรทท่ี าํ ใหร ะบบเครือขา ยทาํ งานไดอยา งแทจ รงิ อยา งไรกต็ ามในความเปน จริงแลว ความสมั พนั ธน นี้ ับวางายมาก คอื โครงสรา งระบบเครือขายจะอธิบายวา ตอ งการท่จี ะ ทําอะไรและโปรโตคอลก็จะเปนตัวที่ทําใหเ กิดข้ึน มากไปกวา นนั้ ตองขอบคุณการอธบิ ายโครงสรางของระบบเครอื ขา ย เปนเลเยอร เพราะวาโปรโตคอลท่ีเกีย่ วของกบั การใหบริการโดยเฉพาะ เชนจัดเตรียมการเขา ถึงระบบเครือขา ย หรอื กาํ หนดแอดเดรสใหก บั เฟรมขอมูล อาจจะสมมติวาโปรโตคอลอ่ืนที่ทํางานบนเลเยอรอน่ื กําลงั ดแู ลการใหบ ริการเพ่อื ให มั่นใจวา กระบวนการการส่ือสารทั้งหมดเกิดข้ึนอยา งถกู ตอง นน่ั คอื โปรโตคอลทีก่ าํ หนดแอดเดรสใหก บั เฟรมขอ มลู จะไม รเู ก่ยี วกับวาเฟรมขอ มูลนั้นจะถกู นาํ เขา ไปบนสายเคเบลิ ระบบเครือขา ยไดอยางไร ไมว าจะเปนการสง เฟรมขอมลู โดยตรง หรือหากจาํ เปน ก็จะสง ออกไปใหม ซึ่งจะมีโปรโตคอลอน่ื ที่ทํางานบนเลเยอรอ ่ืนซึง่ จะคอยดแู ลกระบวนการตา งๆ เหลาน้ี ดังน้นั โปรโตคอลซ่ึงทําหนาทกี่ ําหนดแอดเดรสใหก บั เฟรมขอ มลู จะมีความกังวลเพยี งเฉพาะการทํางานของตัวเองให ถกู ตอ งเทานั้น การจดั แบงโครงสรา งเปน เลเยอร ทําใหโ ปรโตคอลถูกใชอ ยางฟมุ เฟอ ยในการพัฒนาในวงแคบเพอ่ื มุงใน การทํางานของตนเองและคาดวา งานอยางอื่นจะไดร บั การดแู ลอยา งเหมาะสมที่ซึ่งโปรโตคอลขึน้ อยกู ับโครงสรา ง เชน ใน ISO/OSI Reference Model ซ่งึ เปนสว นของการกาํ หนดมาตรฐาน โดยการแยกและกาํ หนดมาตรฐานที่จดั ใหมีใน แตละเลเยอร โครงสรา งของระบบเครือขา ยจะอธบิ ายการกาํ หนดมาตรฐานของโปรโตคอลซึ่งทํางานในแตละเลเยอรได อยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยท่โี ครงสรา งจะไมสามารถกาํ หนดโปรโตคอลไดดว ยตวั เอง นั่นคือ ISO/OSI Model จะไม กาํ หนดโปรโตคอล ใน Application Layer เชนโปรโตคอลที่ใชโ ดยโปรแกรมการโยกยายไฟล เพ่อื ใหไ ดรบั การ access เขาไปยงั ระบบเครือขาย แลว โครงสรา งระบบเครอื ขา ยทาํ อะไร? แทนที่จะกาํ หนดมาตรฐานการใหบ ริการและ สรางการเชื่อมตอ ซึ่งทาํ โดยโปรโตคอลท่ีทาํ งานใน Application Layer ดว ยวธิ นี โ้ี ครงสรา งระบบเครอื ขา ยจะจดั ใหมี โครงรางของโปรโตคอลมาตรฐานทโ่ี ปรแกมประยุกตต องใช รปู ที่ 5 – 2 หนาท่ขี องโปรโตคอลในเลเยอรตางๆ ของโครงสรา ง OSI Reference Model 120

ISO/OSI และโครงสรางระบบเครอื ขา ยแบบอื่นกําหนดเลเยอรท ่แี บงออกอยา งเหน็ ไดเ ดน ชดั ท่ีเกี่ยวขอ งกบั การจัดหีบหอขอมูล การสง และการรบั สญั ญาณขอ มูล คาํ ถามคือโปรโตคอลตัวใดทจี่ ัดใหม กี ารบรกิ ารทีจ่ ําเปนในแตละ เลเยอร และมีโปรโตคอลเพยี งตวั เดยี วทที่ ํางานในทุกเลเยอรซ งึ่ รองรบั การปฏิบัตงิ านท่ีเหมาะสมในแตละระดับ ใชห รอื ไม คําตอบคอื ไมใช หรือมีชดุ ของโปรโตคอลทีม่ คี วามเกีย่ วขอ งกนั ซงึ่ โปรโตคอลแตล ะตวั จะทาํ งานในเลเยอรตา งๆ ท่ี รวมกนั รองรบั การปฏิบัติงานท้งั หมดทีต่ อ งทําในการจัดหบี หอ แพ็กเก็ตขอ มูล การสง และรบั สญั ญาณขอ มลู ใชหรอื ไม คาํ ตอบคือใช และมีชุดของโปรโตคอลที่มีความเกีย่ วของกนั มากกวา 1 ชดุ ใชห รือไม คาํ ตอบก็คือใช ตอนนีก้ ็ถึงเวลาท่ีจะเขา สโู ลกของ Protocol stacks และ Protocol suites ถงึ แมวา คาํ ท้ังสองจะสามารถใช แทนกันไดแ ตก ม็ ีบางส่ิงเปน นัยยะท่แี ตกตา งกันระหวาง stack กับ suite 5.3.1 Protocol Suites Protocol Suite กลาวถงึ ชุดของโปรโตคอลที่ไดร บั การออกแบบและสรา ง (โดยมากจะมโี ปรโตคอล มากกวา 1 ตวั ในแตละเลเยอร) ใหเ ปน สวนประกอบทสี่ มบรู ณข องชุดฟง กช นั การทํางานอยา งราบเรยี บ ดงั นัน้ ชุดของ โปรโตคอล TCP/IP ที่ไดรับการออกแบบโดยผูจ ําหนา ยแตละรายจะเปนตัวแทนของ suites ซ่ึงเม่อื นําไปใชง านบน ระบบเครือขาย TCP/IP ของผจู ําหนา ยน้ันๆ ก็จะเปน network stack 5.3.2 Protocol Stack ในปจ จุบนั ท่มี ีการใชเครอื ขา ยอนิ เตอรเนต็ อยางแพรหลาย และการเติบโตของระบบเครอื ขา ยสากล TCP/IP สําหรับ ISO/OSI model จงึ เกดิ ขึน้ ถึงแมว า ISO/OSI จะยังคงเปน การอธบิ ายโครงสรา งของระบบ เครือขา ยทก่ี อต้ังมานานแลว แตก ็ทํางานอยูบ นระบบเครือขายเปนจํานวนมาก และเนอ่ื งจากขณะน้จี ะเนนไปที่โปรโตคอล TCP/IP ในสวนนี้จะใช TCP/IP model เปนพน้ื ฐานสําหรับทาํ ความเขา ใจตัวอยา งของ protocol stack Stack จะกลา วถึงชุดของโปรโตคอลทีส่ มบูรณ ซง่ึ โดยมากจะมีโปรโตคอล 1 ตัวในแตล ะเลเยอรท ่ี ทํางานบนระบบเครือขา ย และระบบเครือขา ยอาจจะตอ งอาศยั protocol stack มากกวา 1 ชดุ ในการทาํ งาน ตัวอยางเชน ระบบเครอื ขายอาจจะ run Novell Netware stack และ TCP/IP stack อยา งไรก็ตาม stacks กเ็ ปน อิสระตอกนั นน่ั คอื โปรโตคอลในแตล ะ stack จะไดรับการออกแบบมาใหโ ตต อบกับและอาศัยโปรโตคอลทเี่ ปนเครือ ญาติใน stack ของตนเอง แทนที่จะตองอาศยั โปรโตคอลใน stack อื่น ใหลองคิดวา stack เปนชุดลาํ ดับของ โปรโตคอลที่รนั บนระบบเครอื ขาย หรือเครือ่ งคอมพิวเตอรระบบเครือขาย และใหค ิดวา suite เปนชุดของโปรโตคอลที่ สรา งโดยผจู ําหนา ยโดยเฉพาะหรือองคก รใดองคก รหนง่ึ ในหวั ขอถดั ไปจะอธิบายรายละเอียดของชดุ โปรโตคอลแตละ ชดุ อยางชัดเจน และโปรโตคอลบางตัวท่สี ําคญั 5.4 โปรโตคอลของไมโครซอฟต TCP/IP Protocol Suit เปนชุดโปรโตคอลหลกั ของบริษทั ไมโครซอฟต ชุดของโปรโตคอล TCP/IP มี การจดั แบง ออกเปน 4 ระดบั ช้ัน ซ่งึ ไมต รงกบั OSI Model พอดี โดยแตล ะระดบั ชั้นจะประกอบดวยเลเยอรตางๆ ใน OSI Model มากกวา 1 เลเยอร สําหรบั ชุดโปรโตคอลท่ีไดร ับการพัฒนาใหมาใชรวมกบั TCP/IP ในเลเยอรตางๆ เร่มิ จากดา นบน ท่ซี งึ่ เปน จดุ เร่มิ ของการสงสญั ญาณขอมลู ตามรปู ท่ี 5 – 3 121

รูปที่ 5 – 3 โปรโตคอลใน TCP/IP Suit 5.4.1 Applications Layer Application Layer เปน เลเยอรร ะดบั สงู ทส่ี ุดท่ีแทบเหมอื นกับไมมีตัวตนในความหมายของ ระยะหา งจากกายภาพของระบบเครอื ขา ย เลเยอรน ี้เปนทซ่ี ึง่ โปรแกรมประยกุ ตต า งๆ access เขาไปยังระบบเครอื ขา ย โดยการใชโ ปรโตคอล Application Layer ของชดุ โปรโตคอล TCP/IP จะประกอบดวย Application, Presentation และ Session Layer ของ OSI Model โดยมโี ปรโตคอลตางๆ ที่ไดรบั การพฒั นาใหม าใชงาน รว มกับ TCP/IP ดงั น้ี ƒ SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) ใชส าํ หรับการสงอีเมลล (e-mail) ƒ FTP (File Transfer Protocol) ใชส ําหรับถา ยโอนไฟลข อ มลู ระหวางเครอ่ื งท่ีใช โปรโตคอล TCP/IP ƒ TELNET ใชส ําหรบั ติดตอ กับอปุ กรณระบบเครือขา ย ƒ DNS ใชส ําหรบั แปลงชื่อของ IP Address ƒ SNMP (Simple Network Management Protocol) ใชส าํ หรับการบริหารเครอื ขา ย ƒ HTTP (Hypertext Transfer Protocol) ซงึ่ เปน โปรโตคอลซง่ึ ใชใ นการโยกยา ย ไฟลที่เปน hypertext ซงึ่ โปรแกรมเบราสเซอร (browser) อาศัยในการจดั สงเว็บเพจที่ บรรจขุ อมูลผสมกนั ของ ขอ ความ รปู ภาพ สัญญาณเสยี ง และสัญญาณภาพ 122

5.4.2 Transport Layer โปรโตคอลใน Transport layer มหี นา ท่ีเปนสื่อกลางในการส่ือสารระหวาง Application Layer กับ Internetwork layer โปรโตคอลในเลเยอรน ้ีมีอยู 2 ตวั คอื TCP (Transmission Control Protocol) และ UDP (User Datagram Protocol) 5.4.2.1 TCP (Transmission Control Protocol) เปน โปรโตคอลการสอ่ื สารขอ มลู แบบตอ งการใหมกี ารจดั ตัง้ การเช่ือมตอ (Connection Oriented) คือมีลักษณะเหมอื นการสงขอ มลู เสยี งทางโทรศัพท ผูใ ชตอ งจดั ตงั้ การเช่อื มตอกอ นแลว จงึ จะสามารถทาํ การ สง ขอมลู ได และเม่อื เลกิ ใชแ ลว กท็ ําการยกเลกิ การติดตอ โดยในขัน้ ตอนของการตดิ ตอน้นั จะทําการเชื่อมตอ เคร่ือง คอมพิวเตอรผสู งและเคร่ืองคอมพิวเตอรผ รู บั เขา ดวยกนั ข้นั ตอนแรกคือข้นั ตอนท่ที าํ การเรยี กไปยงั เคร่อื งปลายทาง เพอื่ ขอทาํ การตดิ ตอนั้นเปนชวงที่ใชเวลามากทีส่ ดุ TCP เปนโปรโตคอลในระดับช้นั ท่ี 4 เมอื่ เทยี บกบั OSI มลี กั ษณะการ ทาํ งานเปน วงจรเสมือน (Virtual Circuit) คือจะมีการทําวงจรขนึ้ มากอนที่จะรบั สงขอ มลู กัน น่นั คือแตล ะโหนดตอ งมี ตารางของแอดเดรสและเสนทางการขนสง ขอมลู ไปยังปลายทาง เพ่ือใหรวู า จะตอกบั ใครจงึ จะไดวงจรเสมือนตามตอ งการ เมือ่ จดั ตั้งการเช่อื มตอ เสรจ็ แลวก็จะรับสง ขอ มูลกนั โดยใชเ สน ทางนตี้ ลอด ดังนน้ั จะไมม ปี ญหาเรื่องการเรียงลาํ ดบั ของชุด ขอมูลผดิ พลาด หรือ เกิดการซ้ําซอนของขอ มูล การสงผา นขอมลู บน TCP เปน byte stream-oriented สาํ หรับหนา ท่ี ของ TCP ก็คือ จัดการเร่ืองตรวจสอบความผดิ พลาด ทาํ flow control ทาํ การ multiplex หรอื demultiplex application layer connection นอกจากนกี้ ็ยงั ทําหนา ทีค่ วบคุมแลกเปลย่ี นสถานะและทํา Synchronization ดว ย และถาจาํ เปนจะจัดใหมกี ารสงสญั ญาณขอ มลู ออกไปใหมในเหตกุ ารณที่เกดิ ความผิดพลาดในการสง สัญญาณขอ มูล ตามตัวอยางท่ีกลาวมานี้ TCP จึงถกู ใชในระบบเครือขายของไมโครซอฟตสาํ หรับการแบงปนการใชไฟลแ ละเครอ่ื งพมิ พ หมายเลขพอรตจะถกู ใชใ นการอางอิงที่อยขู องโปรแกรมใน Application Layer เพอ่ื บอกใหทราบชองทางในการติดตอ ระหวา งโปรแกรมบนเครอ่ื งหนึ่งกับโปรแกรมในเครอ่ื งอืน่ โดยหมายเลขพอรต และแอดเดรสจะถูกนาํ มารวมกนั เพ่ือสรา ง เปนซอ กเก็ต (Socket) เพือ่ เปนชองทางใชในการติดตอไปยงั โฮสตอ ื่น 5.4.2.2 UDP (User Datagram Protocol) UDP เปนโปรโตคอลซึง่ ไมไดจัดตง้ั การเช่อื มตอ (Connectionless) แตจะรบั ผดิ ชอบ การสง ขอมลู แบบ end-to-end ที่เหมือนกับไมค อยมีความนาเชื่อถือ เพราะจะทาํ การสง สญั ญาณขอ มลู โดยไมมีการ ตรวจสอบวา ขอมลู ไดถ ูกจดั สง ไปถงึ อกี ฝา ยหนึ่งอยางถูกตองหรือไม (โปรแกรมประยกุ ตจ ะมีหนาท่ใี นการตรวจสอบนี้) จงึ เหมาะสาํ หรบั การสงขอมูลขนาดเลก็ นอกจากน้ันการใชพ อรต ของ UDP จะแตกตา งจากการใชพอรตของ TCP จงึ ทํา ใหท งั้ TCP และ UDP สามารถใชพ อรต เดียวกันไดโ ดยไมรบกวนการทาํ งานซ่งึ กันและกนั การใช UDP ในโลกแหง ความเปนจรงิ จึงประกอบดว ย การ browse การ logon การแพรก ระจายขอ มูล (broadcast) หรอื สง สัญญาณขอ มลู แบบ multicast ไปยงั ผูร ับจาํ นวนมากในเวลาเดยี วกัน 5.4.3 Internetwork Layer เลเยอรน ตี้ รงกบั Network Layer ของ OSI Model ซ่งึ ในเลเยอรน ีจ้ ะเกย่ี วของกับการใช โปรโตคอลหลายตวั ในการกําหนดเสน ทางการขนสงขอมูลผา นเราทเตอร ซ่ึงเปนการขนสง ขอมลู จากเครือขายหนึง่ ไปยงั อกี 123

เครือขา ยหน่ึงผานระบบอินเตอรเน็ต Internetwork Layer เปนเหมือนทางดว นของขอมลู ทีซ่ ง่ึ แพก็ เก็ตขอ มลู จะถูก จัดเรยี งลาํ ดบั กําหนดเสน ทางการขนสง และจดั สง ผา นเครอื ขายแพ็กเก็ตสวติ ช่งิ (packet-switching) และเลเยอรน้ี ยงั เปนเหมอื นท่ีอยขู องโปรโตคอล IP (Internet Protocol) ซงึ่ เปนอกี ครงึ่ หน่งึ ของ TCP/IP โปรโตคอลตางๆ ที่ ไดร ับการพฒั นาใหรบั ผิดชอบการทํางานตา งๆ ในเลเยอรน ้ี มดี งั น้ี 5.4.3.1 IP (Internet Protocol) เปนโปรโตคอลการรับสง ขอ มลู ใน Network layer แบบไมตอ งการจดั ต้งั การเชื่อมตอ (Connectionless Oriented) ที่ถกู ใชโ ดยชุดโปรโตคอล TCP/IP ซึ่งโดยทวั่ ไปสาํ หรบั ระดับชน้ั ที่ 3 นี้มที างเลือก สองแบบคอื สรา งเปน วงจรเสมือน (virtual circuit) หรือจัดสง datagram ในท่นี ี้ IP ไดเ ลือกสภาพแวดลอ มแบบ datagram ซงึ่ หลักการทํางานตา งๆ จะตรงขา มกับวงจรเสมอื นทช่ี ดุ TCP ใชอยูบ น Transport Layer โดยสรุป แลว ชุดโปรโตคอล TCP/IP นอ้ี อกแบบมาเพ่ือใชก ับสภาพแวดลอ มแบบ datagram แตไ ดเพ่มิ ความนา เชือ่ ถือเขา ไป ไวดวย โดย IP จะทําการขนสงขอมลู เปน แพก็ เก็ตพิเศษทเ่ี รียกวา Datagram ซ่งึ มภี าระหนาทีด่ ังนี้ ƒ กาํ หนดแอดเดรส โดยรวมจาก network ID และ local host ID จัดการ status messages ตางๆ ซึ่งกําหนดไว 4 แบบคือ destination unreachable/invalid, time out, parameter error และ redirect request ƒ จดั การทํา routing โดยดําเนินตาม Gateway- Gateway Protocol (GGP) และยงั กําหนดเวลาที่เรียกวา time to live โดยจะลดคาลงเรื่อยๆ เม่อื IP datagram ไดผา น เขาไปในเราทเ ตอรแตล ะตวั เพ่อื ปองกนั การเกดิ ขยะบนเครือขาย ƒ อีกหนา ที่หน่งึ คือกําหนดชนดิ ของบริการเพ่ือบอกวา datagram จะเลือกใชเสนทางแบบใด ระหวา งเสน ทางทม่ี กี ารหนว งเวลาตํ่า หรือเสน ทางทีม่ ีแบนดว ดิ ธ (bandwidth) สูง หรือ เสนทางทม่ี คี วามนา เชื่อถอื สูง รปู ที่ 5 – 4 IP Datagram 124

IP เปนโปรโตคอลแบบ Packet Switched ท่ีไมต อ งการการเชือ่ มตอ เชน เดยี วกับ UDP ท่ไี มมีการตรวจสอบความผดิ พลาดในการสง ขอ มลู IP มีหนา ทห่ี ลักในการกําหนดเสน ทางการสง ใหก ับ datagram ซง่ึ ทําไดโ ดยการตรวจสอบแอดเดรสของผสู ง และผูร ับ และรบั ขอมลู แอดเดรสปลายทางท่ตี ดิ มากับแตละ datagram แลว นําไปเปรียบเทียบกับ routing table ซ่ึงชวยในการพิจารณาวาจะสง datagram น้ันไปตามเสน ทางใด ตัวอยา งเชนไป ยงั เครอื่ งคอมพวิ เตอรเ คร่ืองใดเครอื่ งหนงึ่ หรอื ไปยังระบบเครอื ขา ยอื่น นอกจากนัน้ ถาจําเปนตองแตก datagram ให เปนหนวยทเี่ ลก็ ลง งานในการแยก datagram และประกอบขนึ้ มาใหมกต็ กเปนหนาทีข่ องโปรโตคอล IP (Internet Protocol) ซงึ่ ทําหนาทห่ี าที่อยปู ลายทางและเสน ทางท่ใี ชข นสง ขอมูลใสเ ขาไปในสว นหวั ของแพ็กเกต็ ขอมูล เพอื่ ให สามารถสงไปถงึ ปลายทางไดดว ยการใช Dynamic Routing Table 5.4.3.2 ARP (Address Resolution Protocol) กอ นท่ี IP packet จะถูกสงไปยงั Host อ่นื จะตอ งทราบท่ีอยปู ลายทางโดยโปรโตคอล ARP จะทําการตรวจสอบ MAC Address ในหนวยความจาํ แคชของเราทเตอรก อน ถา ไมพบแสดงวาแอดเดรส ปลายทางเปน โฮสตใหมทยี่ งั ไมเ คยสงขอ มูลไปกอน ดังนนั้ ARP จะทําการสง สญั ญาณรอ งขอแอดเดรสจากโฮสตต างๆ บนระบบเครือขาย หากตรวจพบวามีแอดเดรสตรงกบั ของตนเองจะทาํ การสง แอดเดรสตอบกลบั ไปยงั เครอ่ื งคอมพวิ เตอร ทสี่ ง ARP ออกมา เพื่อนําไปบันทึกใน Route table ของเราทเตอร 5.4.3.3 RARP (Reverse Address Resolution Protocol) โปรโตคอล RARP จะทาํ ในทางกลับกนั กบั โปรโตคอล ARP คอื RARP จะให หมายเลข IP แกเครอื่ งทรี่ องขอ เมอ่ื RARP ไดรับการรอ งขอ IP Address จากโหนด จะทําการตรวจสอบ IP Address ใน Route table ของเราทเตอร เพื่อทาํ การสงคา IP Address กลบั ไปยงั เครื่องทร่ี องขอ และในทาํ นอง เดยี วกันถาไมพ บในหนว ยความจาํ แคชของเราทเ ตอรจะทําการสงคาํ รองขอออกไปบนระบบเครือขาย เพอ่ื ใหเ ครอ่ื ง ปลายทางสง IP Address กลับมาให 5.4.3.4 ICPM (Internet Control Message Protocol) เปนโปรโตคอลทีถ่ ูกใชใ นการรับ-สง สถานภาพในการขนสง ขอมลู โดยท่วั ไปเราทเ ตอรจะใช ICPM ในการควบคุมการไหลของกระแสขอมูล หรอื ควบคุมอตั ราเร็วในการขนสง ขอมลู ระหวางเราทเ ตอรด ว ยกัน สาํ หรับขอความในการรายงานสถานภาพของการขนสงขอ มูลมอี ยู 2 ชนิด คอื รายงานความผดิ พลาด (Reporting Error) และขอ มูลลําดับการสง (Sending Query) 5.4.4 Network Access Layer ประกอบดว ย Data Link และ Physical Layer ของ OSI Model เปนการเช่อื มตอทาง กายภาพระหวางระบบเครอื ขายทม่ี สี ถาปตยกรรมแตกตา งกนั เชนระหวา งเครือขา ยโทเกน ริงกับเครือขายอีเธอรเ น็ต เปนตน เมอ่ื Network Access Layer ขยายออกไปรวมกบั การสอ่ื สารโดยทวั่ ไป ก็จะตอ งมโี ปรโตคอลทเี่ กยี่ วของกบั โมเด็ม การเขารหัสขอ มลู การโยกยา ยไฟล และอน่ื ๆ อกี มาก 125

5.5 TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) Transmission Control Protocol / Internet Protocol (TCP/IP) เปน ชดุ ของโปรโตคอลตาม มาตรฐานอตุ สาหกรรมทีไ่ ดร บั การออกแบบมาสาํ หรบั การส่ือสารในระบบเครือขายคอมพวิ เตอร ในสภาวะแวดลอ มท่ี แตกตางจากกัน และย่ิงไปกวา นัน้ TCP/IP ยังเปนโปรโตคอลท่สี ามารถกาํ หนดเสนทางในการขนสง ขอ มูลได จึงถกู กําหนดใหเ ปนโปรโตคอลมาตรฐานในการส่ือสารบนระบบอนิ เตอรเน็ต ตามท่อี ธิบายไวขา งตน 5.5.1 การกําหนดแอดเดรส (Addressing) การท่จี ะทราบไดวาเคร่อื งปลายทางอยูทใ่ี ดในการติดตอ ส่อื สารบนเครือขายอินเตอรเ น็ตจําเปนทีจ่ ะตอง ทราบที่อยขู องเคร่ืองปลายทางวา อยูทใี่ ด การกําหนดท่อี ยูบนเครือขา ยอนิ เตอรเ นต็ ทําโดยการใช IP Address โดยที่ เครื่องทุกเครอ่ื งท่ตี อมายงั เครอื ขา ยอนิ เตอรเน็ตจาํ เปนตองมี IP Address เปนของตัวเอง และทสี่ ําคัญ IP Address น้ันตองไมซ ํ้ากับ IP Address ของเครอื่ งอ่ืนดวย จงึ สามารถสรปุ ไดว า เครอื่ งทุกเครื่องจะมีหมายเลย IP Address ท่ไี ม เหมือนกันเลย และเปนแอดเดรสท่ีแตกตางจากแอดเดรสจริง (MAC Address ใน NICs) ท่ีสามารถชเ้ี ฉพาะอปุ กรณ แตล ะชนดิ เฉพาะเครื่อง ในการกาํ หนดแอดเดรสโดยใช TCP/IP น้ัน แอดเดรสทถ่ี ูกจัดตั้งขึน้ มาจะมีความยาว 32 บิต (4 ไบต) และประกอบดวย 3 ฟลดคือ Address Type, Network Identifier และ Host Identifier รปู ท่ี 5 – 5 TCP/IP Packet Format Class Type จะเปน สวนทบี่ อกวา แอดเดรสทถ่ี ูกกาํ หนดใหน นั้ อยใู นคลาส (Class) ใด Network Identifier เปน หมายเลขทรี่ ะบุวาเครอ่ื งแมข า ย TCP/IP ถูกกาํ หนดใหอ ยูในระบบเครอื ขา ยทาง กายภาพเดียวกนั หรือไม โดยเครื่องแมข า ยทัง้ หมดที่อยูในระบบเครือขายเดยี วกันจะมี Network ID หมายเลข เดียวกนั เพ่อื ใหสามารถส่อื สารซ่ึงกันและกันได Host Identifier เปน หมายเลขท่ีระบุเคร่ืองแมขา ยภายในระบบเครือขาย โดย Host ID จะตอ งเปน คา โดยเฉพาะสําหรบั เคร่ืองแมขายแตละเครอ่ื ง ท่ไี ดร บั การกําหนดโดย Network ID และ IP Address จะระบุตาํ แหนง ของสว นประกอบตางๆ บนระบบเครือขา ย ดวยวิธีเดยี วกนั กับการกําหนดเลขทขี่ องบาน ท่รี ะบุวาเปน บานหลังใดในเมือง 5.5.2 Address Class InterNIC (Internet Network Information Center) เปนองคกรทีบ่ ริหารจดั การการใช IP Address ใหก ับคอมพิวเตอรต า ง ๆ บนเครอื ขา ยอินเตอรเ นต็ ในปจ จบุ นั เราใช IPv4 ซง่ึ จะมหี มายเลขทงั้ หมด 4,294,967,296 หมายเลข (256 x 4 ชุด) แตเม่อื เกบ็ เขาไวในเครอ่ื งคอมพิวเตอรจะเก็บเปนรปู ฐาน 2 สาํ หรับสําหรบั รปู แบบของ IP Address ในมุมมองของผใู ชจะเหน็ เปน ตัวเลข 4 ชุดทีค่ น่ั กนั ดว ยจดุ เชน 255.255.255.0 เปนตน 126

และแตล ะชดุ มี ตวั เลขอยู ระหวา ง 0 – 255 ในการสังเกตวาแอดเดรสท่ไี ดร ับน้ันอยใู นคลาส (Class) ใด สามารถทาํ ได โดยการสังเกตที่บติ แรกวา ขึน้ ตนดวยหมายเลขอะไร และเพ่ือใหงายตอการใชงาน IP Address จึงทําการจัดแบงตวั เลข ประจําบิตตางๆ ออกเปน 4 กลุม และแปลงใหเปนเลขฐานสบิ (Decimal) ดงั รปู รูปที่ 5 – 6 การเปล่ยี น IP Address เปน เลข Decimal Class A Addresses ในการกาํ หนดแอดเดรส หากบติ แรกของ IP Address เปน เลข 0 แสดงวาแอดเดรสที่ไดรบั นนั้ อยใู น Class A ซึ่งจากการทมี่ ีแอดเดรสอยูใน Class A นั้น 7 บิตถดั มาจะถกู ใชใ นการสรางแอดเดรสของระบบเครือขาย ซ่ึงสามารถ สรา งไดถงึ 128 Network สว นบิตที่เหลอื น้นั จะถูกกระจายเปน แอดเดรสของเคร่ืองคอมพิวเตอรนนั่ เอง Class A เปน IP ชุดแรกมีหมายเลข IP อยทู ี่ 1.0.0.1 – 126.255.255.254 โดย 1 ไบตแ รกจะเปน Network Address และ 3 ไบต ทเี่ หลอื เปน Host Address เหมาะสาํ หรบั เครอื ขายขนาดใหญ เพราะสามารรองรับการใชงานได 16 ลา นเครื่อง Class B Addresses ในการกาํ หนดแอดเดรส หาก 2 บิตแรกคอื 01 แสดงวา IP Address นอั้ ยใู น Class B และ 14 บิตถัดมา จะถกู ใชเ ปน Physical Network และ 16 บิตที่เหลือจะถกู แบงเปนแอดเดรสยอ ยไดอกี Class B มหี มายเลข IP อยูท่ี 128.0.0.1-191.255.255.254 โดยแบง 2 ไบตแรกจะเปน Network Address สว น 2 ไบตท ี่เหลือเปน Host Address เหมาะสําหรบั เครอื ขายขนาดใหญ แตเ ล็กกวา Class A เพราะสามารรองรบั การใชงานได 65,534 เครื่อง Class C Addresses สาํ หรบั Class C นน้ั 3 บิตแรกจะเปน 110 และ 21 บิตถัดมาจะเปน Physical Network สว น 8 บิตท่ี เหลือจะถูกใชในการกาํ หนดแอดเดรสยอยตอไป Class C มหี มายเลข IP อยูที่ 192.0.0.1-223.255.255.254 โดย 3 ไบตแ รกเปน Network Address และ 1 ไบตท ่ีเหลอื เปน Host Address เหมาะสําหรบั เครือขายขนาดเลก็ แตล ะ กลมุ มี 256 หมายเลข และสามารรองรบั จํานวนเคร่อื งไดไ มเ กิน 254 เคร่ือง Class D Addresses ใน Class D จะข้ึนตน ดวย 1110 และบิตท่ีเหลอื จะถกู นาํ มาใชใ นการกําหนดแอดเดรสยอยเลย Class D เปน IP สาํ หรับ Multiclass กลาวคอื สง แพก็ เกต็ ขอมลู กระจายใหกบั กลมุ คอมพิวเตอร ซ่งึ ประกอบไปดวยหมายเลข IP ต้งั แต 225.0.0.0 – 239.255.255.255 Class E Addresses สาํ หรบั Class E ยังคงสาํ รองไวสาํ หรับการใชง านในอนาคต มหี มายเลข IP ตงั้ แต 240.0.0.0 – 247.255.255.255 127

รปู ท่ี 5 – 7 การกําหนดคลาสของแอดเดรสบนเครือขายอินเตอรเ นต็ ในการใชง านชดุ โปรโตคอล TCP/IP น้ี ถาเปนระบบเครอื ขาย WAN จะสามารถใชไ ดบ น X.25, Frame Relay และ Switched Multi – Megabit Data Service (SMDS) แตถาเปนสภาพแวดลอมแบบ LAN กจ็ ะเขา กนั ไดดกี บั เครือขา ยอีเธอรเ น็ต สวนโปรโตคอลใน Application Layer ที่ TCP/IP รองรบั ไดเชน ISO File Transfer and Management (FTAM) , X.400 ซึ่งเปนมาตรฐานในการทาํ message exchange และ X.500 ซ่งึ เปนมาตรฐานในการทาํ Directory Services 5.5.3 Network Mask และ Subnet Mask Network Mask หรือ Net Mask เปนการระบุวา IP Address ท่เี ราใชม กี ่บี ิต หรอื ก่ไี บต ทเี่ ปน สวนของหมายเลขเครือขาย อธิบายครา ว ๆ กค็ ือ หากจะใชบ ติ ใดเปน หมายเลขเครือขา ยก็ตงั้ คาบติ น้นั ของ Net Mask เปน 1 ใหเ สมือนเปนหนากาก และบิตทีเ่ หลือใหเปน 0 ซงึ่ กค็ อื จาํ นวนบติ ทใี่ ชใ นสว นของหมายเลขเครอื่ งน้ันเอง ซ่งึ มี การกําหนด Net Mask ดังน้ี • Class A Network Mask 255.0.0.0 ใช 1 ไบตแรกเปน Network Address • Class B Network Mask 255.255.0.0 ใช 2 ไบตแ รกเปน Network Address • Class C Network Mask 255.255.255.0 ใช 3 ไบตแ รกเปน Network Address สําหรับ Subnet Mask จะใชใ นกรณที ตี่ องการขอยืมบางสวนท่ีใชบรกิ ารในการกําหนด Network Address มาเพิ่มในการกาํ หนด Host Address เพิ่มเติม ทั้งนเ้ี พอื่ ใหเกดิ มี Subnet เพ่มิ เติม ยกตวั อยา งเชนเครือขา ย ใน Class B หมายเลข 128.1. x.x (โดยที่ x มีคา 1-254) ดังนน้ั Network Mask กค็ ือ 255.255.0.0 สาํ หรบั การหา Subnet Mask นั้น ยกตวั อยางเชน IP Address หมายเลข 193.127.6.0 จะสามารถหา subnet ไดต ามวธิ ดี ังนี้ 1. IP Address 193.127.6.0 2. xxxx.xxxx.xxxx.xxxx.xxxx.xxxx.xxxx.xxxx ตอ งการหา subnet อยา งนอย 16 host ดงั นน้ั 16 host = 24, Host Address = 4 bit Network Address = 32 – 4 = 28 bit Subnet Mask = จาํ นวน bit ของ network Address = 28 bit เขียนเปน 11111111 .11111111. 11111111. 11110000 128

3. จากตัวเลข 1 – 3 ชดุ แรก จะสามารถคาํ นวณแตละชดุ ไดเปน = (1 × 27) + (1 × 26) + (1 × 25) + (1 × 24) + (1 × 23) + (1 × 22) + (1 × 21) + (1 × 20) = 255 5. จากตัวเลขชดุ สุดทา ยสามารถคํานวณไดเปน = (1 × 27) + (1 × 26) + (1 × 25) + (1 × 24) + (0 × 23) + (0 × 22) + (0 × 21) + (0 × 20) = 240 ดงั น้นั Subnet Mask ของ IP Address 193.127.6.0 0 จงึ มคี า เปน = 255.255.255.240 นั้นเอง เน่ืองจากขณะน้ชี ุดโปรโตคอล TCP/IP กาํ ลังเผชิญปญ หาหลัก 2 ขอคอื IP address space กําลังจะเต็ม เนอื่ งจากมผี ูน ยิ มใชอนิ เตอรเน็ตมาก ในขณะท่ี IP address น้จี ะไมส ามารถใชซ ํา้ กนั ได และอีกปญ หา หนง่ึ คือ routing table โดยเฉพาะใน backbone router จะตองใหญขนึ้ เรื่อยๆ เนอื่ งจากใชระบบ flat address space นัน้ คอื จะย่ิงตอ งใชเวลาในการทาํ routing มากขึน้ ดงั น้ัน Internet Engineering Task Force (IETF) จึงไดจ ัดทาํ กลมุ วจิ ยั ขึ้นมาเรยี กวา IP - The Next Generation (IPng) ซ่งึ ขณะนไ้ี ดเตรยี มแนวทางแกไ ขปญหาไว 2 ทางคอื TCP & UDP with Bigger Address (TUBA) โดยกาํ หนดโฮสตเ ปน 2 คลาส คือคลาสหน่งึ รบั เฉพาะ IP อยางเดยี ว และอกี คลาสหน่งึ เปน dual stacked host ซงึ่ จะรองรบั ท้ัง IP และ ISO Connectionless Network Protocol (CLNP) แตอยา งไรก็ตามจะตองไมม ีผลกระทบตอ การใชแ อพพลเิ คชนั่ ตา งๆ เชน telnet, SMTP หรอื FTP สําหรับอกี แนวทางหน่งึ เรยี กวา SIP-P เปนการรวมขอ เสนอ 2 ขอคือ “P” Internet Protocol (PIP) และ Simple IP (SIP) รวมทงั้ กําลงั มีการพฒั นา IPv6 ขึน้ มาใชงานแทน IPv4 ซงึ่ ใชง านอยูในปจ จุบัน เพ่ือแกปญหา IP Address ไมเพียงพอตอ ความตองการ 5.6 NetBIOS NetBIOS เปนโปรโตคอลทไ่ี ดร ับการออกแบบใหเ ปน โปรโตคอลตัวเชอื่ ม (interface) ระหวา งฮารดแวรก บั ซอฟตแ วรระบบปฏบิ ตั กิ าร เพ่ือใหโ ปรแกรมประยุกตส ามารถสอ่ื สารกับเครือขายไดโดยเปน อสิ ระจากฮารดแวร ทง้ั น้ี โปรแกรมประยกุ ตต างๆ จะสามารถเขา ถงึ เลเยอรสงู สดุ ของ OSI model ไดเทาน้นั ซง่ึ ทาํ ใหโปรแกรมประยกุ ตทสี่ ราง ขน้ึ มาสามารถทํางานไดในเครือขายทีม่ ีสภาพแวดลอ มของระบบเครือขายไมเ หมือนกนั ทง้ั นี้ NetBIOS จะทาํ หนาท่ี ขนสง ขอ มลู ไปยงั โปรแกรมประยุกตท ่ีอยูบนเครื่องอื่นในเครอื ขา ยให ในชว งเริม่ ตนนนั้ NetBIOS ไดรับการออกแบบ ใหท าํ งานไดก บั เคร่ืองคอมพิวเตอร PC ของ IBM ในระบบเครอื ขา ย LAN เทา นน้ั แตป จจุบัน NetBIOS ได กลายเปน พน้ื ฐานการทํางานของโปรแกรมประยกุ ตบนระบบเครือขายไปแลว โดย NetBIOS เปนโปรโตคอลท่ถี กู ใช งานอยางแพรห ลาย และสามารถทาํ งานไดท ง้ั บนระบบเครอื ขายอเี ธอรเนต็ และเครือขายโทเกนริง NetBIOS ไดร บั การออกแบบมาใหเปน ตวั เชือ่ ม โดยเปนสว นขยายของ BIOS ทีช่ วยใหส ามารถตดิ ตอ ใช งานบริการบนเครือขา ยได จงึ กลาวไดว า NetBIOS ถูกออกแบบใหเ ปน Application Program Interface (API) ในขณะเดียวกัน NetBIOS กถ็ อื วา เปน โปรโตคอลไดเ ชนเดียวกันกับ TCP/IP เพราะมชี ุดของโปรโตคอลช้นั ลา งลงไปทีส่ ามารถทํางานรว มกนั ได แรกเร่ิม NetBIOS ถูกออกแบบใหทาํ งานกบั เครอื ขายขนาดเลก็ ท่เี ปนเครือขาย ระดบั ทองถิน่ ดงั นัน้ NetBIOS จึงถูกออกแบบใหทาํ งานรวมกบั NetBEUI (NetBIOS Extended User Interface) ซงึ่ เปน network-transport protocol ดงั นี้ 129

NetBIOS over NetBEUI Layer Protocol Description 7 Application Redirector เปนตวั redirect คําสัง่ ใหอ อกไปยงั เปา หมายผานทางเครอื ขาย 6 Presentation SMB Server Message Blocks ชวยใหส ามารถทํา file sharing, print sharing และ user-based messaging 5 Session NetBIOS ใหบ รกิ าร name service, datagram service และ session service (อานรายละเอยี ดในหวั ขอ NetBIOS service) 4 Transport 3 Network NetBEUI ใหบ ริการขนสง ขอมลู 2 Data link 1 Physical NIC Driver, NDIS NIC Adapter 5.6.1 NetBIOS name การที่โหนดแตละโหนดจะสื่อสารกนั ไดจะตองมี NetBIOS name ทีไ่ มซ ํ้ากนั ในเครือขา ย ซึ่งโหนด อาจจะหมายถงึ เคร่ืองคอมพิวเตอร เราทเตอร เครอ่ื งพิมพ โดย NetBIOS Name จะมีชอื่ ยาวไดสูงสดุ 16 ไบต หรอื 16 ตวั อกั ษร แตส ําหรับระบบปฏบิ ัตกิ ารของไมโครซอฟต สามารถตง้ั NetBIOS name ไดสูงสุดเพยี ง 15 ตวั อกั ษร เทา นั้น เพราะไบตที่ 16 จะถูกนําไปใชเ พ่ือบง บอกชนดิ ของ NetBIOS name น้ันๆ เชน domain name, group name, computer name หรืออ่นื ๆ NetBIOS name โดยทวั่ ไป สามารถแบง ออกไดเปน 2 ประเภทคอื • Unique name คอื ชอื่ ท่ีไมสามารถซ้ํากนั ไดใ นเครอื ขายวงเดียวกัน โดยสว นใหญจะเปน Computer name เชน MYMACHINE • Group name คอื ช่ือของโดเมนหรอื เวิรคกรปุ (workgroup) ท่ีเคร่อื งน้ันๆ สงั กดั อยู เชน MYWORKGROUP เนอื่ งจาก NetBIOS ทํางานบน Session Layer ซงึ่ อยเู หนือ Network Layer ดงั นั้น NetBIOS จะไมมขี อมลู ท่ีเก่ยี วของกับแอดเดรสบนระบบเครือขา ย เชน ขอมลู IP ของ NetBIOS name 5.6.2 วิธกี ารสงขอมูลของ NetBIOS NetBIOS ไดร ับการออกแบบใหท าํ งานกบั กลุมของเครือ่ งคอมพิวเตอรท ใ่ี ชสอื่ การแพรก ระจายขอมลู เดยี วกัน ซง่ึ สามารถทาํ งานไดท ั้งแบบ connection-oriented และแบบ connectionless นอกจากนีย้ งั สนับสนุนการ ทาํ งานแบบ broadcast และ multicast อีกดว ย เม่ือโหนดตองการสือ่ สารผานเครอื ขาย สามารถทาํ ได 2 วธิ ี คือ 5.6.2.1 Session mode เปน การรับสงขอ มูลทีม่ ีขนาดใหญมรี ะบบตรวจสอบขอผิดพลาดและการกคู ืน (recovery) แตมีขอเสียทเ่ี ปนการสือ่ สารแบบ 1 ตอ 1 เทา น้ัน ขนาดของขอ มลู สามารถขยายไดสูงสดุ ถงึ 64 Kbytes นอกจากนี้ยังมี NetBIOS session control command และ NetBIOS session data transfer command ซง่ึ ชว ยให สามารถทาํ การสอื่ สารผา นการจดั ต้งั การสนทนาได (connection-oriented connection) 130

5.6.2.2 Datagram mode (รวมถึงการสงขอ มลู แบบ broadcast) สามารถรับสง ขอ มูลไดเรว็ ท่ีสดุ แตไมมกี ารรบั ประกนั วาขอ มูลจะไปถงึ ปลายทางหรอื ไม และไมส ามารถสงขอ มลู ซํ้าในกรณที ข่ี อมลู ไปไมถ งึ ปลายทางได โดยปกตจิ ะมีขนาด 512 ไบต แตส ามารถสื่อสารกบั เครื่องคอมพิวเตอรอื่นไดหลายเครอ่ื งในเวลาเดยี วกนั (connectionless connection) 5.6.3 NetBIOS Service หลายคนอาจจะเคยใชง านบรกิ าร Browsing (ผา นทาง network neighborhood), domain authentication, trust, file sharing หรอื printer sharing ซงึ่ โปรแกรมประยกุ ตเ หลานี้ลวนทาํ งานไดโ ดยใช พน้ื ฐานจาก บริการพื้นฐานของ NetBIOS มี 3 ชนดิ ดว ยกัน คือ 5.6.3.1 Name Service เปน บริการทชี่ ว ยให NetBIOS node สามารถลงทะเบยี น NetBIOS name ท่เี ปน เอกลกั ษณ (unique name หรอื group name) ในระบบเครอื ขายได เชน เม่ือเครื่องคอมพวิ เตอรเปด เคร่อื งขนึ้ มา ใหม มันจะสง ADD NAME QUERY ออกไปเพ่อื ตรวจสอบวา มเี คร่ืองคอมพิวเตอรหรือ NetBIOS node อ่ืน ใดใชช อื่ NetBIOS name ซ้ํากันหรือไม ซ่ึงโดยปกติแลว หากไมม ีการตอบกลับ (response) กลบั มาภายหลังการสง คิวรดี ังกลาวออกไปแลว หกครงั้ ใน 0.5 วนิ าที ถอื ไดวา NetBIOS name ดังกลา วไมซ า้ํ กบั ใคร (ในขณะน้นั ) สามารถ ใชง านเปน NetBIOS name ได ทั้งน้ีบริการ Name service น้ีสามารถตรวจสอบ NetBIOS name ไดท้ัง unique name และ Group name ดว ย 5.6.3.2 Session Service เปน บรกิ ารที่ใชการสอ่ื สารแบบ connection-oriented ซงึ่ มคี วามเชอื่ ถอื ได และเปน การ ส่อื สารแบบ full-duplex ทั้งน้ี NetBIOS ตอ งการอยางนอย 1 โพรเซส เพื่อทาํ หนา ที่เปน ไคลเอนต และตัวอืน่ ๆ เปน เซริ ฟ เวอร การทจ่ี ะจดั ตงั้ การสนทนาไดจะตองมกี ารเตรียมการท้งั สองฝา ย ฝายแรกจะเปน ตวั ผรู บั (Listen) ในขณะทอ่ี กี ฝายจะเปนฝา ยผเู รียก (Call) ทัง้ นฝ้ี ายผรู บั จะอางองิ ชอ่ื จากตาราง NetBIOS name ของตัวเองและยัง ตองตรวจสอบชอื่ ของฝง ตรงขา มอีกดวย ถา ผฝู ายรับไมพ รอ มท่ีจะรับการตดิ ตอ การตดิ ตอ ทีเ่ กดิ ขน้ึ จากฝา ยผเู รียกกจ็ ะ ลมเหลว หากสามารถจดั ต้งั การสนทนาไดส าํ เร็จ โปรแกรมประยกุ ตของทัง้ สองฝายจะไดร บั ขอ มลู session-id จากนนั้ โปรแกรมประยุกตจ ะเริ่มการรบั สง ขอ มลู และในตอนทายของการติดตอทง้ั สองฝา ยสามารถเปนฝายสงคําสัง่ Hang-Up เพือ่ ยกเลิกการเชอ่ื มตอ ได การสื่อสารแบบ Connection-Oriented นไ้ี มม กี ารควบคมุ อัตราการขนสงขอมลู เพราะถอื วา LAN มคี วามเรว็ สูงเพียงพอท่ีจะขนสง ขอมลู ไดโดยไมมีปญ หา 5.6.3.3 Datagram Service เปนการสือ่ สารท่ีสามารถสง ขอ มลู ไปยังเครอ่ื งทร่ี ะบุหรอื สง ไปยังทกุ เครอ่ื งในกลมุ ที่ระบหุ รือ แพรกระจายขอ มูลไปยังวง LAN ได บรกิ ารนใ้ี ชก ารสอื่ สารแบบ connectionless เชนเดียวกันกับการรบั สง ขอ มูล แบบ Datagram แบบอนื่ ๆ เชน UDP/IP โดยผสู ง จะใชค ําส่ัง Send_Datagram ซ่ึงตองระบผุ รู บั ปลายทางดวย ซ่งึ อาจจะเปน กลุม หรอื NetBIOS node เด่ยี วๆ ก็ได สว นทางดานผทู ี่เรียกใชคําสัง่ Receive_Datagram น้นั จะตอ งระบุ local name หรอื ชอื่ ของปลายทางท่ตี อ งการรบั นอกจากน้ยี งั มคี ําสัง่ Send_Broadcast_Datagram 131

ซึง่ จะสง ขอความไปยงั ทุกเคร่ืองใน LAN ซง่ึ หากมโี พรเซสที่รันคาํ ส่ัง Receive_Broadcast_Datagram ไวกจ็ ะ ไดร ับ datagram ที่ถกู สงออกมานน้ั ไป 5.6.4 NetBIOS Encapsulation โดยปกติแลว NetBIOS ทาํ งานไดเปน อยางดบี นโปรโตคอล NetBEUI แตเพอ่ื ให NetBIOS สามารถทาํ งานขามเครือขายได จึงไดมกี ารนาํ NetBIOS ไปใชงานบน routable protocol อืน่ เชน TCP/IP และ IPX/SPX ดังนน้ั เพ่ือใหแนใ จไดว า NetBIOS สามารถทาํ งานไดบน TCP/IP และ IPX/SPX ไดด เี ชนเดียวกับ การรนั NetBIOS บน NetBEUI หรือ NBF จึงไดม ีการนํา encapsulation มาใช ดงั นี้ 5.6.4.1 NetBIOS over IPX/SPX IPX เปน โปรโตคอลที่พฒั นาขึน้ โดย บรษิ ทั Novell และไดมีการเผยแพรการใชง าน NetBIOS over IPX ในป 1986 ตารางดา นลางแสดงกลไกการทาํ งานของ NetBIOS over IPX (ในหัวขอ นี้ ไมไ ดเ จาะลกึ ในรายละเอยี ดของ NetBIOS over IPX) NetBIOS over IPX Layer Protocol Description 7 Application Higher level protocols e.g. SMB / e.g. Browser Service 6 Presentation CIFS 5 Session Session Management 4 Transport User Datagram Protocol, Name Protocol Management Protocol, NetBIOS 3 Network Diagnostic and Monitoring Protocol IPX 2 Data link e.g. IEEE 802.2 1 Physical Token Ring / Ethernet etc 5.6.4.2 NetBIOS over TCP/IP (NBT) ภายหลังจากทเ่ี ครือขา ยอินเตอรเน็ตไดรบั ความนิยม มผี นู ําระบบเขามาเช่อื มตอจํานวนมาก และเพ่อื ใหการใชงานเปน ไปในแนวทางเดยี วกนั จงึ ไดม กี ารเผยแพร RFC (request for comment) 2 ฉบับ ดังนี้ 1. RFC 1001 (PROTOCOL STANDARD FOR A NetBIOS SERVICE ON A TCP/UDP TRANSPORT: CONCEPTS AND METHODS) 2. RFC 1002 (PROTOCOL STANDARD FOR A NetBIOS SERVICE ON A TCP/UDP TRANSPORT: DETAILED SPECIFICATIONS) ท้งั นีเ้ พ่ือกาํ หนดมาตรฐานในการนาํ NetBIOS มาใชงานบนระบบเครอื ขาย TCP/IP ให สามารถใชง าน NetBIOS service ไดครบ โดยพยายามใหมกี ารเปล่ียนแปลงใหนอ ยทส่ี ดุ และสามารถเขา กบั มาตรฐาน เดิมได และยังทาํ งานไดอ ยา งยดื หยนุ และมปี ระสทิ ธิภาพ โดยไมจ าํ เปน ตอ งมีศนู ยกลางในการควบคุม และสามารถ ทาํ งานไดโ ดยไมจําเปน ตอ งใชสง่ิ อํานวยความสะดวกอ่ืนใดเพม่ิ เติม 132

มกี ารใชง าน NetBIOS over TCP/IP ท่ีเห็นไดช ดั เจนคือ ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows ของไมโครซอฟต และ Samba ทีส่ ามารถทํางานไดบ นยูนกิ ซและลนี ุกซ ท้ังนี้การนาํ ไปใชข องทง้ั สองคายอาจจะแตกตาง ไปจาก RFC ทีไ่ ดก าํ หนดไวบา ง แตกด็ าํ เนินไปในแนวทางคลา ยๆ กนั อยา งไรก็ตามในทนี่ ้ีจะเนน ถงึ การอิมพลีเมนต NetBIOS over TCP/IP ของไมโครซอฟตม ากกวา เพราะมกี ารนําไปใชงานมากกวา NetBIOS over TCP/IP Layer Protocol Description 7 Application e.g. Browser Service 6 Presentation Higher level protocols e.g. SMB/CIFS 5 Session Session Service 4 Transport Name Service datagram service 3 Network UDP, TCP 2 Datalink IP 1 Physical e.g. IEEE 802.2 Token Ring / Ethernet etc 5.6.5 NetBIOS Service over TCP/IP บริการของ NetBIOS บน TCP/IP มีดวยกนั 3 บริการเหมือนกับ NetBIOS ทีร่ นั บน NBF ซึ่งมีรายละเอยี ดเพมิ่ เติมของแตละบริการดงั น้ี 5.6.5.1 Name Service ใหบริการลงทะเบียนและยกเลกิ การใชง าน NetBIOS name ภายในระบบเครือขายที่อยใู น เซ็กเมนตเดยี วกนั โดยใชโ ปรโตคอล UDP พอรต 137 (broadcast packet) ท้งั น้ี Name service สามารถใชไ ดใน วง LAN เทา น้ันเนอ่ื งจากเราทเตอรสว นใหญจ ะถกู ตงั้ คา ใหไ มอนญุ าตใหแ พก็ เกต็ UDP ทแ่ี พรก ระจายออกมา ผา นไปได การท่ีบรกิ ารน้ีทํางานบนโปรโตคอล UDP ทาํ ใหมีขอ ดตี รงทส่ี ว นหัว (header) ของแพ็กเก็ตมขี นาดเล็กและใชเวลาใน การสอ่ื สารนอ ยกวา การใชโ ปรโตคอล TCP สว นขอเสยี ก็คือเมอ่ื สง ขอ มลู ออกไปแลว จะไมสามารถรไู ดเลยวา ขอ มูลถกู สงออกไปถงึ เปาหมายทต่ี องการจรงิ หรือไม 5.6.5.2 Datagram Service เปนบริการทีท่ าํ ใหส ามารถส่อื สารกับโหนดอน่ื ๆ ได โดยสามารถสง ขอ มูลไดทัง้ แบบ connectionless และแบบ broadcast โดยใชโ ปรโตคอล UDP พอรต 138 ตัวอยางการนาํ ไปใชง านท่เี ห็นไดชัดเจน คอื โปรแกรม browser ซงึ่ จะถูกเรยี กใชเ ม่อื ผูใชรนั network neighborhood จากเดสกท็อปของวนิ โดวส ซง่ึ browser service จะเรียกใชง าน datagram service โดยการแพรกระจายขอ ความออกไป ทัง้ นี้ Datagram service ซึ่งรนั อยูบน UDP น้ันก็มขี อ ดีและขอเสยี เหมอื นกบั Name service เชน เดยี วกนั 5.6.5.3 Session Service เปนบริการท่ใี หการเชอ่ื มตอแบบ Connection-oriented โดยใชโ ปรโตคอล TCP พอรต 139 ตวั อยางการใชงานที่เห็นไดชดั เจนคอื file sharing, printer sharing นอกจากนี้ยังมี network application 133

ของ Windows ทํางานโดยอาศยั บริการน้ี เชน Server Manager, Event Viewer, Register Editor และ Performance Monitor Session service มีความซับซอ นมากกวา name หรือ datagram service เพราะ session service ทํางานบนพอรต TCP ซึง่ ตองมีการจัดตงั้ การเชอื่ มตอ ตรวจสอบความถูกตองของเครื่องคอมพวิ เตอร ในระบบ ตรวจสอบความถกู ตองของผใู ช และยกเลกิ การเชอื่ มตอ อยางไรกต็ ามหากกลา วถงึ บริการ (service) หรอื แอพพลเิ คชั่น (application) ท่ที ํางานอยูในเลเยอรท สี่ ูงกวา NetBIOS มกั จะพบวาบรกิ ารดงั กลา วมักจะอาศัย บริการพืน้ ฐานทั้ง 3 อยา งของ NetBIOS จึงจะสามารถทํางานไดอ ยางสมบูรณ เชน Messenger Service ซงึ่ สามารถ ใชง านไดโดยการใชค ําสั่ง net send <destination> message ซึง่ สามารถระบปุ ลายทางเปน ชอ่ื ผูใช (user) เครอื่ ง คอมพวิ เตอรหนึง่ เครอ่ื งหรอื ทกุ เครือ่ งในโดเมนกไ็ ด หากเปาหมายเปนเครอ่ื งคอมพิวเตอร 1 เครอื่ ง NetBIOS name service ก็จะแพรกระจายขอ ความออกไปเพ่ือคนหาเคร่ืองคอมพิวเตอรด งั กลาว หรอื ในกรณีที่ปลายทางเปน ผูใช NetBIOS name service กจ็ ะแพรก ระจายขอ ความออกไปท้งั เครือขา ยเพ่อื คน หาผูใชซ งึ่ มชี อื่ ตามทีร่ ะบุ (ไบตท่ี 16 มคี าเปน <03h>) หลังจากนน้ั จะเปนขัน้ ตอนการสง ขอ ความทต่ี องการสง หากปลายทางเปน กลมุ ของเครอื่ งคอมพิวเตอร NetBIOS datagram service จะเปน ตวั สง แพรก ระจายขอ ความออกไปทง้ั เครอื ขา ย แตถาเปนเครื่องคอมพิวเตอร เครือ่ งเดียว NetBIOS session service จะเชื่อมตอ ไปหาเคร่ืองคอมพวิ เตอรนน้ั โดยตรง 5.7 NetBEUI (Network Basic End User Interface) โปรโตคอล NetBEUI เปน มาตรฐานของการสอ่ื สารขอ มลู ทีอ่ อกแบบขนึ้ มาอยางพิเศษ โดยการรว มมอื กนั ระหวางไมโครซอฟต และไอบเี อ็ม เพ่อื ใชใ นการส่อื สารขอมลู ในระบบเครอื ขายทีเ่ ปน เครื่องไมโครคอมพวิ เตอรข อง ไอบีเอม็ ซ่งึ เรมิ่ ตน ใชในป 1985 โดย NetBEUI เปน โปรโตคอลที่ไมม สี ว นในการระบเุ สน ทางสงผา นขอมูล (Non- routable Protocol) โดยจะใชว ธิ กี ารแพรก ระจายขอ มลู ออกไปในเครอื ขา ย และหากใครเปน ผรู บั ท่ถี กู ตองกจ็ ะนํา ขอมลู ทีไ่ ดรบั ไปประมวลผล ขอ จาํ กัดของโปรโตคอลน้ีคอื ไมสามารถทาํ การแพรก ระจายขอ มูลขามไปยงั เซก็ เมนตอนื่ ๆ ที่ไมใ ชเซ็กเมนตเดยี วกันได เนือ่ งจากอปุ กรณระบบเครอื ขาย เชนเราทเ ตอรไ มสามารถจะแพรก ระจายขอ มูลออกไปยงั เครือขา ยอ่นื ๆได เพราะถา หากยอมใหก ารสื่อสารระหวา งเครือขา ยเต็มไปดว ยขอ มลู ทีเ่ กดิ จากการ Broadcast จนทําให เครือขายตาง ๆ ไมสามารถตดิ ตอ สือ่ สารกนั ไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โปรโตคอล NetBEUI จึงเหมาะทีจ่ ะใชงานบน เครือขายขนาดเล็กทมี่ เี ครือ่ งคอมพวิ เตอรไมเกิน 50 เครื่องเทาน้ัน รูปท่ี 5 – 8 การทํางานของ NetBEUI ในโครงสราง OSI Model 134

NetBEUI ถกู พัฒนาขึ้นโดยบริษทั IBM เพอ่ื เปน โปรโตคอลระบบเครือขา ยของเครอ่ื ง PC และ ไมโครซอฟตไ ดน าํ มาใชในผลติ ภัณฑห ลายตัวดว ยกนั โดย NetBEUI ทํางานอยูบน Data-link layer และ เนือ่ งจากโปรโตคอลใน data-link layer เปน โปรโตคอลท่ีไมมีความสามารถในการกําหนดเสนทางการขนสง ขอ มูล (nonroutable protocol) ดงั นั้น NetBEUI กเ็ ปน nonroutable protocol ดวยเชน กนั ซงึ่ ถอื วาเปน ขอจาํ กดั ของโปรโตคอล NetBEUI NetBEUI สามารถทาํ งานไดเปนอยางดีและทํางานไดเร็วกบั เครอื ขา ยขนาดเล็กท่ีมีจาํ นวนเครอื่ งคอมพวิ เตอร ต้ังแต 20 – 200 เครื่อง และยังสามารถทาํ งานขา มเซ็กเมนตของ LAN ได แตตอ งมีเกตเวยเปนตวั ควบคมุ เซ็กเมนต อีกที ในความเปนจริงแลว ไมอาจเรียก NetBEUI เวอรชัน 3.0 วา เปน โปรโตคอล NetBEUI ไดเ ต็มท่ีนกั แตถ ือวา เปน NetBIOS Frame (NBF) format เสยี มากกวา เพราะ NetBEUI จะใชง าน NetBIOS interface และ interface อนื่ ที่อยสู งู กวา แต NBF นํา Transport Driver Interface (TDI) มาใชง านแทน ซ่ึง NBF กส็ ามารถ ทํางานรว มกันและเขากันไดดกี บั NetBEUI ทไี่ มโครซอฟตไดนาํ ไปใชง านในผลิตภัณฑตัวกอ นหนาน้ี และเนื่องจาก NetBEUI กเ็ ปน nonroutable protocol ซงึ่ ไมส ามารถสง ตอ แพก็ เกต็ ขอ มลู ผา น routed network ได แต NetBIOS ก็สามารถทํางานรว มกับ routable protocol ตัวอนื่ ๆ ได เชน IPX และ TCP/IP เมอ่ื NetBEUI เปนโปรโตคอลทีท่ าํ งานไดดีกวา โปรโตคอลตวั อ่ืนใน LAN แตท ํางานไดแยมากสําหรบั WAN จงึ มกี ารแนะนาํ ใหใ ชท ัง้ NetBEUI และ TCP/IP ใน Windows NT เปน ตนไป ทงั้ นจี้ ะตอ งมกี ารตดิ ต้งั NetBEUI ในทั้ง 2 ฝง ของการสอ่ื สาร และตงั้ คาให NetBEUI เปนโปรโตคอลแรกท่ีจะถูกเรยี กใช (ใหลําดับ ความสาํ คญั มากกวา TCP/IP) โดย Windows NT จะเลอื กใช NetBEUI สาํ หรบั การสอ่ื สารภายในเซก็ เมนตของ ระบบเครือขาย LAN และใช TCP/IP สาํ หรับการสื่อสารไปยงั เราทเตอรหรือ WAN สว นอน่ื ๆ 5.8 Netware Protocol บรษิ ัท Novell ไดพัฒนาโปรโตคอลสาํ หรับใชกบั ระบบเครอื ขาย Netware ในทํานองเดยี วกบั TCP/IP ไดแ ก Media Access Control, IPX/SPX (Internetwork Packet Exchanger/Sequence Packet Exchanger), RIP (Routing Implement Protocol), SAP (Service Advertising) และ NCP (Netware Cone Protocol) แตเน่อื งจากโปรโตคอลเหลาน้ี มีใชกอ นท่ีจะมีการกาํ หนดมาตรฐาน OSI จงึ มบี างสวนไมค อ ยตรงกบั OSI Model รปู ท่ี 5 – 9 แสดงใหเ ห็นการเปรยี บเทียบโปรโตคอลของ NetWare กับ OSI Model รปู ท่ี 5 – 9 เปรียบเทียบ NetWare กับ OSI Reference Model 135

5.8.1 Media Access Control โปรโตคอลน้จี ะทาํ การกาํ หนดแอดเดรสใหแตละโหนดในระบบเครอื ขา ย NetWare โดยสรา งเปน แอดเดรสในการด เชื่อมตอ ระบเครอื ขา ย โปรโคอลนม้ี ีหนาทใ่ี นการจดั เก็บสว นหวั ของแพก็ เกต็ ขอมูล ซึ่งเปน แอดเดรส ตนทางและแอดเดรสปลายทาง เมื่อแพ็กเก็ตขอ มลู ถูกสง ออกไปยังเครื่องคอมพวิ เตอรตา งๆ ในระบบเครือขาย เครื่อง คอมพิวเตอรแตล ะเคร่ืองจะทําการตรวจสอบวาแอดเดรสน้นั เปนแอดเดรสของตนเองหรอื ไม หรือในกรณที ่ีตองการ แพรกระจายขอ มูล การด เชอ่ื มตอระบบเครอื ขา ยจะทําการคัดลอกขอ มลู นัน้ สงให Protocol Stack 5.8.2 IPX/SPX (Internetwork Packet Exchange and Sequence Packet Exchange) เปนโปรโตคอลที่ออกแบบโดยบริษัท Novell ซึ่งพฒั นามาจากโปรโตคอล XNS (Xerox Network System) ของบริษทั Xerox โปรโตคอล IPX (Internetwork Packet Exchange) เปนโปรโตคอล ท่ที าํ งานอยใู น Network Layer ใชจัดการการแลกเปลีย่ นแพ็กเกต็ ภายในเครอื ขายทั้งในสว นของการหาปลายทางและ การจดั สงแพก็ เก็ต โปรโตคอล IPX มีลักษณะการเชอ่ื มตอ แบบ Connectionless จงึ ไมค อยมีความนา เช่อื ถอื สวน SPX (Sequenced Packet Exchange) จะเปน โปรโตคอลทที่ าํ งานอยใู น Transport Layer โดยมหี นา ทีช่ วยใน การจัดการรกั ษาความปลอดภัยใหก ับขอ มลู และเพ่มิ ความนา เชอื่ ถือใหก ับโปรโตคอล IPX โดยจัดการใหสง ขอมลู ไป ถึงจุดหมายไดอ ยา งแนนอน รูปท่ี 5 – 10 การทํางานของ IPX/SPX ในโครงสราง OSI Model Novell ไดใ ชโ ปรโตคอลในโครงสราง XNS (Xerox Network System) ในการปรบั ปรุง Internet Datagram ของ IPX ใหมีการจดั เกบ็ แอดเดรสใน 2 รปู แบบ คือ ƒ Internetwork Addressing แอดเดรสของกลุมเครอื่ งคอมพิวเตอรใ นระบบเครอื ขาย ถกู กาํ หนด โดยหมายเลขเครือขายที่ระบุใหในขณะทําการตดิ ต้งั ƒ Internode Addressing แอดเดรสของบรกิ ารภายในโหนด ถกู กาํ หนดโดยหมายเลข Socket 5.8.3 RIP (Routing Information Protocol) โปรโตคอล RIP ชว ยในการแลกเปล่ียนขอ มลู ในระบบเครือขา ย NetWare เปนโปรโตคอลท่ีไดร ับ การพัฒนาบนระบบ XNS เชน เดียวกบั IPX แตในการใช RIP จะมีการเพิ่มขอมูลบางฟล ดเ ขา ไปในแพ็กเกต็ เพอื่ ชว ยในการเลือกเสน ทางในการขนสง ขอมลู ในการ broadcast ของโปรโตคอล RIP จะเกิดสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้ 136

ƒ เคร่อื งเวิรก สเตชน่ั สามารถคนหาเสนทางในการขนสง ขอมลู ทีเ่ ร็วท่ีสุดได ƒ เราทเ ตอรส ามารถรองขอขอ มลู จากเราทเ ตอรตัวอ่ืนๆ เพือ่ อัพเดทขอ มูล Route Table ใหทันสมัยอยตู ลอดเวลา ƒ เราทเตอรสามารถตอบสนองการรอ งขอขอมลู จากเคร่ืองเวิรค สเตชัน่ และเราทเ ตอรตวั อื่นๆ ได ƒ เราทเตอรม ั่นใจไดว า สามารถตดิ ตอ ถึงกนั ได ƒ เราทเ ตอรส ามารถตรวจพบความเปล่ยี นแปลงโครงสรา งในระบบเครอื ขาย 5.8.4 SAP (Service Advertising Protocol) โปรโตคอล SAP อนญุ าตใหโหนดทใี่ หบ รกิ าร เชน File Service, Print Service, Gateway Service และ Application Service สามารถประกาศการใหบริการเหลา น้ันพรอมท้ังระบุแอดเดรสของโหนดท่ี ใหบ ริการ ออกไปบนระบบเครือขา ย ทาํ ใหเ ครือ่ งลูกขายสามารถ access เขาไปยังทรพั ยากรระบบเครือขา ยเหลา นั้นได และจากการใชโ ปรโตคอล SAP ทําใหส ามารถทาํ การเพิ่มหรอื ลดสวนของการใหบ รกิ ารไดอยา งคลอ งตวั โดยปกตแิ ลว SAP Server จะทาํ การบอรดคาสตข อ มูลเหลา นอ้ี อกไปทกุ ๆ 60 วินาที โดยแพ็กเก็ตของ SAP จะประกอบดว ย ƒ Operating Information ทาํ ใหทราบถงึ กจิ กรรมทีแ่ พ็กเกต็ กาํ ลังทาํ ƒ Service Type ทาํ ใหท ราบชนดิ ของบริการทใ่ี หโดยเครอื่ งเซริ ฟ เวอร ƒ Service Name ทาํ ใหทราบชอื่ ของเครื่องเซิรฟเวอรท ใ่ี หบริการ ƒ Network Address ระบจุ าํ นวนระบบเครือขายทมี่ ีการใหบ รกิ ารนน้ั ๆ ƒ Node Address ระบุจาํ นวนเครอื่ งเซิรฟ เวอรท่ี broadcast การใหบรกิ ารนัน้ ๆ ƒ Socket Address ทาํ ใหทราบหมายเลข Socket ของเคร่อื งเซริ ฟ เวอรท ี่ใหบริการ ƒ Total Hops to Server เปน จํานวน Hop ที่จะเดินทางไปถงึ เครอ่ื งเซริ ฟเวอร ƒ Operation Field ระบุประเภทของการรอ งขอ ƒ Addition Information เปน ขอมลู 1 – 2 ฟลดท ีต่ อ ทา ย ทบี่ อกขอ มลู เพม่ิ เติม อยา งอนื่ ของเครื่องเซริ ฟเวอร 5.8.5 NCP (NetWare Core Protocol) โปรโตคอล NCP กําหนดการควบคมุ การเช่ือมตอ และสรา งการรองขอใชบ รกิ าร ทําใหเครอ่ื ง เซริ ฟ เวอรแ ละเครือ่ งลกู ขา ยสามารถตดิ ตอสอื่ สารระหวา งกนั ได อยางปลอดภัย 5.9 X.25 Product Switching กลุมของโปรโตคอลสาํ หรับระบบเครอื ขา ย WAN จะประกอบดวยโปรโตคอล X.25 ซ่งึ ใหบ ริการสลับวงจร (Switching Service) มกี ารใหบ รกิ ารสวิตช่งิ เปนครั้งแรกในการเชือ่ มตอ เครอื่ งคอมพิวเตอรจ ากระยะไกล (Remote) เขาสเู ครอื่ งคอมพวิ เตอรเ มนเฟรม โดยจะทาํ การแยกขอ มลู ออกเปน สวนๆ สง ผานเครอื ขายสายโทรศพั ท โดยเสน ทาง ระหวา งโหนดจะกระทาํ ผา นวงจรเสมอื น (Virtual Circuit) ขอมูลแตล ะสว นจงึ ถูกสง ผา นเสนทางตางๆ ไปยัง จุดหมายปลายทาง และเม่อื ถึงปลายทางแพก็ เกต็ ขอมลู เหลานัน้ จะถกู นํามารวมกันเพ่อื นาํ ไปใชงาน 137

โดยปกติโปรโตคอล X.25 จะประกอบดวยขอ มลู 128 ไบต แตอยา งไรกต็ ามเมอื่ เครอื่ งคอมพวิ เตอรต นทาง และเครอื่ งคอมพวิ เตอรปลายทางทําการเชอ่ื มตอกันไดแ ลว จะทําความตกลงระหวางกนั ในเรื่องขนาดของแพ็กเก็ตขอ มูล ได ตามทฤษฎแี ลว โปรโตคอล X.25 สามารถมีเสนทางในการขนสงขอ มูลได 4096 เสน ทาง และจะทําการขนสงขอมลู ดวยความเร็ว 64 Kbps ท่จี ัดวา มีความนา เชือ่ ถือ โปรโตคอล X.25 จะมีการทํางานใน Physical, Data link และ Network Layer ของโครงสรา ง OSI Model อยางไรก็ตามโปรโตคอล X.25 กม็ ขี อเสียอยู 2 ประการคือ ƒ กระบวนการ Store and Forward ในระหวา งเสนทางการขนสง ขอมลู ทําใหเกิดความลาชา โดยท่วั ไปจะเสยี เวลาประมาณ 0.6 วินาที จึงไมส ง ผลกระทบกับขอมลู ขนาดใหญ ƒ มคี วามตองการบัฟเฟอรขนาดใหญเพือ่ รองรับ กระบวนการ Store and Forward โปรโตคอล X.25 และ TCP/IP มีความเหมือนกนั ตรงทีต่ า งเปนโปรโตคอลแบบ Packet Switching แต ก็มคี วามแตกตางกนั บางอยางคอื ƒ TCP/IP มีการตรวจสอบความผดิ พลาดของขอมูลในลกั ษณะ End-to-End สว น X.25 จะมีการ ตรวจสอบความผดิ พลาดของขอ มูลในลักษณะ Node-to-Node ƒ TCP/IP การจดั เรยี งขอ มูลดว ยการควบคมุ การไหลของกระแสขอ มลู (Flow Control) ท่ีมีกลไก ซบั ซอนมากกวา X.25 ƒ X.25 ผกู ติดอยกู บั ลักษณะของการเชอื่ มตอโดยเฉพาะ สวน TCP/IP ไดรบั การออกแบบมาให สามารถใชร ูปแบบในการเชอ่ื มตอ ไดห ลายชนดิ 5.10 AppleTalk AppleTalk ใชในการกลา วถงึ ฮารด แวร และซอฟตแวรระบบเครอื ขา ย LAN ของบริษทั Apple โดยใช เครอ่ื งคอมพวิ เตอร Macintosh โดยท่ี protocol stack ของ AppleTalk เปนชุดของโปรโตคอลท่ีเปรยี บเทียบได กบั OSI/ISO Reference Model จาํ นวน 5 เลเยอรด ังแสดงตามรูปที่ 5 – 11 รูปท่ี 5 – 11 AppleTalk Protocol Suit 138

การจดั สง ขอ มลู ในระบบเครือขา ย AppleTalk อยูบนพน้ื ฐานของการใหบรกิ ารแบบไมตอ งการการเชื่อมตอ ดวยโปรโตคอล DDP ถงึ แมว าโปรโตคอลในระดับสูงจะเปนโปรโตคอลทต่ี อ งการการเชอื่ มตอในรปู ของการจดั ตัง้ การ สนทนาระหวางเครื่องคอมพวิ เตอรเ พ่อื ทาํ ใหม ัน่ ใจในความนาเชอ่ื ถอื ในการจัดสง ขอมูล โดยโปรโตคอลในแตล ะเลเยอร จะจดั ใหมกี ารใหบ ริการกบั โปรโตคอลท่ีอยใู นเลเยอรระดับเหนือข้ึนไปและเลเยอรระดับตํ่าลงมา รายการตอไปนีจ้ ะ อธิบายโปรโตคอลทม่ี ใี นแตล ะเลเยอร โดยเริม่ จากเลเยอรร ะดบั สูงท่สี ุด 5.10.1 Application Layer มโี ปรโตคอล AFP (AppleTalk Filing Protocol) ซง่ึ เปนโปรโตคอลการแบงปน การใชไ ฟลใ น โครงสรา ง AppleTalk ในโหมด Native 5.10.2 Session Layer ประกอบดว ย ƒ ASP (AppleTalk Session Protocol) จะบรหิ ารจักการการเช่ือมตอ ทางตรรกะกับ โปรโตคอลในเลเยอรระดับที่สงู กวา ƒ PAP (Printer Access Protocol) ทาํ งานกบั AppleTalk Transaction Protocol (อยใู น transport layer) เพอื่ สง คําส่ังจากเครื่องคอมพิวเตอรไปยังเคร่อื งเซริ ฟ เวอร 5.10.3 Transport Layer ประกอบดว ย ƒ ATP (AppleTalk Transaction Protocol) เปนโปรโตคอลทด่ี แู ลการขนสง แพ็กเกต็ ขอมลู ƒ NBP (Name-Binding Protocol) โปรโตคอลน้ีจะรบั ผิดชอบในการสรางการเชื่อมตอ ระหวางอุปกรณ กบั ชือ่ ของระบบเครือขาย ซง่ึ โปรโตคอล ATP และ NBP จะโตตอบกบั โปรโตคอล DDP ในระดับทอี่ ยูตํ่าลงมา ƒ ADSP (AppleTalk Data Stream Protocol) ซึ่งทํางานกับ Datagram Delivery Protocol (DDP – อยใู น network layer) เพอื่ อนุญาตใหเครอื่ งคอมพวิ เตอรจ ดั ตงั้ การ สนทนาโดยการส่อื สารแบบ 2 ทิศทาง 5.10.4 Network Layer ประกอบดวย ƒ DDP (Datagram Delivery Protocol) ทําหนา ที่ดแู ลการจดั สงขอ มลู ของระบบเครอื ขาย โดยการจัดเตรยี ม datagram และกาํ หนดเสน ทางการขนสง ให ƒ ZIP (Zone Information Protocol) ทาํ งานกบั โปรโตคอล DDP ในการกําหนดตําแหนง ของ nodes บนระบบเครือขา ย ƒ AEP (AppleTalk Echo Protocol) จดั ใหมีบรกิ าร echo กับเครอื่ งแมขา ยในระบบ เครือขาย AppleTalk ซึ่งสามารถสรางขอ มลู echo ไดม ากถงึ 585 ไบต ƒ RTMP (Routing Table Maintenance Protocol) จัดการเสนทางการขนสงขอ มลู ใหกับระบบเครือขา ย AppleTalk โดยจะสื่อสารกบั ระบบเครอื ขา ยท่ีรจู ัก และทาํ การติดตอกัน โดยตรงจงึ ชว ยลดความหนาแนน ในการขนสงขอ มลู ได 139

5.10.5 Data link layer ประกอบดวย ƒ LAP (Link Access Protocol) คือโปรโตคอลซง่ึ บรษิ ทั Apple จัดใหม เี พื่อสนับสนนุ โครงสรา งสถาปต ยกรรมใน Physical layer โดยโปรโตคอลนจ้ี ะรวมการสนบั สนนุ สาํ หรับ EtherTalk, LocalTalk, TokenTalk และ FDDITalk (ระบบเครอื ขายความเรว็ สงู ซึ่ง มีพ้นื ฐานการเดินสายเคเบิลดว ยเคเบลิ ใยแกว นําแสง และใชว ธิ ี token passing ในการ access) ƒ AARP (AppleTalk Address Resolution Protocol) ทใ่ี ชในการ map แอดเดรส ใหกับโปรโตคอลในเลเยอรต างๆ โดยมโี ครงสรา งของ packet แสดงตามรูปที่ 5 – 12 รปู ท่ี 5 – 12 AARP Packet Structure 5.11 APPC (Advanced Program to Program Communication) APPC เปน ชดุ โปรโตคอลของบรษิ ัท IBM ท่ขี ยายมาจาก SNA (Systems Network Architecture) ซ่งึ เปนสภาวะแวดลอมของระบบเครอื ขายที่ใชก ารประยกุ ตบนคอมพวิ เตอรเ คร่ืองอน่ื เปน peer ในการส่ือสารกนั โดยตรงผา นระบบเครอื ขา ย โดยไมต องอาศัยเคร่อื งแมข า ยท่เี ปนคอมพิวเตอรเ มนเฟรมเปนตวั กลาง APPC เรยี กอีก อยางหนง่ึ วา LU 6.2 (Logical Unit) เพือ่ อา งถงึ ชื่อ (อยางส้ัน) ที่โปรแกรมประยุกตใ ชใ นการทาํ ใหอปุ กรณต างๆ ทําการแลกเปลยี่ นขอมลู กนั ในสภาวะแวดลอม SNA LU 6.2 ถูกพัฒนาข้นึ สาํ หรบั นักพัฒนาโปรแกรม LU 6.2 ทีร่ ันภายใตระบบปฏิบัตกิ ารดอส สามารถ ติดตอสือ่ สารกบั เคร่อื งเมนเฟรมซึ่งรันภายใตร ะบบอน่ื ได โดยหลกั การโปรแกรมที่ไมเหมือนกนั สามารถ ติดตอ ซงึ่ กนั และกันได IBM ไดพฒั นา SNA กอ นทจี่ ะมีการใชเครอ่ื งไมโครคอมพวิ เตอร หลักการ SNA คือ การประมวลผล แบบกระจายงาน (distributed processing) การติดตอภายใต SNA จะผา นเครอื่ งเมนเฟรม แต LU 6.2 จะเปน ส่ือสารแบบจุด-ตอ -จดุ (peer-to-peer communication) LU 6.2 จึงเปนตวั ลดขดี จาํ กดั ตา ง ๆ ของ SNA ลง โดย LU 6.2 มีการเชื่อมตอ แบบ API (Application Program Interface) ซึง่ มีคุณสมบัติทางฮารด แวร ดงั้ นั้น SNA จงึ กลายเปน อุปกรณทเี่ ปนอสิ ระ ไมขนึ้ กบั ฮารด แวร ใน APPC จะใช LU เปน ชื่อในการสอ่ื สารกับระบบและโปรแกรมอนื่ ในระบบเครอื ขา ย โดย APPC จะ ทํางานใน transport layer และถูกออกแบบมาใหยอมรบั การโตตอบระหวางอปุ กรณระบบเครือขา ย ต้งั แตเคร่อื ง Workstation แบบต้งั โตะ จนถึงเครอื่ งคอมพิวเตอรแ มขาย ซง่ึ มใี น platform ของระบบเครอื ขา ยหลายแบบ ซง่ึ ประกอบดว ย Apple, UNIX และ Windows 140

แบบฝก หดั ทายบท 1. จงอธบิ ายวา โปรโตคอล (Protocol) คืออะไร และมหี นา ทอี่ ะไร 2. Routable Protocol คืออะไร มีประโยชนอ ยา งไร จงอธิบายมาพอสังเขป 3. ใหอ ธิบายงานในการสอ่ื สารของเลเยอรต างๆ ใน OSI Reference Model ตามตารางดานลาง OSI Layer Communication Task Application Layer Presentation Layer Session Layer Transport Layer Network Layer Data link Layer Physical Layer 4. คอลมั นท างดานซายเปน รายการของเลเยอรท้งั 7 ของ OSI Model ใหเ ติมชื่อเลเยอรของ TCP/IP ลงใน คอลัมนด านขางใหสอดคลองกบั แตละเลเยอรข อง OSI Model OSI Layer TCP/IP Layer Application Layer Presentation Layer Session Layer Transport Layer Network Layer Data link Layer Physical Layer 5. จงเติมชื่อของโปรโตคอลของ NetWare ซึ่งทาํ งานบนแตละเลเยอรของ OSI Model OSI Layer NetWare Protocol Application Layer Presentation Layer Session Layer Transport Layer Network Layer Data link Layer Physical Layer 141

โปรโตคอลการส่ือสารอืน่ ๆ ซ่ึงเปน ทนี่ ยิ มใชม ีดังตอ ไปน้ี ƒ AppleTalk ƒ DECnet ƒ NetBEUI ƒ NetBIOS ƒ X.25 จงเติมชื่อโปรโตคอลดังกลาวชา งตน ลงในชอ งวา งดานหลงั โจทยขอ 6 – 12 (อาจมีไดมากกวา 1 คาํ ตอบ) 6. โปรโตคอลซง่ึ มกั นยิ มใชใ นระบบเครือขา ยแบบ Peer-to-Peer ของไมโครซอฟต คอื 7. โปรโตคอลซึ่งถกู นํามาใชสําหรบั packet switching คอื 8. โปรโตคอลท่ีถูกใชโดยทว่ั ไปในระบบเครือขา ยของเครื่องคอมพิวเตอร Macintosh คือ 9. โปรโตคอลที่ไดรบั การออกแบบโดยบริษทั Digital Equipment Corporation คอื 10. โปรโตคอลท่ีไดร ับการออกแบบโดยบรษิ ทั IBM คอื 11. โปรโตคอลทไี่ มม คี วามสามารถในการกําหนดเสน ทางการขนสง ขอ มลู คอื 12. โปรโตคอลทม่ี ขี นาดเล็กและขนสง ขอมลู ไดอ ยา งรวดเรว็ ใน Transport Layer คือ 13. จงอธบิ ายความแตกตา งระหวา ง Protocol Suit กับ Protocol Stack 14. โปรโตคอลใน TCP/IP Suit ซง่ึ ทํางานใน Application Layer มอี ะไรบาง จงอธิบาย 15. จงอธิบายการกาํ หนดท่ีอยขู องเครือ่ งคอมพวิ เตอรบนเครือขา ยอินเตอรเน็ตมาพอสงั เขป 16. จงอธิบายขอแตกตา งระหวาง IP Address Class A กบั Class C 17. Net Mask และ Subnet Mask มปี ระโยชนอยางไรในการกาํ หนดแอดเดรส 18. Subnet ของ IP Address 193.127.6.0 มีคาเทาใด 19. จงอธบิ ายการทาํ งานของโปรโตคอล IPX/SPX มาพอสังเขป 20. LU 6.2 คืออะไร มปี ระโยชนอ ยา งไรในการสอื่ สารขอ มูลบนระบบเครอื ขา ย จงเติมคาํ ลงในชอ งวางใหถกู ตอง 21. บริษทั ผผู ลิตเคร่ืองพิมพมีหนาท่ีรบั ผดิ ชอบในการเขียน สําหรบั ผลิตภัณฑเ คร่ืองพิมพ ของตนเอง เพอื่ ใหเคร่ืองพมิ พส ามารถใชงานรวมกับเคร่อื งคอมพิวเตอรไ ดอ ยา งมีประสิทธิภาพ 22. ไดรฟเวอรข องอปุ กรณท ่ีมอี ยูในระบบปฏบิ ัตกิ าร โดยบริษัทผูผลติ ระบบปฏิบตั กิ าร 23. ไดรฟเวอรของการด เชอ่ื มตอ ระบบเครอื ขา ยจะถกู รวมอยใู น ของเคร่ืองคอมพวิ เตอร 24. ไดรฟเวอรของการดเช่อื มตอระบบเครือขา ยจะทํางานใน ใน ของ NDIS และ ODI. ISO/OSI Reference Model 25. ซอฟตแวรก ารแปลความหมายจะเปน ไปตาม 26. NDIS กาํ หนดการเชื่อมตอ สาํ หรับการสื่อสารระหวาง กับ 142

27. ODI มกี ารทํางานเหมอื น NDIS แตไ ดรับการพฒั นาโดย และ สําหรบั เช่อื มตอฮารดแวรเขา กบั โปรโตคอล 28. คือกระบวนการในการรวมการทํางานของโปรโตคอลและ NIC เขาดว ยกัน 29. เคร่อื งคอมพิวเตอรผ ูสงจะแตกขอมูลออกเปนชน้ิ เล็กๆ เรียกวา 30. โปรโตคอลท่รี องรบั การสื่อสารหลายทิศทางระหวาง LAN–to–LAN รูจ กั ในชอ่ื วาโปรโตคอล 31. เพื่อหลกี เลยี่ งการเกดิ ความขัดแยง หรอื สง ขอมูลไมสมบรู ณ โปรโตคอลจะ 32. กฎเกณฑก ารส่อื สารในสภาพแวดลอมของระบบเครือขาย LAN โดยเฉพาะ เชนอีเธอรเ น็ตหรอื โทเกนริงมีช่อื เรียกวา 33. TCP/IP เปน โปรโตคอลที่รองรบั การกําหนดเสนทางขนสง ขอมลู จงึ มกั ถูกใชเปน 34. NetBIOS เปนโปรโตคอลใน Session Layer ของ IBM ซ่งึ ทําหนาท่ีเปน การเช่ือมตอ ระบบเครอื ขาย 35. APPC เปน โปรโตคอล ของบรษิ ัท IBM 36. NetBEUI ไมเ หมาะสมท่ีจะใชบนระบบเครือขา ยขนาดใหญ เนอ่ื งจาก 37. X.25 เปน โปรโตคอลซง่ึ ถกู นาํ มาใชกบั ระบบเครือขา ย 38. X.25 ทาํ งานใน , – และ Layer ใน โครงสราง OSI Reference Model 39. AppleTalk เปนชดุ ของโปรโตคอลท่ไี ดรับการออกแบบมาสําหรับใชกับเคร่ืองคอมพิวเตอร 40. EtherTalk อนญุ าตใหเ คร่ืองคอมพวิ เตอร Macintosh สื่อสารกบั ระบบเครือขา ย 143


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook