57 ผลกระทบของไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ต่อการเกิดยูโทรฟิเคชันในแหล่งน้ำและ การกำจดั ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส Effects of Nitrogen and Phosphorus on Eutrophication in Water Bodies and Nitrogen and Phosphorus Removal พงศ์ศักดิ์ หนพู นั ธ1์ และ รัฐชา ชยั ชนะ2* 1ภาควชิ าวศิ วกรรมสง่ิ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2ภาควิชาเทคโนโลยแี ละการจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม คณะสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ์ บทคดั ยอ่ สารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในปริมาณมากที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ เช่น การเกษตร ชมุ ชน และโรงงานอตุ สาหกรรม ทปี่ นเปอื้ นลงสแู่ หลง่ นำ้ เปน็ สาเหตขุ องการเกดิ แพลงกต์ อนบลมู หรือยูโทรฟิเคชันในแหล่งน้ำจืดการบลูมของแพลงก์ตอนพืชก่อให้เกิดปัญหาทางลบมากมายท้ังทางด้าน เศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ปญั หาทส่ี ำคญั ไดแ้ ก่ การสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพของทง้ั พชื และสัตว์เน่ืองจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมส่งผลต่อระบบการกรองน้ำสำหรับแหล่งน้ำดิบในการทำน้ำ ประปา นอกจากน้ันแพลงก์ตอนบลูมโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกิดจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินยังมีการสร้าง สารพษิ เชน่ microcystins, anatoxin-a และ homoanatoxin-a ซงึ่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ของมนุษย์และสัตว์ การเกิดยูโทรฟิเคชันยังทำให้แหล่งน้ำสูญเสียทัศนียภาพและความสวยงามด้านการ พักผ่อนหย่อนใจ เน่ืองจากสีและกลิ่นท่ีไม่พึงประสงค์ของแพลงก์ตอนพืชท่ีเน่าสลายและทำให้ไม่สามารถ ทำกิจกรรมทางน้ำในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น การว่ายน้ำ ด้วยปัญหาที่เกิดข้ึน จึงได้มีแนวความคิดในการ กำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสจากน้ำท้ิงชุมชนและอุตสาหกรรมซ่ึงยังเป็นเรื่องค่อนข้างใหม่สำหรับ ประเทศไทย เพราะในปัจจุบันประเทศไทยมีเฉพาะมาตรฐานน้ำท้ิงท่ีพิจารณาจากค่าบีโอดีเป็นประเด็น สำคัญ ส่วนค่ามาตรฐานน้ำทิ้งในรูปของไนโตรเจนเน้นที่รูปทีเคเอ็น แต่ไม่มีค่าของปริมาณไนโตรเจน ทั้งหมด ซงึ่ ไม่เพียงพอต่อการแก้ไขปัญหาส่งิ แวดล้อม ถ้ามกี ารควบคุมปริมาณนำ้ ทิ้งให้มีคา่ ไนโตรเจนและ ฟอสฟอรัสอยู่ในระดับต่ำแล้วอาจช่วยทำให้สามารถนำน้ำกลับมาใช้ซ้ำมีความเป็นไปได้สูง ซึ่งช่วยประหยัด การใช้น้ำดิบท่ีจะใช้ในการผลิตน้ำประปา หรือสามารถนำไปทำประโยชน์อย่างอ่ืนเช่น น้ำเพ่ือการเกษตร และท่ีสำคัญยงั เป็นการลดปญั หาการเกดิ ยโู ทรฟเิ คชนั ในแหลง่ นำ้ จืดไดอ้ กี ด้วย คำสำคญั ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั ยโู ทรฟเิ คชนั การบำบัดนำ้ เสยี ฉบับที่ 88 ปที ่ี 27 เมษายน - มถิ ุนายน 2557
58 วศิ วกรรมสาร มก. Abstract Excessive amounts of nitrogen (N) and phosphorus (P) compounds from human activities such as agriculture, residential areas and industry can cause plankton bloom or eutrophication in freshwater bodies. The bloom of phytoplankton causes many negative problems on economy, society and environment. The major problems caused by eutrophication include loss of biodiversity of both plants and animals due to improper environmental conditions, problems of water filtration systems for drinking water. The phytoplankton bloom of blue green algae in particular also creates toxins such as microcystins, anatoxin-a and homoanatoxin-a, which directly affect the health of humans and animals. Moreover, eutrophication results in the loss of beautiful scenery due to unpleasant hue and odor caused by rotten algae and influences recreational activities such as swimming. Due to adverse impact of eutrophication, a new concept in the treatment of nitrogen and phosphorus from sewage of industry and community is introduced, which is relatively new to Thailand. Presently Thailand has an effluent standard for BOD and TKN but no TN.These standards that might not be sufficient to solve water pollution problems. If there is a new standard set for nitrogen and phosphorus, then the effluent will be able to re-use and thus saving the raw water to use in the drinking water. It will also be beneficial to agriculture and most importantly, low N and P from wastewater treatment will help to reduce the problems of eutrophication in freshwater bodies. Keywords nitrogen, phosphorus, eutrophication, wastewater treatment 1. ธาตุอาหารพืชท่ีส่งผลต่อการเกิด องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก และสารประกอบ ยูโทรฟิเคชนั ต่างๆ ภายในเซลล์ ถึงแม้ในบรรยากาศจะมีแก๊ส ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ แต่มีสิ่งมีชีวิตเพียงไม่ ธาตุอาหารท้ังไนโตรเจนและฟอสฟอรัสมี กี่ชนิดท่ีสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศมาใช้ได้ ความสำคัญอย่างมากในระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด โดยตรง เช่น แบคทีเรียหรือสาหร่ายบางชนิด ดังนั้น เพราะส่ิงมีชีวิตกลุ่มออร์โตโทรป (autotrophs) เช่น สงิ่ มีชีวิตชนิดอน่ื ๆ จะไดร้ ับไนโตรเจนจากการบริโภค แพลงก์ตอนพืช ซึ่งเป็นผู้ผลิตเบ้ืองต้นในแหล่งน้ำ สิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืนเป็นอาหารแหล่งท่ีมาของไนโตรเจน ต้องนำมาใชใ้ นการเจริญเติบโต แตใ่ นธรรมชาติธาตุ ยงั มาจากปยุ๋ ซงึ่ ไนโตรเจนมคี ณุ สมบตั ลิ ะลายนำ้ ไดด้ ี เหลา่ นมี้ ปี รมิ าณนอ้ ยมาก เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ปรมิ าณ ทำให้เกิดการชะล้างสู่แหล่งน้ำธรรมชาติสูง ในส่วน ทสี่ งิ่ มชี วี ติ ตอ้ งการ ดงั นนั้ จงึ ถอื เปน็ ปจั จยั จำกดั ตอ่ การ ของฟอสฟอรัสพบว่าเป็นธาตุท่ีมีปริมาณน้อยใน เจริญเตบิ โต (limiting factors) ธาตุไนโตรเจนมสี ว่ น ธรรมชาติ โดยมตี น้ กำเนดิ มาจากหนิ และแรธ่ รรมชาติ สำคัญในการนำมาใช้สร้างโปรตีนและกรดนิวคลีอิก ฟอสฟอรัสยังได้จากปุ๋ย แต่ละลายน้ำได้ไม่ดีเท่า ซึง่ เปน็ องค์ประกอบของยนี ในขณะท่ฟี อสฟอรสั เป็น
59ผลกระทบของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสตอ่ การเกิดยูโทรฟเิ คชนั ในแหลง่ น้ำ และการกำจดั ไนโตรเจนและฟอสฟอรสั ไนโตรเจน อีกทั้งยังถูกยึดติดกับอนุภาคดินเหนียว value) [4] ถา้ แหลง่ นำ้ มคี า่ อตั ราสว่ นระหวา่ งปรมิ าณ ทำให้ในแหล่งน้ำธรรมชาติปริมาณฟอสฟอรัสจึงมี ไนโตรเจนรวมต่อปริมาณฟอสฟอรัสรวม น้อยกว่า เพียงไม่ก่ีไมโคร กรัมต่อลิตร ในขณะท่ีไนโตรเจนมี 10 แสดงว่าไนโตรเจนเป็นปัจจัยจำกัดการเจริญ ปรมิ าณสงู กวา่ ฟอสฟอรสั ประมาณ 10-20 เทา่ [1, 2] เตบิ โตของแพลงกต์ อนพชื ถา้ แหลง่ นำ้ มคี า่ อตั ราสว่ น ระหว่างปริมาณไนโตรเจนรวมต่อปริมาณฟอสฟอรัส รูปแบบของสารประกอบไนโตรเจนและฟอส- รวมระหว่าง 10 ถงึ 17 แสดงวา่ ไนโตรเจนหรอื ฟอส- ฟอรสั ทพ่ี บในแหลง่ นำ้ ไดแ้ ก่ กลมุ่ สารประกอบอนนิ ทรยี ์ ฟอรัสเป็นปัจจัยจำกัดการเจริญเติบโตของแพลงก์- ไนโตรเจนที่ละลายน้ำ เช่น ไนเตรท ไนไตรท์ และ ตอนพืช และถ้าแหล่งน้ำมีค่า ค่าอัตราส่วนระหว่าง แอมโมเนยี ม ซงึ่ มแี หลง่ ทมี่ าหลกั จากภาคการเกษตร ปริมาณไนโตรเจนรวมต่อปริมาณฟอสฟอรัสรวม ท่ีมีการใช้ปุ๋ยเคมี สำหรับสารประกอบฟอสฟอรัส มากกว่า 17 แสดงว่า ฟอสฟอรัสเป็นปัจจัยจำกัด ได้แก่ กลุ่มฟอสเฟตและโพลีฟอสเฟต มีแหล่งที่มา การเจริญเติบโตของแพลงก์ตอนพืช ถ้าพิจารณา หลักจากน้ำทิ้งจากชุมชน รวมถึงน้ำเสียท่ีผ่านการ จากปริมาณปริมาณฟอสฟอรัสรวมเพียงอย่างเดียว บำบดั แลว้ [1, 3] สารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรสั พบว่า ถ้าในแหล่งน้ำมีปริมาณฟอสฟอรัสรวมเกิน ยังอยู่ในรูปท่ีเป็นสารประกอบอินทรีย์ท่ีละลายน้ำ กวา่ 100 ไมโครกรมั /ล. มแี นวโนม้ ทไ่ี นโตรเจนจะเปน็ ไดแ้ ก่ ไนโตรเจนทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบในกรดอะมโิ น หรอื ปัจจัยจำกัดเพราะฟอสฟอรัสมีปริมาณมาก แต่ถ้า น้ำตาลฟอสเฟต รวมถึงอนุภาคขนาดเล็กที่เรียกว่า ในแหล่งน้ำมีปริมาณฟอสฟอรัสรวมต่ำกว่า 50 คอลลอยด์ เชน่ ดนิ เหนยี ว และแรธ่ าตตุ า่ งๆ ทฟี่ อสเฟต ไมโครกรัม/ล. มีแนวโน้มท่ีฟอสฟอรัสจะเป็นปัจจัย ถูกดูดซับไว้ หรืออาจจะเป็นอนุภาคหรือเศษซาก จำกดั ของสารอินทรีย์หรือท่ีเรียกว่า ดีไทรทัส (detritus) สารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรัสท้ังในรูปท่ี 2. การเกดิ ยูโทรฟเิ คชนั ในแหลง่ น้ำจดื ละลายน้ำและไม่ละลายน้ำเหล่านี้สามารถถูกนำมา ใช้ได้โดยตรงหรือต้องผ่านกระบวนการทางเคมีและ ยโู ทรฟิเคชนั (eutrophication) หรือมลภาวะ ชีวภาพในการเปล่ียนรูปเพ่ือท่ีแพลงก์ตอนพืชซึ่งเป็น จากธาตอุ าหารพืช (nutrient pollution) [5] เกิดจาก ผู้ผลิตเบื้องต้นในแหล่งน้ำสามารถดึงนำมาใช้ได้ใน การบลมู ของแพลงกต์ อนพชื ในแหลง่ นำ้ จดื เชน่ ตามคู การเจริญเติบโต คลอง หนอง บึง ทะเลสาบ หรืออ่างเก็บน้ำ ซ่ึงถือ เป็นหนึ่งในปัญหามลพิษทางน้ำที่สำคัญที่เกิดข้ึน การวเิ คราะหห์ าปจั จยั จำกดั ของธาตอุ าหารพชื ในทุกทวีปท่ัวโลก สาเหตุหลักของปัญหามาจาก ในแหลง่ นำ้ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 กลมุ่ คอื ฟอสฟอรสั แหลง่ นำ้ ไดร้ บั สารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรสั เป็นปัจจัยจำกัด ไนโตรเจนเป็นปัจจัยจำกัด หรือ ในปริมาณมากจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ เช่น ทั้งฟอสฟอรัสและไนโตรเจนเป็นปัจจัยจำกัด การ การเกษตร อุตสาหกรรม หรือน้ำท้ิงจากบ้านเรือน พจิ ารณาหาปจั จยั จำกดั มี 2 แนวทาง คอื การพจิ ารณา สารอาหารเหล่านี้จะไปกระตุ้นให้แพลงก์ตอนพืช จากคา่ อตั ราสว่ นระหวา่ งปรมิ าณไนโตรเจนรวม (total เกิดการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจนส่งผลให้แหล่ง nitrogen: TN) ต่อปริมาณฟอสฟอรัสรวม (total น้ำไมส่ ามารถนำมาใช้ประโยชน์ดา้ นต่างๆ ได้ phosphorus: TP) และการพิจารณาจากปริมาณ โดยธรรมชาติแล้ว แหล่งน้ำต่างๆ จะมีการ ฟอสฟอรสั รวมเพยี งอยา่ งเดยี ว (phosphorus threshold เปล่ียนแปลงทางกายภาพ เคมี และชีวภาพตาม ฉบับที่ 88 ปีที่ 27 เมษายน - มิถนุ ายน 2557
60 วศิ วกรรมสาร มก. ระยะเวลา หรอื ทเ่ี รยี กกนั วา่ succession โดยแหลง่ นำ้ เก็บกักฟอสฟอรัสได้นานหลายวันจนกระท่ังหลาย จะมีความอุดมสมบูรณ์ (trophic levels) เพ่ิมมาก สัปดาห์ นอกจากน้ันการท่ีแพลงก์ตอนกลุ่มสีเขียว ขึ้นเร่ือยๆ จากแหล่งน้ำท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ แกมนำ้ เงนิ สามารถฟอรม์ ตวั รวมกนั เปน็ โคโลนขี นาด (oligotrophic) ไปเปน็ แหลง่ นำ้ ทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณ์ ใหญ่ได้ ทำให้ไม่ถูกกินโดยแพลงก์ตอนสัตว์ และ ปานกลาง (mesotrophic) และกลายเป็นแหล่งน้ำ แพลงก์ตอนนี้กลุ่มนี้บางชนิดยังผลิตสารเคมีท่ีส่งผล ที่มคี วามอุดมสมบูรณ์สูง (eutrophic) ซ่ึงการเปลย่ี น ต่อการกินของแพลงก์ตอนสัตวอ์ กี ดว้ ย แปลงโดยธรรมชาติดังกล่าวน้ันใช้ระยะเวลานาน ตัวอย่างของแพลงก์ตอนพืชกลุ่มสีเขียวแกม หลายสิบปีถึงหลายร้อยปี แต่ผลจากการพัฒนา น้ำเงิน ไดแ้ ก่ Aphanizomenon flos-aquae ซ่ึงเป็น ต่างๆ ของมนุษย์ในปัจจุบันส่งผลให้ปัญหายูโทร- ชนดิ ทพี่ บไดท้ วั่ ไป มลี กั ษณะยาวเปน็ เสน้ สาย ลอยตวั ฟิเคชันเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว บ่อยครั้ง และรุนแรงข้ึน ได้ในน้ำ ฟอร์มกลุ่มเป็นโคโลนีขนาดใหญ่ท่ียากต่อ นักวิทยาศาสตร์ประเมินว่าแหล่งน้ำท่ีเกิดการบลูม การกินของแพลงก์ตอนสัตว์ สำหรับ Anabaena ของแพลงก์ตอนพืชจะมีปริมาณคลอโรฟิลล์มากกว่า เป็นชนิดท่ีสามารถตรึงไนโตรเจนได้และมีลักษณะ 40 ไมโครกรัม/ล. และถ้าปริมาณคลอโรฟิลล์สูงกว่า เป็นสายยาว (N2-fixing filamentous algae) ส่วน 100 ไมโครกรมั /ล. โอกาสทป่ี ลาในแหลง่ นำ้ จะตายจะ Microcystis มลี กั ษณะเปน็ โคโลนี แตไ่ มส่ ามารถตรงึ มีสงู มากเพราะเกิดปัญหาขาดแคลนออกซเิ จน [4] ไนโตรเจนได้ แพลงก์ตอนพืชกลุ่มหลักที่เกิดการบลูมใน 3. การเกิดยโู ทรฟเิ คชนั ในประเทศไทย แหล่งน้ำ ได้แก่ แพลงก์ตอนพืชสีเขียวแกมน้ำเงิน หรือ cyanobacteria (blue green algae) ท้ังนี้ ประเทศไทยเป็นหน่ึงในประเทศท่ีประสบ แพลงก์ตอนพืชกลุ่มดังกล่าวมีกลไกต่างๆ ท่ีช่วยใน ปัญหาการเกิดยูโทรฟิเคชันหรือการบลูมของแพลงก์ การบลูม ได้แก่ ความสามารถในการลอยตัวขึ้นลง ตอนพืช จากการศึกษาจากเอกสารต่างๆ พบว่า จากผิวน้ำตามปริมาณแสงและปริมาณสารอาหาร มีข้อมูลการเกิดยูโทรฟิเคชันในภาคต่างๆ เช่น ในแหล่งน้ำ สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินยังสามารถ ภาคเหนอื อ่างเก็บนำ้ เข่ือนแม่กวงอดุ มธารา จังหวัด ตรึงไนโตรเจนได้จากอากาศโดยตรงแล้วเปลี่ยนรูป เชียงใหม่ มีรายงานการบลูมของแพลงก์ตอนพืช ให้เป็นสารประกอบแอมโมเนียมภายในเซลล์ Microcystis aeruginosa จำนวนมาก โดยแพลงก์ โดยผ่านกระบวนการทางชีวเคมีท่ีเรียกว่า nitrogen ตอนพืชชนิดนี้สามารถผลิตสารพิษไมโครซิสติน fixation [6] ดังนั้นแพลงก์ตอนพืชกลุ่มน้ีจึงสามารถ ได้ [7] ในส่วนของพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รักษาระดับการเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะ จากขอ้ มูลของชยั วัฒนป์ ระกิระเค [8] จากสำนกั งาน มีสารประกอบไนโตรเจนอย่างเพียงพอ แพลงก์ตอน สิ่งแวดลอ้ มภาค 10 ระบวุ า่ จังหวัดขอนแก่นมแี หล่ง พืชกลุ่มสีเขียวแกมน้ำเงินยังสามารถปรับตัวได้ดีใน น้ำหลายแห่งที่เกิดปัญหายูโทรฟิเคชัน โดยเฉพาะท่ี สภาพขาดแคลนสารประกอบฟอสฟอรัสในแหล่งน้ำ หนองซองแมว ในพ้ืนที่ตำบลศลิ า อำเภอเมือง ทเี่ กิด ทัง้ นีเ้ พราะแพลงก์ตอนพืชกลุ่มนีส้ ามารถดดู ซึม และ การบลูมของแพลงก์ตอนพืชอย่างมากโดยมีสาเหตุ เก็บกักสารประกอบฟอสฟอรัส ในขณะท่ียังมีอยู่ใน มาจากน้ำทิ้งชุมชนเพราะไม่มีระบบบำบัดน้ำเสีย ปรมิ าณมากในแหลง่ นำ้ เพอ่ื นำไวใ้ ชเ้ มอ่ื ยามขาดแคลน หรือท่ีบริเวณบึงหนองโครต มีรายงานการบลูมของ แพลงก์ตอนพืชสีเขียวแกมน้ำเงินบางชนิดสามารถ สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินเพราะบึงดังกล่าวเป็น
61ผลกระทบของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสตอ่ การเกดิ ยโู ทรฟิเคชันในแหลง่ นำ้ และการกำจดั ไนโตรเจนและฟอสฟอรสั พืน้ ทร่ี องรบั น้ำทง้ิ จากชุมชน และเมอื่ แพลงกต์ อนพืช 4. ผลกระทบจากการเกิดยโู ทรฟิเคชัน เหล่าน้ีตายลงได้ส่งผลให้เกิดกล่ินเน่าเหม็นอย่าง รุนแรง หรือบริเวณแหล่งท่องเท่ียวน้ำตกตาดโตน การบลูมของแพลงก์ตอนพืชก่อให้เกิดปัญหา จังหวัดชัยภูมิ ก็พบปัญหาการบลูมของแพลงก์ตอน ทางลบต่างๆ มากมาย ในด้านสิ่งแวดล้อมปัญหา พืชด้วยเช่นกัน แต่สถานการณ์ยังไม่รุนแรงมากนัก ที่เกิดข้ึน ได้แก่ การขาดแคลนปริมาณออกซิเจนท่ี ถ้าหากในอนาคตไม่มีการแก้ไข อาจส่งผลต่อการ ละลายในนำ้ โดยเฉพาะในชว่ งเวลากลางคนื ทพี่ ชื และ ทอ่ งเทย่ี วได้ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ยงั มรี ายงาน แพลงก์ตอนพืชท่ีบลูมมีการหายใจโดยใช้ออกซิเจน การเกิดยูโทรฟิเคชันในอ่างเก็บน้ำเขื่อนลำตะคอง ในน้ำ ทำให้สัตวน์ ำ้ ขาดอากาศหายใจ และเมือ่ เซลล์ ในปี 2541 ท่ีพบสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวเพิ่ม ของแพลงก์ตอนพืชท่ีบลูมตายลงพร้อมๆ กัน ทำให้ ปริมาณขึ้นอย่างรวดเร็วจนส่งผลกระทบต่อสัตว์น้ำ เกิดการย่อยสลายและทำให้แหล่งน้ำเน่าเสียจนไม่ และน้ำดิบท่ใี ชใ้ นการผลิตนำ้ ประปา [9] ในสว่ นของ สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ และยังอาจเกิดเช้ือ พื้นท่ีภาคกลางพบการบลูมของแพลงก์ตอนพืชที่ โรคข้ึนตามมาอกี ด้วย [15] การทแี่ หล่งนำ้ มีคณุ ภาพ อา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยสงสยั ตำบลเขากระปกุ อำเภอทา่ ยาง น้ำเส่ือมโทรมลงยังส่งผลต่อการสูญเสียความหลาก- จังหวัดเพชรบุรี [10, 11]) และจากการศึกษาของ หลายทางชีวภาพของทั้งพืชและสัตว์ในแหล่งน้ำ Chaichana [11] พบการบลูมของแพลงก์ตอนพืช [1, 16] แพลงก์ตอนพืชท่ีบลูมหนาแน่นเป็นแผ่นๆ สกุล Auracoseira บริเวณภาคตะวันออก ในอ่าง บริเวณผิวหน้าน้ำจะไปบดบังแสง ทำให้น้ำขุ่น และ เกบ็ น้ำบางพระ อำเภอศรรี าชา จังหวัดชลบุรี ส่วนใน กั้นไม่ให้แสงส่องผ่านมายังใต้พ้ืนท้องน้ำ ทำให้ไป พ้ืนท่ีภาคใต้ มีรายงานการเกิดยูโทรฟิเคชันในทะเล จำกัดการเจรญิ เตบิ โตของพชื ใตน้ ำ้ สาบสงขลา บริเวณทะเลหลวง ทะเลสาบตอนกลาง การบลูมของแพลงก์ตอนพืชยังอาจส่งผล และทะเลสาบตอนนอก โดยเฉพาะบรเิ วณทะเลหลวง ต่อสุขภาพของส่ิงมีชีวิตท่ีใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ พบปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ หรือมวลชีวภาพของ แพลงก์ตอนพืชกลุ่มสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน เช่น แพลงก์ตอนพชื สงู ท่สี ดุ [13] Anabaena circinalisสามารถสร้างสารพิษที่ออก ฤทธ์ิต่อระบบประสาท ส่วนชนิดทสี่ ร้างสารพิษที่ออก จากขอ้ มลู เบอื้ งตน้ แสดงใหเ้ หน็ แลว้ วา่ ปญั หา ฤทธต์ิ อ่ ตบั และอวยั วะอนื่ ๆ ภายในรา่ งกายของสงิ่ มชี วี ติ การเกดิ ยโู ทรฟเิ คชนั ในประเทศไทยเกดิ ขนึ้ ในแหลง่ นำ้ ได้แก่ Microcystis aeruginosa ที่สร้างสารพิษ ทั่วทุกภูมิภาคและส่วนใหญ่ยังเกิดในแหล่งน้ำที่มี microcystins, anatoxin-a และ homoanatoxin-a [17] ความสำคญั ตอ่ การอปุ โภคและบรโิ ภคของประชาชน สารพิษเหล่าน้ีนอกจากจะส่งผลโดยตรงต่อสัตว์แล้ว อกี ดว้ ย ดงั นน้ั จงึ มคี วามจำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งควบคมุ แหลง่ ยังมีรายงานว่าส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ กำเนดิ ธาตอุ าหารหรอื จะตอ้ งทำการบำบดั ธาตอุ าหาร อีกด้วย เช่น เกิดการระคายเคืองบริเวณผิวหนัง ประเภทไนโตรเจนและฟอสฟอรัสก่อนปล่อยลงสู่ การแพ้ในรูปแบบต่างๆ เกิดอาการเจ็บท่ีกล้ามเนื้อ แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ [14, 3] อกี ทง้ั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง และข้อต่อ และส่งผลต่อการทำลายตับและไต รวม รวมถงึ ประชาชนจะตอ้ งรว่ มมอื กนั ในการหามาตรการ ถึงระบบประสาทต่างๆ [17-20] นอกจากน้ันยังมี เฝ้าระวัง ป้องกัน รวมถึงการแก้ไขฟื้นฟูแหล่งน้ำที่มี รายงานในประเทศจีนว่าประชาชนท่ีดื่มน้ำที่มีการ การบลูมของแพลงก์ตอนพืชเพื่อให้สามารถนำกลับ บลูมของแพลงก์ตอนพืชและมีการปนเป้ือนของสาร มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้เหมอื นเดมิ microcystins จะทำใหเ้ พ่ิมโอกาสของการเป็นมะเร็ง ตบั สงู ขึ้นอกี ด้วย [21] ฉบับท่ี 88 ปที ี่ 27 เมษายน - มถิ ุนายน 2557
62 วศิ วกรรมสาร มก. ตามแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เช่น อ่างเก็บน้ำ การบลูม ต่อสิ่งแวดล้อมและมลพิษทางน้ำได้อีกมากมายดังที่ ของแพลงก์ตอนพืชยังส่งผลต่อระบบการกรองน้ำ ไดก้ ลา่ วมาในขา้ งตน้ มาตรฐานนำ้ ทง้ิ ของธาตอุ าหาร สำหรับแหล่งน้ำดิบในการทำน้ำประปา เซลล์ของ ในเมอื งไทยยงั ไมม่ กี ารกำหนดอยา่ งชดั เจน (หมายเหตุ แพลงก์ตอนพืชจะไปติดที่ระบบกรองน้ำทำให้ไม่ มาตรฐานน้ำทิ้งของธาตุอาหารในเมืองไทยมีแต่ สามารถผลิตได้น้ำซ่ึงจะส่งต่อต้นทุนการผลิตท่ีจะ เฉพาะมาตรฐานน้ำทิ้งในเขตกรุงเทพมหานครชั้น ต้องมีการทำความสะอาดหรือเปลี่ยนวัสดุกรองบ่อย ในบางพ้ืนท่ีเท่าน้ัน) กำหนดปริมาณฟอสฟอรัส มากขึ้น หรือต้องเพิ่มสารเคมีที่ใช้ในข้ันตอนการ ทงั้ หมดควรตำ่ กวา่ 2.0 มล ฟอสฟอรสั /ล. และปรมิ าณ ทำความสะอาดนำ้ มากขน้ึ เชน่ การฆา่ เชอื้ ดว้ ยคลอรนี ไนเตรท-ไนโตรเจนควรตำ่ กวา่ 10 มล. ไนโตรเจน/ล. [22] แพลงก์ตอนพืชบางชนิดมีสีและกลิ่นที่ไม่พึง- แต่มาตรฐานน้ำทิ้งในรูปฟอสฟอรัสทั้งหมด (total ประสงค์ เมื่อบลมู พร้อมกนั ในปริมาณมากอาจทำให้ phosphorus, TP) ของตา่ งประเทศ เชน่ สหรฐั อเมรกิ า แหล่งน้ำสูญเสียทัศนียภาพและความสวยงามเพื่อ ประเทศในทวีปยุโรปและออสเตรเลีย กำหนดไว้ว่า การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจและทำใหไ้ มส่ ามารถทำกจิ กรรม ควรต่ำกว่า 0.2 มล. ฟอสฟอรัส/ล. ทางนำ้ ในรปู แบบตา่ งๆ ได้ เชน่ การวา่ ยนำ้ การดำนำ้ และประการสุดท้าย แหล่งน้ำท่ีเกิดการบลูมของ วิธีการกำจัดธาตุอาหารที่เหมาะสมมีความ แพลงก์ตอนพืชจะต้องมีการบำบัด ดังนั้นจะทำให้ จำเป็นอย่างย่ิงที่จะเลือกใช้กับการบำบัดน้ำเสียจาก สญู เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยจำนวนมหาศาลในฟน้ื ฟใู หแ้ หลง่ นำ้ ชุมชนและอุตสาหกรรม วิธีการกำจัดไนโตรเจนและ น้ันสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้เหมือนเดิม ฟอสฟอรสั สามารถทำไดห้ ลายวธิ ี อาทเิ ชน่ การกำจดั [22, 23] ไนโตรเจนโดยใช้กระบวนการทางกายภาพ/เคมี (physical/chemical processes) ได้แก่ การเติม 5. การกำจัดธาตุอาหารประเภท คลอรีน (chlorination) การแลกเปล่ียนประจุ (ion ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส exchange) และการเป่าอากาศ (air stripping) ซ่ึง กระบวนการดงั กลา่ วเปน็ กระบวนการทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ถึงแม้ว่าน้ำท่ีผ่านการบำบัดจากระบบบำบัด สูงแต่มีราคาแพงถ้าเปรียบเทียบกับการบำบัดทาง นำ้ เสยี แลว้ สามารถกำจดั สารอนิ ทรยี แ์ ละสารอนนิ ทรยี ์ ชีวภาพ ส่วนการกำจัดฟอสฟอรัสก็เช่นเดียวกัน หลายชนิดท่ีอยู่ในรูปค่าความสกปรกของบีโอดีหรือ กระบวนการบำบัดทางเคมีเป็นกระบวนการบำบัดที่ ซีโอดีออกจากน้ำเสียได้แล้ว แต่ถ้ายังมีธาตุอาหาร มีประสิทธิภาพสูงแต่มีราคาแพงมาก สารเคมีที่มี ประเภทไนโตรเจนและฟอสฟอรัสอยู่ในน้ำท่ีผ่านการ การใช้โดยทั่วไป ได้แก่ ปูนขาว สารประกอบเหล็ก บำบัดแล้ว ยังมีความจำเป็นท่ีต้องกำจัดธาตุอาหาร คลอไรด์ และสารสม้ แตใ่ นบทความนข้ี อกลา่ วเฉพาะ ประเภทไนโตรเจนและฟอสฟอรัสออกก่อนปล่อยลง การกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสด้วยวิธีการทาง สู่แม่น้ำ ลำคลอง แหล่งน้ำสาธารณะ หรือทะเล ชวี ภาพเทา่ นัน้ เหตุผลท่ีสำคัญ คือน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วแต่ยังมี ธาตอุ าหารประเภทไนโตรเจนและฟอสฟอรสั ปนเปอื้ น โดยทั่วไปกระบวนการกำจัดสารประกอบ อยใู่ นรปู แบบตา่ งๆ สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาผลกระทบ ไนโตรเจนจากน้ำเสียสามารถแบ่งออกเป็นสอง ขนั้ ตอนหลกั ไดแ้ ก่ วธิ กี ารบำบดั ทางชวี ภาพประกอบ
63ผลกระทบของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสตอ่ การเกิดยูโทรฟิเคชันในแหลง่ นำ้ และการกำจดั ไนโตรเจนและฟอสฟอรสั ดว้ ยกระบวนการไนตรฟิ เิ คชนั (nitrification process) บีเอ็นอาร์ (BNR) ระบบหน่ึงท่ีได้รับความนิยมเป็น และกระบวนการดีไนตริฟิเคชัน (denitrification อยา่ งมากคอื ระบบแอกทเิ วเตด็ สลดั จท์ มี่ กี ารออกแบบ process) สามารถกำจดั ไนโตรเจนจากนำ้ เสยี ได้เป็น เพื่อกำจัดธาตุอาหารซ่ึงประกอบด้วยถังแอนน็อกซิก อย่างดีและเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ส่วนหลักการ แล้วตามด้วยถังแอโรบิก แต่ปัจจุบันในต่างประเทศ ของการกำจัดฟอสฟอรัสด้วยวิธีการทางชีวภาพคือ โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกานิยมใช้ระบบแบบ การให้จุลินทรีย์เก็บเอาฟอสฟอรัสไว้ในเซลล์เป็น คลองวนเวียน (oxidation ditch) เพ่ือกำจัดธาตุ ปริมาณมากๆ จากนั้นแล้วใช้วิธีการดังต่อไปนี้คือ อาหารจากน้ำทิ้งชุมชน แต่ระบบแบบคลองวนเวียน แยกเอาเซลล์ออกจากน้ำเสีย ซ่ึงก็คือ การดึงเอา เป็นระบบแบบหน่ึงของระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์หรือ ฟอสฟอรัสออกไปน่ันเอง และให้เซลล์ปลดปล่อย ระบบเอเอส ทเี่ รยี กวา่ ระบบยดื เวลาในถงั เตมิ อากาศ ฟอสฟอรัสออกมาในรูปที่สามารถตกตะกอนได้ง่าย (extended aeration) ที่มีการไหลของน้ำเป็นวงจร ดว้ ยปนู ขาว ความสามารถของการทำใหเ้ ซลลส์ ามารถ (circuit-flow activated sludge process) ซง่ึ ขอ้ เดน่ ดึงเอาฟอสฟอรัสเข้าไปเก็บไว้ในเซลล์มากๆ ได้ ของระบบนี้คือ สามารถทำงานได้ดีและสม่ำเสมอ วิธีการที่นิยมใช้ในการให้เซลล์สะสมฟอสฟอรัสคือ โดยไม่ต้องการการควบคุมอย่างมากมาย เมื่อ การบงั คบั ใหเ้ ซลลม์ สี ภาวะหวิ โหย หรอื endogenous เปรียบเทียบกับการควบคุมระบบเอเอสโดยทั่วไป decay โดยการปลอ่ ยใหเ้ ซลล์ อดอาหารและออกซเิ จน ระบบบำบัดแบบคลองวนเวียนประกอบด้วยถัง และนำเซลล์เหล่านี้ไปปล่อยในบริเวณท่ีสภาวะ เติมอากาศแบบวงรีซึ่งทำให้น้ำไหลวนเวียนตาม เหมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โต เซลลท์ ม่ี สี ภาวะหวิ โหย แนวยาวของถัง มีการเติมอากาศ และมีการกวน เม่ืออยู่ในสภาวะที่มีอาหารเหมาะสมกับการเจริญ โดยใช้เครื่องกลเติมอากาศแบบตีน้ำในแนวนอน เติบโต เซลล์สามารถดึงเอาฟอสฟอรัสเข้าไปเก็บ (horizontal surface aerator) การไหลของน้ำเสียใน สะสมในปริมาณมาก ฟอสฟอรัสถูกเก็บอยู่ในรูป ถงั เตมิ อากาศแบบคลองวนเวยี นมลี กั ษณะเฉพาะคอื พลังงานสะสม เอทีพี (ATP) เราเรียกการสะสม เปน็ ไดท้ ง้ั แบบไหลตามแนวยาวและแบบกวนสมบรู ณ์ ฟอสฟอรัสเช่นนี้ว่า luxury uptake และเม่ือเซลล์ ขึ้นอยู่กับช่วงระยะเวลาที่พิจารณา ถ้าพิจารณาว่า สะสมฟอสฟอรสั ถงึ ระดบั ทต่ี อ้ งการแลว้ สามารถแยก ภายในถังเติมอากาศมีน้ำเสียไหลวนและถูกเติม เซลล์ออกเพ่ือเป็นการดึงเอาฟอสฟอรัสออกจาก อากาศในระยะเวลา 15 นาทีต่อรอบ การพิจารณา ระบบ หรอื เอาเซลลไ์ ปเลยี้ งในสภาวะใกลต้ ายอกี ครงั้ แบบนี้จะเป็นลักษณะของการไหลตามยาว และถ้า โดยการอดอาหารและออกซิเจน ซึ่งเม่ือเซลล์เจอ พิจารณาว่าน้ำเสียท่ีไหลเข้ามาบำบัดมีระยะเวลา สภาวะเช่นน้ีใช้พลังงานท่ีสะสมเอาไว้ ทำให้เกิดการ เก็บกักนาน 24 ชั่วโมง มีการถูกกวนผสมอยู่ถึง ปลดปลอ่ ยฟอสฟอรัสออกมาเป็นปรมิ าณมหาศาล 96 รอบ การพิจารณาแบบน้ีจะเป็นการลักษณะ ของการกวนสมบรู ณ์ ดังภาพที่ 1 ระบบชีวภาพกำจัดธาตุอาหาร (Biological Nutrient Removal, BNR) หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า ฉบับที่ 88 ปีท่ี 27 เมษายน - มถิ นุ ายน 2557
64 วศิ วกรรมสาร มก. ภาพที่ 1 ระบบเอเอสแบบคลองวนเวียน (oxidation ditch) [24] ระบบเอเอสแบบคลองวนเวียนเป็นระบบท่ี ภูเกต็ และในกรงุ เทพมหานครท่ีโรงบำบัดหนองแขม เหมาะสมกบั การบำบดั นำ้ ทงิ้ ชมุ ชนเพราะสามารถกำจดั ระบบคลองวนเวียนที่เทศบาลจังหวัดภูเก็ตสามารถ ทงั้ ไดส้ ารอนิ ทรยี ์ ไนโตรเจน และฟอสฟอรสั ไดอ้ ยา่ งดี บำบดั บโี อดแี ละกำจดั ไนโตรเจนและฟอสฟอรสั อยา่ ง อีกทั้งสามารถบำบัดได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง มีประสิทธิภาพสูง ดังภาพที่ 2 แต่ระบบนี้มักไม่ถูก เหมาะสมกบั การบำบดั นำ้ เสยี ชมุ ชนและอตุ สาหกรรม ออกแบบหรอื เลอื กใชก้ บั ระบบบำบดั นำ้ เสยี ของชมุ ชน ที่มีปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสไม่สูงจนเกินไป โดยมีเหตุผลหลักสองประการคือ ระบบดังกล่าวมี เพราะลักษณะการเติมออกซิเจนเปล่ียนแปลงไป ราคาคา่ กอ่ สรา้ งทส่ี งู และตอ้ งการพนื้ ทมี่ ากกวา่ ระบบ ตามความยาวของถังเติมอากาศ ถ้าวัดค่าความเข้ม แอกทิเวเต็ดสลัดจ์ ซึ่งในบางพ้ืนท่ีไม่มีพื้นที่กว้างพอ ของออกซิเจนที่ละลายน้ำเป็นบวกอยู่ครึ่งหนึ่งของ หรอื ถงึ แมว้ า่ มพี นื้ ทก่ี วา้ งพอ ราคาทด่ี นิ แพงมากทำให้ ความยาวของถังและอีกส่วนหน่ึงมีค่าออกซิเจนเป็น ราคาก่อสร้างสูงกว่าระบบอื่น แต่ในประเทศสหรัฐ- ศูนย์หรือใกล้เคียงศูนย์เรียกว่า anoxic zone จะมี อเมริการะบบบำบัดน้ำเสียแบบคลองวนเวียนได้รับ ระยะเวลาประมาณ 10 นาท ี ความนิยมสูง และมักถูกออกแบบให้กับการบำบัด น้ำเสียของชุมชนต้ังแต่ขนาดเล็ก ขนาดกลาง จนถึง ระบบชีวภาพกำจัดธาตุอาหาร (BNR) ของ ขนาดใหญ่ น้ำเสียจากชุมชนโดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียแบบ คลองวนเวียนในประเทศไทยมีใช้ที่เทศบาลจังหวัด
65ผลกระทบของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสตอ่ การเกดิ ยโู ทรฟเิ คชนั ในแหล่งนำ้ และการกำจดั ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ภาพท่ี 2 ระบบบำบัดน้ำเสียแบบคลองวนเวียนที่ใช้บำบัดน้ำเสียจากชุมชนในเขตพื้นที่ของเทศบาล จังหวัดภูเก็ต 6. สรปุ ถา้ เราสามารถบำบดั นำ้ เสยี ชมุ ชนในกรงุ เทพมหานคร หรือในเมืองใหญ่ได้จนถึงขั้นนำกลับมาใช้เป็นแหล่ง การกำจดั ไนโตรเจนและฟอสฟอรสั จากนำ้ ทง้ิ นำ้ ดบิ เพอ่ื ผลติ เปน็ นำ้ ประปา นำ้ ดบิ จากคลองประปา ชุมชนและอุตสาหกรรมยังเป็นเร่ืองค่อนข้างใหม่ ในปัจจุบันจะสามารถนำไปใช้เป็นแหล่งน้ำเพ่ือการ สำหรับผู้ควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียของประเทศไทย เกษตรเพิ่มข้ึน หรือนำน้ำท่ีผ่านการบำบัดแล้วไปใช้ แต่ในอนาคตอันใกล้เร่ืองดังกล่าวน่าจะได้รับความ เป็นแหล่งน้ำเพื่ออุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามก็ยังมี สนใจมากข้ึนและยังต้องการการศึกษาค้นคว้าและ ความจำเป็นที่ต้องศึกษาและวิจัยเร่ืองความเสี่ยงต่อ วิจัยเพิ่มเติมถ้าจะทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียสามารถ เชื้อโรคที่จะมากับน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วนำกลับมา กำจัดปรมิ าณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสได้ดี ซง่ึ จะสง่ ใช้ซ้ำเพ่ือความปลอดภัยของผู้ใช้น้ำ รวมถึงทัศนคติ ผลดีต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศเพราะจะช่วยลด ของคนในชุมชนท่ีต้องนำน้ำท่ีใช้แล้วหรือน้ำท่ีผ่าน ปญั หาการเกดิ ยโู ทรฟเิ คชนั ในแหลง่ นำ้ ได้ นอกจากนนั้ การบำบดั แลว้ กลบั มาใชซ้ ำ้ การใหค้ วามรู้ และความ ในปจั จบุ นั ปญั หาการขาดแคลนนำ้ เรม่ิ ทวคี วามรนุ แรง เข้าใจ เป็นเรื่องท่ีสำคัญ ซ่ึงขั้นตอนน้ีต้องใช้เวลาพอ ขึ้นโดยเฉพาะในช่วงหน้าแล้งหรือช่วงที่มีฝนตกน้อย สมควร แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามแนวทางนี้นา่ จะเป็นอีกทาง ดังน้ันเราจึงควรพิจารณานำน้ำที่บำบัดแล้วกลับ เลือกหน่ึงของการจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ มาใช้ซ้ำ แต่น้ำท่ีผ่านการบำบัดต้องมีการกำจัดท้ัง อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและยั่งยนื ค่าไนโตรเจนและฟอสฟอรัสให้อยู่ระดับต่ำเสียก่อน ฉบบั ที่ 88 ปที ี่ 27 เมษายน - มิถุนายน 2557
66 วิศวกรรมสาร มก. 7. เอกสารอ้างอิง [1] Moss, B., J. Madgwick and G. Phillips. 1997. A guide to the restoration of nutrient-enriched shallow lakes. W.W. Hawes. [2] Elser, J.J., Bracken M.E.S., Cleland E.E., Gruner D.S., Harpole W.S., Hillebrand H., Ngai J.T., Seabloom E.W., Shurin J.B., Smith J.E.. 2007. Global analysis of nitrogen and phosphorus limitation of primary producers in freshwater, marine and terrestrial ecosystems. Ecology Letters. 10 (12) : 1135-1142. [3] Conley, D.J., Paerl H.W., Howarth, R.W. Boesch D.F., Seitzinger S.P., Havens K.E., Lancelot C. and Likens G.E.. 2009. Controlling Eutrophication: Nitrogen and Phosphorus. Science. 323 : 1014-1015. [4] Florida LakeWatch. 2000. A beginner;s guide to water management-Nutrients. University of Florida, Florida. [5] World Resources Institutes. 2012. Eutrophication and Hypoxia. http://www.wri.org/project/ eutrophication/about (สบื คน้ เมื่อ 16 ตลุ าคม 2555) [6] Chen, P. 1999. Ecology. John Murray : London. 213 pp. [7] ธีรศักดิ์ สมดี. 2540. การกระจายของแพลงก์ตอนพืช Microcystis aeruginosa Kutz ในอ่างเก็บน้ำ เขอ่ื นแมก่ วงอดุ มธารา ปี 2539-2540. วทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ปรญิ ญาโท (ชวี วทิ ยา). มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ 102 หนา้ . [8] ชัยวัฒน์ ประกิระเค. 2554. สาหร่ายสะพรั่ง หรือการเจริญเติบโตมากผิดปกติของสาหร่ายในน้ำ (Algae bloom). http://www.reo10.go.th/forum/index.php?topic=721.0 (สบื คน้ เมอื่ 16 ตลุ าคม 2555). [9] หนังสือพิมพ์แนวหน้า. 2554. เตือนปรากฏการณ์”ยูโทรฟิคเคชัน” นักวิจัยพบหลายจุดในลำตะคอง เตือนกระทบระบบนิเวศในน้ำ.วันท่ี 21 กรกฎาคม 2554. http://www.naewna.com/news.asp? ID271524. (สบื คน้ เมอื่ 16 ตุลาคม 2555). [10] ภาสพล ธรรมตันตหิ ริ ญั จงกลณี วรรณเพ็ญสกลุ สุวฒั น์ พาหสุ ุวัณโณ และตรีดารตั น์ ศริ ดิ ำรง. 2555. การแกไ้ ขหรอื บรรเทาปญั หานำ้ เนา่ เสยี เนอื่ งจากสาหรา่ ยมพี ษิ เกดิ การบลมู ในอา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยสงสยั โดยเคมี บำบดั และบรู ณาการวธิ .ี กลมุ่ วจิ ยั และพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ สำนกั วจิ ยั และพฒั นา กรมชลประทาน. [11] หนงั สอื พมิ พเ์ ดลนิ วิ ส.์ 2555. กรมชลฯนำแนวพระราชดำรแิ กป้ ญั หานำ้ เสยี จาก \"สาหรา่ ยบลมู \". วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2555. http://www.dailynews.co.th/agriculture/135000 (สบื คน้ เม่ือ 16 ตลุ าคม 2555). [12] Chaichana, R., Arunlertaree C., Sricharoendham B.and Veeravaitaya N.. 2003. Quantity and Distribution of plant nutrients on eutrophication in Bang Pra reservoir, Chonburi province. Kasetsart Journal. 37(1): 90-100. [13] นคิ ม ละอองศริ วิ งศ์ และยงยทุ ธ ปรดี าลมั พะบตุ ร.2548.สภาวะยโู ทรฟเิ คชนั ในทะเลสาบสงขลา. การประชมุ วิชาการประจำปี 2548 สาขาประมง ทรัพยากรธรรมชาติ และเศรษฐศาสตร์ส่ิงแวดล้อม ระหว่าง วนั ท่ี 1-4 กมุ ภาพนั ธ์ 2548 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ครัง้ ท่ี 48. หนา้ 473-480.
67ผลกระทบของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสตอ่ การเกิดยโู ทรฟเิ คชนั ในแหล่งน้ำ และการกำจดั ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส [14] Yeoman, S., T. Stephenson, J.N. Lester and R. Perry. 1988. The removal of phosphorus during wastewater treatment: A review. Environmental Pollution. 49(3): 183-233. [15] Meybeck, M., Kuusisto, E., Ma¨kela¨, A., Ma¨lkki, E., 1996. Water quality. In: Bartram, J., Ballance, R. (Eds.), Water Quality Monitoring. E and FN Spon, London, pp. 9-33. [16] Hautier, Y., P.A. Niklaus and A. Hector. 2009. Competition for light causes plant biodiversity loss after eutrophication. Science. 324(5927) : 636-638. [17] Codd, G.A. 2000. Cyanobacterial toxins, the perception of water quality and the prioritization of eutrophication control. Ecological Engineering. 16 : 51-60. [18] Hunter, P.R., 1994. An epidemiological critique of reports of human illness associated with cyanobacteria. In: Codd, G.A., Jefferies, T.M., Keevil, C.W., Potter, E. (Eds.), Detection Methods for Cyanobacterial Toxins. The Royal Society for Chemistry, Cambridge, pp. 11-18. [19] Falconer, I.R., 1994. Health problems from exposure to cyanobacteria and proposed safety guidelines for drinking and recreational water. In: Codd, G.A., Jefferies, T.M., Keevil, C.W., Potter, E. (Eds.), Detection Methods for Cyanobacterial Toxins. The Royal Society for Chemistry, Cambridge, pp. 3-10. [20] Falconer, I.R. and A.R. Humpage. 2005. Health risk assessment of cyanobacterial (blue-green algal) toxins in drinking water. Int. J. Environ. Res. Public Health. 2(1): 43-50. [21] Yu, S.-Z., 1995. Primary prevention of hepatocellular carcinoma. J. Gastroenterol. Hepatol. 10, 674-682. [22] Walker, W.W. Jr. 1983. Significance of eutrophication in water supply reservoir. Journal of American Water Work Association. 75(1): 38-42. [23] Dodds, W.K.,Bouska W.W.,Eitzmann J.L.,Pilger T.J.,Pitts K.L.,Riley A.J., Schloesser J.T. andThornbrugh D.J.. 2009.Eutrophication of U.S. Freshwaters: Analysis of Potential Economic Damages. Environ. Sci. Technol. 43(1): 12-19. [24] Gray, N. F. 1990 Activated Sludge (Theory and Practice) Oxford University Press, New York, U.S.A. ฉบบั ท่ี 88 ปีที่ 27 เมษายน - มิถนุ ายน 2557
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: