Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบการวัดฯ2563_รร.บ้านทับไฮ

ระเบียบการวัดฯ2563_รร.บ้านทับไฮ

Published by chumnanch, 2020-05-25 07:56:42

Description: ระเบียบการวัดฯ2563_รร.บ้านทับไฮ

Search

Read the Text Version

ระเบยี บโรงเรียนบา้ นทับไฮ วา่ ดว้ ยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านทับไฮ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑(ปรบั ปรุง ๒๕๖๐) โรงเรยี นบ้านทับไฮ สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คานา โรงเรยี นบา้ นทับไฮ ไดจ้ ดั ทาหลกั สตู รโรงเรียนบา้ นทบั ไฮ ข้ึนใชใ้ นปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โดยยดึ ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐) ซงึ่ เปน็ หลกั สูตรท่ีใช้แนวคิด หลักสูตรองิ มาตรฐาน (Standard – based Currlculum) ระเบียบโรงเรยี นบา้ นทบั ไฮว่าดว้ ยการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี น หลักสูตรโรงเรียนบ้านทับไฮ พ.ศ ๒๕๖๓ เปน็ เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐)ซง่ึ เป็น เอกสารหนงึ่ ทจี่ ะช่วยขบั เคลอื่ น กระบวนการนาหลกั สูตรไปสู่การปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ โรงเรยี นจงึ ได้จัดทาระเบยี บวา่ ด้วยการวดั และประเมินผลการเรียน หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านทับไฮ พ.ศ ๒๕๖๓ เพอ่ื อธบิ ายขยายความให้ผเู้ ก่ยี วขอ้ งทกุ ฝ่ายตง้ั แตผ่ บู้ รหิ าร ครูผสู้ อน ผเู้ รยี นและผเู้ กีย่ วข้อง มคี วาม เข้าใจท่ชี ัดเจน ตรงกนั รวมท้งั ร่วมกนั รบั ผิดชอบ และทางานรว่ มกนั อยา่ งเป็นระบบ เอกสารประกอบด้วย ๓ ตอนคือ ตอนท่ี ๑ ระเบยี บโรงเรยี นบ้านทบั ไฮวา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน หลักสตู รโรงเรยี นบ้าน ทบั ไฮ พ.ศ ๒๕๖๓ ตอนที่ ๒ แนวปฏิบัติการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านทับไฮ พ.ศ ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑(ปรับปรุง ๒๕๖๐) ตอนที่ ๓ เอกสารหลกั ฐานที่ตอ้ งจดั ทา คณะผู้จดั ทาหวังเป็นอยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารระเบยี บว่าด้วยการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทบั ไฮ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ คงจะเป็นประโยชน์ตอ่ ผทู้ เี่ กีย่ วข้องทกุ ฝา่ ยทจี่ ะช่วยสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และปฏิบัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนเป็นแนวทางเดียวกนั และเปน็ มาตรฐานเดียวกัน ส่งผล ให้พัฒนาผเู้ รยี นได้ตามหลกั การ เจตนารมณ์ และวตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑(ปรบั ปรุง ๒๕๖๐) ต่อไป โรงเรียนบ้านทบั ไฮ

สารบญั หนา้ คานา ๑ ตอนท่ี ๑ ระเบยี บโรงเรียนบา้ นทับไฮว่าดว้ ยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑๗ ตอนที่ ๒ คาอธบิ ายระเบียบการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ๒๕ ตอนที่ ๓ แนวปฏิบัติการของเอกสารหลกั ฐานทางการเรยี น ทโ่ี รงเรียนจดั ทา ภาคผนวก

๑ ตอนท่ี ๑ ระเบยี บโรงเรียนบ้านทับไฮ ว่าด้วยการวดั และประเมินผลการเรียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓) -------------------------------------- โดยท่ีโรงเรยี นบา้ นทบั ไฮ ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรยี นตามหลกั สูตรการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคาสง่ั กระทรวง ศึกษาธิการ ท่ี สพฐ ๒๙๓ / ๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรอื่ ง ให้ใช้หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จงึ เป็นการสมควรท่กี าหนด ระเบยี บโรงเรยี นบ้านทบั ไฮ ว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ือใหส้ ามารถดาเนนิ การไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และสอดคล้องกบั คาส่ัง ดงั กลา่ ว ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๙ แหง่ พระราชบญั ญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และ งานวิชาการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน จงึ วาง ระเบียบไวด้ ังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ระเบยี บนเี้ รยี กว่า “ระเบียบโรงเรียนบา้ นทบั ไฮ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุงพทุ ธศักราช ๒๕๖๓) ข้อ ๒ ระเบียบน้ใี ห้ใชบ้ ังคบั ตัง้ แต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ เป็นตน้ ไป ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกระเบยี บ ข้อบังคับท่ีขดั แยง้ กับระเบียบนี้ ใหใ้ ชร้ ะเบียบนแี้ ทน ข้อ ๔ ระเบยี บนใี้ หใ้ ช้ควบคกู่ บั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านทบั ไฮ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐) ขอ้ ๕ ใหผ้ อู้ านวยการโรงเรียน รกั ษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บนี้

๒ หมวด ๑ หลกั การดาเนินการวัดและประเมินผลการเรยี น ข้อ ๖ การประเมินผลการเรยี น ให้เปน็ ไปตามหลักการดาเนินการต่อไปน้ี ๖.๑ โรงเรยี นเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบการวดั และประเมินผลการเรียนรูข้ องผเู้ รียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ ที่เกยี่ วข้องมสี ่วนร่วม ๖.๒ การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ มจี ุดมุง่ หมายเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นและตดั สนิ ผลการเรยี น ๖.๓ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั ตามกล่มุ สาระการเรียนรูท้ ก่ี าหนดในหลักสูตรสถานศกึ ษา และจดั ใหม้ กี ารประเมนิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๖.๔ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้เู ป็นส่วนหนงึ่ ของกระบวนการจัดการเรยี นการสอนต้อง ดาเนินการดว้ ยเทคนิควิธกี ารที่หลากหลาย เพอ่ื ให้สามารถวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นได้อยา่ งรอบดา้ น ท้ังด้าน ความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติเหมาะสมกบั สง่ิ ท่ตี อ้ งการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับช้นั ของผเู้ รยี น โดยตั้งอยบู่ นพนื้ ฐานของความเท่ยี งตรง ยตุ ิธรรมและเชื่อถอื ได้ ๖.๕ การประเมินผเู้ รยี นพิจารณาจากพฒั นาการของผเู้ รียน ความประพฤติ การสงั เกต พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การร่วมกจิ กรรม และการทดสอบควบคไู่ ปในกระบวนการเรียนการสอนตามความ เหมาะสมของแต่ละระดบั และรูปแบบการศกึ ษา ๖.๖ เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนและผมู้ สี ่วนเกย่ี วข้องตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๖.๗ ให้มกี ารเทยี บโอนผลการเรียนระหว่างสถานศกึ ษาและระหวา่ งรปู แบบการศึกษาต่างๆ ๖.๘ ให้โรงเรยี นจดั ทาเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา เพ่ือเป็นหลกั ฐานการประเมินผลการเรยี นรู้ รายงานผลการเรียนแสดงวฒุ กิ ารศึกษาและรบั รองผลการเรยี นของผเู้ รยี น

๓ หมวด ๒ วิธีการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ขอ้ ๗ โรงเรยี นต้องดาเนินการวดั และประเมนิ ผล ใหค้ รบองค์ประกอบท้ัง ๔ ดา้ น คือ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรม พฒั นาผู้เรยี น ๗.๑ การประเมินผลการเรียนรตู้ ามกลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ั้ง ๘ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ เปน็ การ ประเมนิ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ เจตคติ ทกั ษะการคดิ ท่ีกาหนดอยใู่ นตัวชว้ี ัดในหลักสตู รซง่ึ จะนาไปสู่การ สรปุ ผลการเรียนรูข้ องผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ผ้สู อนวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ผเู้ รยี นเปน็ รายวชิ า ตามตวั ชี้วัดในรายวิชาพนื้ ฐาน และตามผลการเรยี นรูใ้ นรายวิชาเพม่ิ เติม ตามทีก่ าหนดในหนว่ ยการเรยี นรู้ ผู้สอนใช้วธิ ีการทหี่ ลากหลายจากแหลง่ ข้อมลู หลายๆ แหลง่ เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ล การประเมินทส่ี ะทอ้ นความรู้ ความสามารถทแ่ี ทจ้ รงิ ของผูเ้ รียน โดยวัดและประเมินการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนอ่ื งไปพร้อมกบั การจัดการเรยี นการ สอน สังเกตพฒั นาการและความประพฤติของผเู้ รยี น สงั เกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกจิ กรรม ผสู้ อนควร เนน้ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ เช่น การประเมนิ การปฏิบตั งิ าน การประเมนิ จากโครงงาน หรอื การประเมนิ จากแฟม้ สะสมงาน ฯลฯ ควบค่ไู ปกับการใช้การทดสอบแบบตา่ งๆ อย่างสมดลุ ตอ้ งให้ความสาคัญกบั การ ประเมินระหวา่ งเรยี นมากกกวา่ การประเมนิ ปลายปี/ปลายภาค และใชเ้ ป็นขอ้ มูลเพอ่ื ประเมินการเลื่อนช้นั เรยี นและการจบการศึกษาระดับต่างๆ ๗.๒ การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียนของผเู้ รยี น ใหค้ รูประจาวิชา ดาเนินการวดั ผล ตามเกณฑท์ ก่ี าหนดดงั น้ี -การประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น โดยการประเมินศกั ยภาพของผเู้ รียนใน การอา่ นหนงั สอื เอกสาร และสอ่ื ต่างๆ เพื่อหาความรู้ เพมิ่ พนู ประสบการณ์ เพอ่ื ความสุนทรีย์ และ ประยกุ ต์ใช้ แลว้ น าเนื้อหาสาระที่อ่านมาคดิ วิเคราะห์ นาไปสกู่ ารแสดงความคดิ เห็น การสังเคราะห์ สรา้ งสรรค์ การแก้ปญั หาในเร่อื งต่างๆ และถ่ายทอดความคดิ นัน้ ด้วยการเขียนทีม่ สี านวนภาษาถกู ตอ้ ง มีเหตผุ ลและลาดบั ขั้นตอนในการนาเสนอ สามารถสรา้ งความเข้าใจแกผ่ อู้ ่านได้อยา่ งชดั เจน ตามระดบั ความสามารถในแตล่ ะระดบั ช้ัน -การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ต้องดาเนินการอยา่ งตอ่ เน่อื งและ สรปุ ผลเปน็ รายภาค เพือ่ วนิ จิ ฉัยและใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการพฒั นาผู้เรียนและประเมนิ การเลอื่ นช้ันตลอดจนการ จบการศึกษาระดบั ตา่ งๆ ๗.๓ การประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน ใหค้ รูผสู้ อนดาเนนิ การวัดผลไปพรอ้ ม กบั การประเมนิ ผลระดบั ชน้ั เรียนตามเกณฑ์ทกี่ าหนดดงั น้ี -การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เป็นการประเมินคณุ ลกั ษณะทตี่ ้องการใหเ้ กดิ ขึน้ กบั ผเู้ รยี นอันเป็น คณุ ลักษณะทสี่ งั คมต้องการในดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมจติ สานกึ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผูอ้ น่ื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข

๔ ทั้งในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรับปรงุ ๒๕๖๐) กาหนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๘ คณุ ลักษณะ ในการประเมินใหป้ ระเมนิ แตล่ ะคุณลกั ษณะ แลว้ รวบรวมผลการ ประเมนิ จากผปู้ ระเมินทกุ ฝ่ายและแหลง่ ข้อมลู หลายแหลง่ เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อมลู นามาสกู่ ารสรปุ ผลเป็นรายภาค และใช้เปน็ ขอ้ มูลเพอ่ื ประเมินการเล่ือนขั้นและการจบการศกึ ษาระดบั ตา่ งๆ ๗.๔ การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนให้ประเมนิ เปน็ ภาค โดยสถานศึกษาเปน็ ผกู้ าหนดแนว ทางการประเมนิ ผรู้ บั ผิดชอบกิจกรรมดาเนนิ การประเมนิ ตามจุดประสงคก์ ารประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น เปน็ การประเมินการปฏิบัติกจิ กรรมและผลงานของผูเ้ รียน และเวลาในการเข้าร่วมกจิ กรรมตามเกณฑท์ ี่ กาหนดไว้ในแตล่ ะกิจกรรมและใชเ้ ป็นขอ้ มลู ประเมินการเล่ือนช้นั เรียนและการจบการศกึ ษาระดบั ต่างๆ ประกอบดว้ ย ๓ กจิ กรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน (ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ้ าเพญ็ ประโยชน์ นักศึกษาวชิ าทหาร และกจิ กรรมชุมนมุ /ชมรม) กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน

๕ หมวด ๓ เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ขอ้ ๘ การตดั สนิ ผลการเรียน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรบั ปรุง ๒๕๖๐)กาหนดหลกั เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เพอื่ ตัดสินผลการเรียนของผเู้ รยี น ดงั น้ี ๑)ผูเ้ รยี นตอ้ งมเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมด ๒)ผู้เรยี นต้องไดร้ ับการประเมนิ ทกุ ตัวชวี้ ัดและผ่านตามเกณฑ์ท่โี รงเรียนกาหนด ๓)ผูเ้ รยี นต้องไดร้ ับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา ตามระบบคุณธรรมความรู้ ๔)ผูเ้ รยี นต้องได้รับการประเมนิ และมผี ลการประเมินผ่านตามเกณฑท์ โี่ รงเรียนกาหนดในการ อา่ นคดิ วิเคราะห์ และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ข้อ ๙ การใหร้ ะดับผลการเรยี น ๙.๑ การตดั สินผลการเรียนรายวชิ าของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ใหใ้ ช้ระบบตัวเลข ๘ ระดบั แสดงระดับผลการเรยี นในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๘ ระดับ ดงั นี้ ระดบั ผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนนเป็นร้อยละ ๔ ดีเย่ยี ม ๘๐-๑๐๐ ๓.๕ ดีมาก ๗๕-๗๙ ๓ ดี ๗๐-๗๔ ๒.๕ ค่อนขา้ งดี ๖๕-๖๙ ๒ ปานกลาง ๖๐-๖๔ ๑.๕ พอใช้ ๕๕-๕๙ ๑ ผา่ นเกณฑ์ข้ันตา่ ๕๐-๕๔ ๐ ต่ากว่าเกณฑ์ ๐-๔๙ ๙.๒ การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น เป็นผา่ น และไมผ่ า่ น ถา้ กรณที ี่ผ่านกาหนดเกณฑ์การ ตดั สนิ เป็นดเี ย่ียม ดี และผ่าน ดเี ยย่ี ม หมายถึง มผี ลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอ่านคิดวเิ คราะห์และเขียน ทีม่ ีคุณภาพดีเลิศอยเู่ สมอ ดี หมายถึง มีผลงานทแี่ สดงถงึ ความสามารถในการอา่ นคดิ วิเคราะห์ และเขียนทมี่ คี ุณภาพเป็นท่ียอมรบั ผา่ น หมายถงึ มีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอา่ นคดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น ทีม่ ีคณุ ภาพ เป็นท่ยี อมรบั แต่ยงั มีข้อบกพรอ่ งบางประการ ไม่ผ่าน หมายถึง ไมม่ ผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอ่านคดิ วิเคราะห์และเขียน หรือถา้ มผี ลงาน ผลงานน้ันยังมขี อ้ บกพร่อง ทตี่ อ้ งไดร้ บั การปรบั ปรงุ แก้ไขหลายประการ

๖ ๙.๓ การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รวมทกุ คุณลกั ษณะ เพอ่ื การเล่อื นชนั้ และจบการศกึ ษา เป็น ผ่านและไมผ่ า่ น ในการผา่ นกาหนดเกณฑ์การตดั สนิ เป็นดเี ยีย่ ม ดี และผา่ น และความหมายของแตล่ ะระดบั ดงั น้ี ดเี ยี่ยม หมายถงึ ผเู้ รยี นปฏิบตั ติ นตามคุณลกั ษณะจนเป็นนสิ ยั และนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน เพ่ือประโยชน์ สขุ ของ ตนเองและสังคมโดยพจิ ารณาจากผลการประเมิน ระดบั ดเี ย่ียม จานวน ๕-๙ คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมินตา่ กวา่ ระดับดี ดี หมายถงึ ผเู้ รียนมีคณุ ลกั ษณะในการปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑ์ เพอื่ ให้เป็นการยอมรบั ของสงั คม โดย พิจารณาจาก ๑) ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดเี ย่ียม จานวน ๑-๔ คุณลกั ษณะ และ ไม่มคี ุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมินต่ากวา่ ระดับดี หรอื ๒) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี เย่ยี ม จานวน ๔ คุณลกั ษณะและไมม่ คี ุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ตา่ กว่าระดบั ผา่ น หรือ ๓) ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดีจานวน ๕-๙ คุณลกั ษณะ และไมม่ ีคุณลกั ษณะใดได้ผล การประเมนิ ตา่ กวา่ ระดบั ผ่าน ผ่าน หมายถึง ผเู้ รียนรบั รแู้ ละปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑ์และเง่อื นไขที่ สถานศึกษากาหนดโดยพจิ ารณาจาก ๑) ได้ผลการประเมนิ ระดบั ผา่ น จานวน ๕-๙ คณุ ลักษณะ และไมม่ ีคุณลกั ษณะใด ไดผ้ ล การประเมนิ ตา่ กวา่ ระดบั ผ่าน หรอื ๒) ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี จานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไมม่ ีคุณลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ตา่ กวา่ ระดบั ผ่าน ไม่ผา่ น หมายถงึ ผู้เรียนรบั รูแ้ ละปฏบิ ตั ไิ ดไ้ ม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษากาหนด โดย พจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ไมผ่ า่ น ตัง้ แต่ ๑ คณุ ลกั ษณะ ๙.๔ การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จะต้องพจิ ารณาทง้ั เวลาการเขา้ รว่ มกจิ กรรมการปฏบิ ัติกจิ กรรมและผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑท์ ี่ สถานศกึ ษากาหนดและใหผ้ ลการประเมินเปน็ ผา่ น และไมผ่ า่ น “ผ” หมายถงึ ผู้เรยี นมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปฏิบตั กิ ิจกรรม และมผี ลงานตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากาหนด “มผ” หมายถึง ผู้เรยี นมเี วลาเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม และมผี ลงานไมเ่ ป็นไปตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากาหนด กรณีทผ่ี ู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาตอ้ งจัดซ่อมเสรมิ ให้ผเู้ รยี นทากจิ กรรมในส่วนทผี่ เู้ รียนไมไ่ ด้ เขา้ รว่ มหรอื ไม่ไดท้ าจนครบถ้วน แล้วจงึ เปลย่ี นผลการเรยี นจาก “มผ” เปน็ “ผ” ได้ ทงั้ น้ี ดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ สนิ้ ภายในภาคเรยี นนัน้ ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของโรงเรยี นท่จี ะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอกี ไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรยี น สาหรับภาคเรยี นท่ี ๒ ต้องดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในปกี ารศึกษานั้น ขอ้ ๑๐ การเลอื่ นช้ัน ผ้เู รยี นจะไดร้ ับการเล่อื นช้นั เมอ่ื สิ้นปกี ารศึกษาเมอ่ื มคี ุณสมบัติตามเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑.รายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพิ่มเตมิ ได้รับการตัดสนิ ผลการเรียน ผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนด

๗ ๒.ผูเ้ รยี นตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ และมผี ลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนดในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๓.ระดบั ผลการเรียนเฉล่ียในปกี ารศกึ ษานน้ั ควรไม่ต่ากว่า ๑.๐๐ รายวิชาใดท่ไี ม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สถานศึกษาสามารถซอ่ มเสรมิ ผเู้ รยี นใหไ้ ด้รบั การแกไ้ ขในภาคเรียนถัดไป ทงั้ นสี้ าหรับภาคเรยี นที่ ๒ ตอ้ งดาเนนิ การ ใหเ้ สรจ็ สิ้นภายในปกี ารศกึ ษานนั้ ทง้ั นี้ ถา้ ผู้เรยี นมีขอ้ บกพรอ่ งเพียงเล็กนอ้ ย ตามทีค่ รูประจาวิชาแจง้ และเหน็ วา่ สามารถสอนซอ่ มเสรมิ ได้ ให้สถานศึกษาใช้ดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษาทจี่ ะผอ่ นผันใหเ้ ล่อื นชั้นได้ ข้อ ๑๑ การสอนซ่อมเสริม หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรับปรงุ ๒๕๖๐)กาหนดใหส้ ถานศึกษาจัด สอนซ่อมเสรมิ เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ของผเู้ รียนเต็มตามศักยภาพ การสอนซ่อมเสรมิ เป็นการสอนเพอ่ื แก้ไขขอ้ บกพรอ่ ง กรณที ี่ผเู้ รยี นมีความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ หรอื เจตคติ/คณุ ลักษณะ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด สถานศึกษาตอ้ งจัดสอน ซอ่ มเสรมิ เปน็ กรณพี เิ ศษนอกเหนอื ไปจากการสอนปกติ เพ่ือพฒั นาผเู้ รียนใหบ้ รรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด ท่กี าหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผเู้ รยี นได้เรยี นรแู้ ละพฒั นา โดยจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลายและ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คล การสอนซอ่ มเสริม สามารถดาเนนิ การได้ในกรณี ดงั ต่อไปน้ี ๑) ผู้เรียนมคี วามรู้/ทกั ษะพื้นฐานไมเ่ พียงพอทจี่ ะศึกษาในแตล่ ะรายวิชานัน้ ควรจัดการสอน ซอ่ มเสรมิ ปรบั ความรู/้ ทักษะพืน้ ฐาน ๒) ผเู้ รียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ หรอื เจตคติ/คุณลกั ษณะทก่ี าหนดไว้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด ในการประเมนิ ระหว่างเรียน ๓) ผู้เรยี นไดร้ ะดบั ผลการเรยี น”๐”ใหจ้ ดั การสอนซ่อมเสรมิ กอ่ นสอบแกต้ ัว ๔) กรณผี เู้ รียนมผี ลการเรยี นไม่ผ่าน สามารถสอนซ่อมเสรมิ ในภาคฤดูร้อนเพ่อื แกไ้ ขผลการ เรยี น ท้งั น้ีใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษา ข้อ ๑๒ การเรียนซา้ ช้ัน ผูเ้ รยี นท่ไี มผ่ ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโนม้ ว่าจะเป็นปัญหาตอ่ การเรยี นในระดบั ชน้ั ท่ี สูงขน้ึ ให้สถานศึกษาอาจตง้ั คณะกรรมการพจิ ารณาใหเ้ รยี นซ้าชั้นได้ ทงั้ นี้ ให้คานึงถึงวุฒภิ าวะและความรู้ ความสามารถของผู้เรยี นเปน็ สาคญั การเรียนซ้าชัน้ มี ๓ ลกั ษณะ คอื ๑) ผู้เรียนมรี ะดบั ผลการเรียนเฉลีย่ ในปีการศึกษานน้ั ต่ากวา่ ๑.๐๐ และมีแนวโนม้ วา่ จะเป็น ปัญหาต่อการเรียนในระดบั ทส่ี งู ขึน้ ๒) ผูเ้ รยี นมผี ลการเรยี น ๐, ร, มส เกินครง่ึ หนง่ึ ของรายวชิ าทีล่ งทะเบยี นเรียนในปีการศึกษานั้น ทั้งน้ี หากเกิดลกั ษณะใดลักษณะหน่งึ หรือทง้ั ๒ ลกั ษณะ ใหส้ ถานศึกษาแตง่ ตง้ั คณะกรรมการพจิ ารณา หากเหน็ ว่าไม่มีเหตุผลอนั สมควรกใ็ หเ้ รียนซา้ ช้ัน โดยยกเลกิ ผลการเรยี นเดมิ และให้ ใชผ้ ลการเรียนใหมแ่ ทน หากพจิ ารณาแลว้ ไม่ต้องเรียนซา้ ชัน้ ให้อยูใ่ นดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษา ในการแกไ้ ข ผลการเรียน

๘ หมวด ๔ การรายงานผลการเรยี น ข้อ ๑๕ การรายงานผลการเรียน -การรายงานผลการเรยี นเปน็ การสอ่ื สารใหผ้ ปู้ กครองและผ้เู รียนทราบความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรขู้ อง ผูเ้ รยี นซง่ึ สถานศกึ ษาตอ้ งสรปุ ผลการประเมนิ และจัดทาเอกสารรายงานใหผ้ ปู้ กครองทราบเปน็ ระยะๆหรืออย่าง น้อยภาคเรียนละ ๑ ครงั้ -การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปน็ ระดับคุณภาพปฏิบตั ิของผู้เรียนทสี่ ะท้อน มาตรฐานการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๑. จดุ มุง่ หมายการรายงานผลการเรียน ๑.๑ เพอ่ื แจง้ ใหผ้ เู้ รยี น ผู้เก่ยี วขอ้ งทราบความก้าวหน้าของผเู้ รียน ๑.๒ เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี น ผเู้ กยี่ วขอ้ งใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ส่งเสรมิ พฒั นาและการเรยี นของผเู้ รียน ๑.๓ เพื่อใหผ้ เู้ รยี น ผเู้ ก่ียวขอ้ งใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนการเรียน กาหนดแนวทางการศกึ ษาและการ เลือกอาชีพ ๑.๔ เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ใหผ้ ้เู กย่ี วข้องใชใ้ นการออกเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาตรวจสอบและรับรองผลการเรียน หรือวฒุ ทิ างการศกึ ษาของผเู้ รยี น ๑.๕ เพอ่ื เปน็ ข้อมลู สาหรบั สถานศกึ ษา เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาและหน่วยงานต้นสงั กัดใช้ประกอบในการ กาหนดนโยบายวางแผนในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๒. ขอ้ มลู ในการรายงานผลการเรียน ๒.๑ ข้อมลู ระดบั ช้นั เรยี น ประกอบด้วย เวลามาเรียน ผลการประเมนิ ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมการเรียน ความประพฤติ และผลงานในการเรียนของผูเ้ รียน เป็นขอ้ มูลสาหรบั รายงานใหผ้ มู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ได้แก่ ผเู้ รียน ผสู้ อน และผปู้ กครองได้รบั ทราบความก้าวหน้า ความสาเรจ็ ในการ เรยี นของผเู้ รยี น เพอื่ นาไปใช้ในการวางแผนกาหนดเปา้ หมายและวิธีการในการพัฒนาผเู้ รยี น ๒.๒ ขอ้ มลู ระดบั สถานศกึ ษา ประกอบด้วย ผลการประเมนิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ผลการประเมินการอา่ นคดิ วิเคราะห์ และเขยี น ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ผลการ ประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนรายปี/รายภาค ผลการประเมนิ ความกา้ วหน้าในการเรียนรรู้ ายภาคโดยรวมของ สถานศกึ ษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ข้อมลู และสารสนเทศในการพฒั นาการเรียนการสอนและคุณภาพของผเู้ รยี น ให้เปน็ ไปตาม มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด การตดั สินการเลื่อนชัน้ และการซ่อมเสริมผเู้ รยี นทม่ี ขี ้อบกพร่องใหผ้ ่านระดบั ช้นั และ เปน็ ขอ้ มลู ในการออกเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา ๒.๓ ขอ้ มูลระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ได้แก่ ผลการประเมินคณุ ภาพของผ้เู รยี นดว้ ย แบบประเมนิ ทส่ี านกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาจัดทาข้นึ ในกลุม่ สาระการเรียนรูส้ าคัญในระดับช้ันทนี่ อกเหนือจาก

๙ การประเมินคุณภาพระดบั ชาตเิ ปน็ ข้อมลู ทผี่ ้เู ก่ียวขอ้ งใช้วางแผนและดาเนนิ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา เพ่อื ใหเ้ กิดการยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของผเู้ รียนและ สถานศึกษา ๒.๔ ข้อมูลระดับชาติ ไดแ้ ก่ ผลการประเมนิ คณุ ภาพของผเู้ รยี นดว้ ยแบบประเมินท่ีเปน็ มาตรฐาน ระดบั ชาตใิ นกลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ส่ี าคัญในช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ซงึ่ ดาเนินการโดย หน่วยงานระดบั ชาติ เป็นขอ้ มลู ทผี่ เู้ ก่ยี วข้องใชว้ างแผน และดาเนนิ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในส่วนทเี่ กย่ี วข้อง เพือ่ ใหเ้ กดิ การยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของผูเ้ รียนสถานศกึ ษา ท้องถ่ิน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาและ ประเทศชาติ รวมทงั้ นาไปรายงานในเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาของผเู้ รียน ๒.๕ ข้อมูลพฒั นาการของผเู้ รียนด้านอน่ื ๆ ประกอบด้วย ข้อมลู เก่ยี วกบั พฒั นาการทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และพฤตกิ รรมตา่ งๆ เป็นข้อมลู สว่ นหนง่ึ ของการแนะนาและจัดระบบการดูแลช่วยเหลือ เพือ่ แจ้งให้ ผู้เรยี น ผูส้ อน ผปู้ กครอง และผเู้ กี่ยวขอ้ งได้รบั ทราบข้อมลู โดยผมู้ ีหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบแต่ล่ะฝ่ายนาไปใชป้ รบั ปรงุ แกไ้ ข และพฒั นาผูเ้ รียนใหเ้ กดิ พฒั นาการอย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม รวมทงั้ นาไปจัดทาเอกสารหลกั ฐานแสดงพัฒนาการของ ผู้เรียน

๑๐ หมวด ๕ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา ข้อ ๑๖ ให้มกี ารจดั หาและจดั ทาเอกสารหลักฐานการศกึ ษา ดังต่อไปน้ี ๑๖.๑ เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทกี่ ระทรวงศึกษาธิการกาหนด ประกอบด้วย ๑) ระเบียนแสดงผลการเรียน (transcript)( ปพ๑ : บ, ปพ๑ : พ) ใชเ้ ป็นเอกสารบันทกึ ผลการเรียนของผู้เรียนตามสาระการเรยี นรู้กลมุ่ วิชาและกจิ กรรมต่างๆ ท่ีได้เรียนในแตล่ ะชว่ ง ชน้ั ของหลกั สตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน เพอ่ื ใชเ้ ป็นหลกั ฐานแสดงสถานภาพและความสาเรจ็ ในการศกึ ษาของผเู้ รยี น แตล่ ะคน และใช้เป็นหลกั ฐานในการสมัครเข้าศกึ ษาต่อ สมคั รเข้าท างานหรอื ดาเนนิ การในเรอื่ งอ่ืนทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ข้อกาหนดเอกสารดังน้ี -โรงเรียนจัดทาระเบียนแสดงผลการเรยี นของผูเ้ รยี น ตามรปู แบบทีก่ ระทรวงศึกษาธิการกาหนด ตามคาส่งั กระทรวงศึกษาธกิ ารที่ ๖๑๖/๒๕๕๒ โรงเรียนจดั ทาตน้ ฉบบั ระเบียนแสดงผลการเรยี นของนักเรียนทุกคน เกบ็ รักษา ไว้ตลอดไปและระมดั ระวังดแู ลรักษาไมใ่ หช้ ารดุ เสยี หาย สญู หายหรอื มีการเปลีย่ นแปลงแก้ไขข้อมลู เป็นอนั ขาดเพ่ือ ความสะดวกในการค้นหาขอ้ มลู โรงเรียนอาจเกบ็ ขอ้ มลู ในเอกสารนีใ้ นรปู ของ CD-ROM หรอื เทคโนโลยีอนื่ ๆ โรงเรยี นจดั ทาระเบยี นแสดงผลการเรียนเมอ่ื ผ้เู รยี นสาเรจ็ การศึกษาแต่ละชว่ งชนั้ ใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี นโดยคัดลอกข้อมูล จาก ต้นฉบบั ทีโ่ รงเรยี นจดั ทากรณีผเู้ รยี นยา้ ยสถานศึกษาโรงเรยี นจะต้องจดั ทาระเบียนแสดงผลการเรียนของนกั เรยี น ในชว่ งช้นั ท่ีกาลงั ศกึ ษาอยู่ โดยคดั ลอกขอ้ มูลจากต้นฉบบั ทเ่ี ป็นปัจจุบนั ใหถ้ กู ต้องสมบรู ณ์ ใหผ้ เู้ รยี นนาไปเปน็ หลักฐานการสมัครเข้าเรยี นทส่ี ถานศกึ ษาใหม่ -กรณผี ู้เรยี นรบั ระเบียนแสดงผลการเรียนของนกั เรยี นของตนเองไปแล้วเกิดการชารดุ สูญหาย และผเู้ รียน ตอ้ งการเอกสารฉบับใหม่ให้โรงเรียนออกเอกสารฉบบั ใหมแ่ ก่ผเู้ รียนโดยคดั ลอกหรอื ถ่ายสาเนาจากตน้ ฉบับเอกสารท่ี จดั เกบ็ รกั ษาไวก้ รณผี เู้ รียนตอ้ งการระเบยี นแสดงผลการเรยี นเป็นภาษาองั กฤษ ใหอ้ อกเอกสารตามข้อมลู เดมิ ของ ตน้ ฉบับเอกสารดว้ ยภาษาอังกฤษ- กรณตี ้นฉบบั เอกสารเกิดการสญู หายให้แจง้ ยกเลิกการใชเ้ อกสารระเบยี น แสดงผลการเรียน ตามลาดบั ขั้นตอน ตามคาส่งั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ ๖๑๖/๒๕๕๒ ๒) แบบรายงานผู้สาเรจ็ การศึกษา (ปพ.๓) เปน็ เอกสารรายงานรายชื่อและขอ้ มลู ของผ้สู าเรจ็ การศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ป็นหลกั ฐานสาหรบั ตรวจสอบยนื ยนั และรับรองความสาเรจ็ และวุฒิการศกึ ษาของผสู้ าเรจ็ การศึกษาแตล่ ะคนตอ่ เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข้อกาหนดของ เอกสารมีดงั นี้ (๑) เป็นเอกสารสาหรบั รายงาน รายช่อื และขอ้ มลู ผสู้ าเรจ็ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ คือ ระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ต่อหนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบ คอื สานักงาน เขตพื้นท่ี การศึกษา และกระทรวงศกึ ษาธิการ

๑๑ (๒) ให้สถานศึกษาใชแ้ บบพมิ พ์เอกสารตามรปู แบบทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ตามคาสง่ั ระทรวง ศกึ ษาธกิ ารท่ี สพฐ.๖๑๘/๒๕๕๒ เรอ่ื ง การจดั ทาแบบรายงานผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒ (๓) ให้สถานศกึ ษาแต่งตงั้ คณะกรรมการจดั ทาแบบรายงานผู้สาเรจ็ การศกึ ษาเปน็ ครง้ั คราวไป เป็นผชู้ ว่ ย นายทะเบยี น จดั ทาเอกสารนี้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ จดั ทาจานวน ๒ ชดุ เกบ็ รกั ษาท่สี ถานศึกษา ๑ ชุด ท่ี สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ๑ ชดุ (๔) สถานศึกษาและหนว่ ยงานทเี่ กบ็ รกั ษาเอกสาร จะตอ้ งดแู ลรกั ษาเอกสารน้อี ย่าใหช้ ารดุ เสียหาย สญู หาย หรอื ข้อมูลถูกเปลยี่ นแปลงแก้ไขเป็นอนั ขาด และตอ้ งเกบ็ รกั ษาไว้ในสถานท่ที ่ีมคี วามปลอดภัยไว้ตลอดไป เพอื่ ความ สะดวก ในการคน้ หาข้อมูลสถานศกึ ษาอาจเก็บข้อมลู เทคโนโลยอี ืน่ ทางใดทางหนึง่ ได้ (๕) สถานศกึ ษาจะต้องจัดส่งเอกสารทจ่ี ดั ทาเรยี บรอ้ ยแลว้ ไปให้หนว่ ยงานที่กาหนดภายในเวลา ๓๐ วนั หลงั จากผู้เรยี นได้รบั การอนมุ ตั ิใหส้ าเร็จการศกึ ษา ๑๖.๒ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศกึ ษากาหนด ๔) แบบบันทกึ ผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนรายวชิ า (ปพ.๕) เปน็ เอกสารสาหรบั ผสู้ อนใช้บนั ทกึ เวลาเรยี น ขอ้ มลู ผลการวัดและประเมินผลการเรยี นและข้อมลู การ พัฒนาคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียนแต่ละคนที่เรียนในห้องหรอื กลมุ่ เดยี วกนั เพ่ือใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ปรบั ปรงุ แกไ้ ข สง่ เสริม และตัดสินผลการเรยี นของผเู้ รยี น รวมทงั้ ใช้เปน็ หลักฐานสาหรบั ตรวจสอบ ยนื ยนั สภาพการเรยี น การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมตา่ งๆ และผลสัมฤทธิ์ของผเู้ รียนแต่ละคน ขอ้ กาหนด ของเอกสาร มดี งั นี้ (๑) ใช้บนั ทึกเวลาเรยี น ขอ้ มลู การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นและขอ้ มลู พฒั นาคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ของผู้เรยี นทง้ั หอ้ งหรือกลุ่มท่ีเรียนพรอ้ มกนั โดยบนั ทกึ เป็นรายบุคคล (๒) ขอ้ มลู ท่จี ะบนั ทกึ ในเอกสารอยา่ งน้อยควรมดี งั น้ี (๒.๑) ข้อมลู ของสถานศึกษา (๒.๒) ชือ่ - ช่ือสกุลผู้สอนหรือทป่ี รกึ ษา (๒.๓) ชอ่ื – ชื่อสกุลและเลขประจาตวั ประชาชนของผเู้ รยี นทุกคนทีเ่ รยี นในหอ้ งหรือกลุม่ ท่ีเรยี นร่วมกัน (๒.๔) ลักษณะการใชเ้ วลาในการเข้าเรยี น หรอื ร่วมกิจกรรมการเรยี นของผู้เรยี นในชว่ งเวลาทส่ี ถานศกึ ษา กาหนดใหเ้ ป็นเวลาเรยี นจาแนกเปน็ เวลามา มาสาย ปว่ ย ลา ขาด (๒.๕) สรุปรวมเวลาเรยี นของผเู้ รยี นแตล่ ะคน (๒.๖) เวลาเรียนของแตล่ ะคน คดิ เปน็ ร้อยละของเวลาเรยี นเตม็ (๒.๗) รายการประเมินตามตวั ช้ีวัดรายภาค(ตามระดบั ช้ันทใ่ี ช้เอกสาร) (๒.๘) ระดบั ผลการเรียน (๒.๙) เกณฑก์ ารประเมนิ ให้ระดบั ผลการเรยี น (๒.๑๐) ข้อมลู ผลการวดั และประเมินผลการเรยี นระหวา่ งเรยี นปลายภาค (๒.๑๑) ผลการตัดสนิ และอนุมตั ผิ ลการเรียน

๑๒ (๒.๑๒) รายการคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของสถานศกึ ษา (๒.๑๓) เกณฑ์หรือขอ้ บง่ ชใ้ี นการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องสถานศกึ ษา (๒.๑๔) ผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ของสถานศึกษา (๒.๑๕) ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี นของผเู้ รียน (๓) ลักษณะการบนั ทึกขอ้ มลู (๓.๑) การบนั ทกึ เวลาเรยี นตามลกั ษณะเวลาเรยี นของแตล่ ะรายวชิ าโดยบนั ทึกเวลาเรยี นของผเู้ รยี นท้งั ห้อง หรอื กล่มุ ตลอดการเรยี นในแต่ละรายวิชา (๓.๒) การบันทึกขอ้ มลู ผลการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น ใหบ้ นั ทกึ คะแนนและขอ้ มูลการวดั และ ประเมนิ ผลการเรียนเปน็ รายวิชาโดยบนั ทึกข้อมลู ของทกุ คนในห้องหรอื กลมุ่ เดียวกันไวใ้ นเลม่ เดยี วกนั ใหเ้ สรจ็ สมบรู ณ์ในแต่ละรายวชิ า (๓.๓) การบนั ทกึ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ใหบ้ นั ทกึ ผลการประเมินผเู้ รียนทกุ คนในห้อง หรือกลมุ่ เดียวกนั จากผปู้ ระเมิน ทุกฝา่ ยแต่ละภาคไว้ในเอกสารเลม่ เดียวกันโดยคณุ ครปู รกึ ษาเปน็ ผบู้ นั ทกึ ผลการ ประเมินอาจบันทกึ เปน็ คะแนนท่ไี ดจ้ ากเครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมินแต่ละประเภทหรอื บันทกึ เป็นเสน้ พฒั นาการ (Profile) หรือคาบรรยายสภาพคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์แตล่ ะประการได้ (๓.๔) การบนั ทึกผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ นคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน ใหบ้ ันทึกผลการประเมิน ผเู้ รยี นทกุ คนในหอ้ งหรอื กลมุ่ เดยี วกันจากผปู้ ระเมินท่สี ถานศกึ ษากาหนดไว้ในเอกสารเล่มเดยี วกัน โดยอาจารยท์ ่ี ปรึกษาเป็นผู้บนั ทกึ (๓.๕) การออกแบบและจัดทาเอกสาร สถานศกึ ษาเปน็ ผู้ออกแบบการจดั ทาเอกสารโดยคานงึ ถงึ ความ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมลู ความสะดวก ชดั เจนในการบนั ทึกข้อมลู และการน าเอกสารไปใชเ้ ปน็ สาคญั สถานศกึ ษาอาจออกแบบให้บนั ทกึ ขอ้ มลู ในขอ้ (๓.๑) , (๓.๒), (๓.๓ ) ไวใ้ นเล่มเดียวกนั ก็ได้ (๓.๖) กรณผี ้เู รยี นย้ายสถานศกึ ษาระหวา่ งปี หรอื ยา้ ยสถานศกึ ษาระหวา่ งภาคใหส้ ถานศึกษาจัดทาใบแจง้ จานวนเวลาเรยี น ข้อมลู ผลการเรยี น ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และผลการประเมินความสามารถ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นของผูเ้ รียนในปหี รอื ภาคเรียนท่ีกาลงั เรยี นโดยคดั ลอกเอกสารนี้ ให้ผเู้ รยี นนาไปให้ สถานศึกษาท่ีรบั ผเู้ รียนเข้าศึกษาต่อใชเ้ ปน็ ข้อมลู สาหรบั รวมกับขอ้ มลู ทจ่ี ะเกิดในสถานศึกษาใหม่ เปน็ ขอ้ มลู ผลการ พฒั นาของผู้เรยี นต่อไป (๓.๗) แบบบนั ทกึ ผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น เมื่อใช้กรอกขอ้ มลู แล้วสถานศกึ ษาจะตอ้ งเกบ็ รกั ษาไว้เปน็ หลักฐานสาหรบั การตรวจสอบเป็นเวลาอย่างนอ้ ย ๑๐ ปี ๕) แบบบันทึกผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนรายบุคคล(ปพ.๖) เป็นเอกสารสาหรับบนั ทึกข้อมลู เกี่ยวกับผลการเรียน พฒั การในด้านตา่ ง ๆ และข้อมลู อ่ืนๆ ของผเู้ รยี น ทง้ั ทีส่ ถานศกึ ษาหรือทบี่ า้ น เพอ่ื ใชส้ าหรบั สอ่ื สารนาสาหรบั สถานศกึ ษากบั ผปู้ กครองของผเู้ รยี นใหร้ บั ทราบและเกิด ความเข้าใจในตัวผ้เู รียนร่วมกัน ข้อกาหนดของเอกสาร มดี ังนี้ (๑) เปน็ เอกสารสาหรบั บนั ทึกขอ้ มลู เก่ยี วกบั พัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รยี นรายบุคคล

๑๓ (๒) ข้อมลู ที่บนั ทกึ ในเอกสารอยา่ งน้อยควรมดี งั น้ี (๒.๑) ขอ้ มลู สว่ นตวั ผเู้ รียน และเลขประจาตัวประชาชนของผูเ้ รียน (๒.๒) เวลาเรียน (๒.๓) การวัดและประเมินผลการเรยี น และการตัดสินผลการเรยี น (๒.๔) ผลงานหรอื ความสาเร็จทีน่ ่าภาคภมู ิใจ (เปน็ การนารายชอื่ ผลงานดเี ด่นของผเู้ รยี นทง้ั ท่ีเกดิ จากการ เรยี นโดยตรง และเกิดจากการดาเนินงานส่วนตัวมาบันทึกไวป้ ีละ ๑ – ๒ ชนิ้ โดยผเู้ รยี นเปน็ ผกู้ รอกแลว้ ใหผ้ ้ปู กครอง และสถานศึกษารบั รองและแสดงความเหน็ ตอ่ ผลงานแตล่ ะช้นิ ) (๒.๕) ความเห็นของสถานศึกษาและผปู้ กครองทมี่ ีตอ่ ผเู้ รียนเกีย่ วกับผลการเรยี น (๒.๖) รายการคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องสถานศกึ ษา (๒.๗) การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์แต่ละประการอาจรายงานผลการประเมนิ เป็นเส้นพัฒนาการ (Profile) หรือคาบรรยายสรปุ สภาพคุณลกั ษณะอันพึงประสงคไ์ ด้ (๒.๘) รายการกจิ กรรมและผลการประเมนิ กจิ กรรม (๒.๙) ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ นคิดวิเคราะห์ และเขียน (๒.๑๐) รปู ถ่ายนักเรยี น (๒.๑๑) ลายมือชอ่ื ของผจู้ ัดทาเอกสาร (๒.๑๒) ลายมือชือ่ ของหัวหน้าสถานศึกษา และประทบั ตราสถานศกึ ษา (๒.๑๓) วัน เดือน ปี ท่รี ายงานขอ้ มลู (๒.๑๔) ขอ้ มลู อน่ื ทสี่ ถานศึกษาเหน็ สมควรนามาบนั ทกึ ไว้ (๓) สถานศกึ ษาเปน็ ผู้ออกแบบจัดทาเอกสารน้ีใชเ้ องใหเ้ หมาะสมกบั สถานศกึ ษาของตน (๔) สถานศกึ ษาจะตอ้ งบนั ทึกขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ใหเ้ ป็นปัจจบุ ัน และสง่ เอกสารนใี้ หผ้ ูป้ กครองของผ้เู รยี นอย่าง ตอ่ เน่ือง เมื่อมีการบนั ทกึ ข้อมลู ใหม่ ๆ ไม่ควรนอ้ ยกว่าภาคเรยี นละ ๑ ครัง้ หรอื ปกี ารศึกษาละ ๑ คร้ัง (๕) กรณผี ูเ้ รยี นย้ายสถานศกึ ษา ใหผ้ เู้ รียนนาเอกสาร รายงานผลการพฒั นาผเู้ รียนรายบคุ คล ๑)ฉบับทก่ี าลงั ใช้อยไู่ ปใหส้ ถานศกึ ษาแหง่ ใหม่ เพ่อื ใชด้ ุลยพนิ จิ วา่ จะใชเ้ อกสารฉบบั เดิมต่อไป หรือ จดั ทาเอกสารใหม่ ถา้ สถานศึกษาแหง่ ใหมจ่ ะจัดทาเอกสารใหม่ เมือ่ คัดลอกข้อมลู จากเอกสารเดิมลงในเอกสารใหม่ แล้วใหค้ นื เอกสารเดิมแกผ่ เู้ รยี นนาไปเก็บรักษาไว้ ๒)ใหผ้ เู้ รยี นเกบ็ สะสมเอกสารนี้ไว้ใหค้ รบถว้ นตลอดเวลาการศกึ ษาตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๖) ใบรับรองผลการเรียน (ปพ.๗) เป็นเอกสารทสี่ ถานศึกษาออกใหก้ บั ผเู้ รยี นเป็นการเฉพาะกจิ เพือ่ รบั รองสถานภาพทาง การศกึ ษาของ ผู้เรียนเปน็ การชว่ั คราว ท้ังกรณผี เู้ รยี นยงั ไม่ส าเรจ็ การศกึ ษา และส าเรจ็ การศึกษาแลว้ ขอ้ ก าหนดของเอกสาร มี ดังน้ี

๑๔ (๑) เป็นเอกสารรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผูเ้ รยี นเป็นการชวั่ คราวทสี่ ถานศกึ ษาออกให้แกผ่ ้เู รยี น เพอ่ื นาไปใช้แทนระเบียนแสดงผลการเรียน แบบแสดงพัฒนาการคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หรือหลักฐานแสดงวุฒิ ทางการศกึ ษาในการสมัครสอบ สมัครงานหรอื ศึกษาตอ่ (๒) เปน็ เอกสารท่ีสถานศึกษาสามารถออกใหก้ บั ผเู้ รียนทุกระดับชั้น (๓) ข้อมลู ที่จะบนั ทึกในเอกสาร มีดงั น้ี ๓.๑ ช่อื สถานศึกษา และสถานทตี่ ง้ั ๓.๒ ชอ่ื –ชื่อสกลุ ผู้เรียน เลขประจาตัวนักเรียน และเลขประจาตัวประชาชน ๓.๓ สถานภาพทางการศึกษาของผเู้ รียน ทสี่ ถานศกึ ษาให้การรับรอง ๓.๔ วนั เดือน ปี ทีอ่ อกเอกสาร ๓.๕ รปู ถา่ ยของผ้เู รยี น ๓.๖ ลายมอื ชอ่ื ผูจ้ ัดทาเอกสาร ๓.๗ ลายมือชื่อผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา (๔) สถานศึกษาเปน็ ผ้อู อกแบบ จัดทาและควบคมุ การออกเอกสารเองใบรบั รองผลการเรยี น มชี ่วง ระยะเวลารบั รอง ๖๐ วนั ๗) ระเบียนสะสม (ปพ.๘) เปน็ เอกสารสาหรบั บันทึกขอ้ มลู เกย่ี วกับพฒั นาการและผลงานดา้ นต่าง ๆของผเู้ รียนทงั้ ทสี่ ถานศึกษาและที่ บา้ น เพ่อื ประโยชนใ์ นการแนะแนวผู้เรียนในทุก ๆ ดา้ น ขอ้ กาหนดของเอกสารมดี งั น้ี (๑) มีรายการสาหรับบันทึกขอ้ มลู เก่ยี วกบั การพฒั นาการของผเู้ รียนในด้านตา่ งๆ เป็นรายบุคคล (๒) สถานศกึ ษาเปน็ ผ้อู อกแบบจดั ทาเอกสารใหเ้ หมาะสมกบั สถานศกึ ษาของตน และใหม้ ีความคงทน สามารถเกบ็ รักษาและใช้ต่อเน่ืองได้ตลอด ๖ ปี สาหรับระดบั ประถมศึกษาและ ๓ ปี สาหรบั ระดบั มัธยมศึกษา ตอนตน้ และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (๓) เปน็ เอกสารที่ผเู้ รียนใช้ต่อเนอ่ื งกนั ไดต้ ลอด ๖ ปี และ ๓ ปี ทง้ั กรณีศึกษาในสถานศึกษาเดยี วกนั หรอื ย้ายสถานศึกษาหรือเปลี่ยนรปู แบบการศกึ ษา (๔) สถานศกึ ษาจะต้องบนั ทกึ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ัน ขอ้ มูลบางอย่างอาจใหผ้ ปู้ กครองเปน็ ผกู้ รอก หรอื ใหค้ วามเหน็ หรอื ไดร้ ับทราบดว้ ยได

๑๕ หมวด ๖ การเทียบโอนผลการเรียน ข้อ ๑๗ ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรยี นของนกั เรียนทเ่ี รยี นรจู้ ากสถานศกึ ษาได้ในกรณีตา่ งๆ ได้แก่ การยา้ ยสถานศกึ ษา การเปลี่ยนรปู แบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคนั และการขอกลบั เขา้ ศกึ ษาตอ่ การศกึ ษาจากต่างประเทศ และขอเข้าศกึ ษาตอ่ ในประเทศ ขอ้ ๑๘ ให้สามารถเทยี บโอนความรู้ ทกั ษะ ประสบการณจ์ ากแหลง่ การเรยี นรอู้ น่ื ๆ เชน่ สถาน ประกอบการสถาบนั ทางศาสนา สถาบนั การฝกึ อบรมอาชีพ การจดั การศกึ ษาโดยครอบครัว ขอ้ ๑๙ การเทยี บโอนผลการเรียนให้ดาเนนิ การในช่วงก่อนเปดิ ภาคเรียน หรอื ตน้ ภาคเรยี นท่ี สถานศึกษา รับผขู้ อเทียบโอนเปน็ ผเู้ รยี น การรบั เทียบโอนกาหนดให้ ผเู้ รยี นท่ีไดร้ ับการเทยี บโอนผลการเรยี น ตอ้ งศึกษาต่อเน่ืองในสถานศึกษาทรี่ บั เทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรยี น สถานศึกษากาหนดรายวิชา จานวน หนว่ ยกิตทีจ่ ะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม ข้อ ๒๐ การพจิ ารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการไดด้ งั นี้ ๒๐.๑ พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษา และเอกสารอน่ื ๆ ทใ่ี ห้ขอ้ มูลแสดงความรู้ ความสามารถของนกั เรียน เชน่ ระเบยี นแสดงผลการเรยี น สมุดรายงานผลการเรยี น ฯ ๒๐.๒ พจิ ารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรง โดยการทดสอบดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆทงั้ ภาค ความรู้และภาคปฏิบัติ ๒๐.๓ พจิ ารณาจากความสามารถ และการปฏิบตั จิ รงิ ๒๐.๔ ในกรณีมเี หตผุ ลจกเป็นระหวา่ งเรียน ข้อ ๒๑ การเทียบโอนผลการเรียนให้ดกเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอน จานวนไม่น้อย กว่า ๓ คน แต่ไมค่ วรเกนิ ๕ คน การเทยี บโอนให้ดาเนนิ การดังนี้ ๒๑.๑ กรณผี ้ขู อเทยี บโอนมผี ลการเรียนมาจากหลกั สตู รอื่น ใหน้ ารายวิชาหรอื หนว่ ยกิตท่ี มมี าตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นร/ู้ จดุ ประสงค/์ ค าอธิบายรายวชิ า/เนอ้ื หาทสี่ อดคล้องกนั ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ ๖๐ มาเทียบโอนผลการเรียน และพจิ ารณาใหร้ ะดบั ผลการเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักสตู รทรี่ บั ยา้ ย ๒๑.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ ใหพ้ จิ ารณาจากเอกสาร หลกั ฐาน (ถา้ ม)ี โดยใหม้ กี ารประเมินดว้ ยเคร่ืองมอื ทหี่ ลากหลาย และใหร้ ะดับผลการเรียนที่สอดคล้องกบั หลักสูตรท่รี บั เทยี บโอน ๒๑.๓ กรณกี ารเทียบโอนที่นกั เรยี นเขา้ โครงการแลกเปลย่ี นต่างประเทศ ให้ดาเนนิ การ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง หลักการและแนวปฏบิ ัติการเทียบชัน้ สาหรบั นกั เรยี นท่ีเข้าโครงการ แลกเปลยี่ น ท้ังนี้ วิธีการเทยี บโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามหลกั การและแนวทางการเทียบโอนผลการเรยี น ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธกิ ารเรอ่ื ง การเทยี บโอนผลการเรยี นการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานและการศกึ ษา ระดบั อุดมศกึ ษา ระดบั

๑๖ ตา่ กว่าปรญิ ญา ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และ แนวปฏบิ ตั ทิ ี่เก่ยี วกบั การเทียบโอนผลการเรียนเข้า สู่การศกึ ษาในระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ซ่ึงจดั ทาโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (สิงหาคม ๒๕๔๙) บทเฉพาะกาล ขอ้ ๒๒ ให้ใช้ระเบียบโรงเรยี นบ้านทบั ไฮว่าด้วยการประเมิน ผลการเรยี นตามหลกั สูตร สถานศึกษาโรงเรียนบา้ นทบั ไฮ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กับผเู้ รยี นในหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านทบั ไฮ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ ของโรงเรียนบ้านทบั ไฮ ในทกุ ระดบั ช้ันปที เ่ี รยี นในปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ ข้อ ๒๓ ให้ใช้ระเบยี บโรงเรยี นบา้ นทบั ไฮ วา่ ดว้ ย การประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สตู ร สถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นทบั ไฮ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ควบคกู่ ับแนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ส านกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ส านกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน ขอ้ ๒๔ การเปล่ยี นแปลงแก้ไข เพ่ิมเตมิ ระเบยี บน้ี ตอ้ งได้รบั การพิจารณาจากคณะกรรมการบรหิ าร หลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา แลว้ เสนอขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ของโรงเรยี น เพอื่ ประกาศใช้ต่อไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (ลงชอื่ ) (นางแสงเดือน ปากเมย) ผ้อู านวยการโรงเรยี นบ้านทับไฮ

๑๗ ตอนที่ ๒ คาอธบิ ายระเบียบโรงเรยี นบ้านทับไฮ วา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๓) ขอ้ ๒๕ การเปลย่ี นผลการเรยี น ๒๕.๑ การเปลี่ยนผลการเรยี น “๐” ให้สถานศกึ ษาจัดใหม้ ีการสอนซอ่ มเสริมในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั ที่ผเู้ รยี นสอบไม่ผา่ นก่อนแลว้ จงึ สอบแก้ตัวได้ไมเ่ กนิ ๒ ครงั้ ถา้ ผเู้ รยี นไม่ดาเนนิ การสอบแก้ตวั ตามระยะเวลาท่ีสถานศึกษากาหนด ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาทจี่ ะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอกี ๑ ภาคเรียน สาหรับภาคเรยี นที่ ๒ ต้องดาเนินการใหเ้ สร็จสนิ้ ภายใน ปีการศกึ ษานน้ั ถ้าสอบแกต้ ัว ๒ คร้งั แลว้ ยงั ได้ระดบั ผลการเรียน “๐” อีก ใหส้ ถานศึกษาแต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ การเก่ยี วกบั การเปลยี่ นผลการเรยี นของผู้เรยี น โดยปฏบิ ตั ิดงั น้ี ๑) ถา้ เป็นรายวิชาพนื้ ฐาน ใหเ้ รียนซา้ รายวิชานนั้ ๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพ่มิ เตมิ ใหเ้ รียนซา้ หรือเปล่ียนรายวชิ าเรยี นใหม่ ทง้ั น้ีให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษา ในกรณีท่ีเปลี่ยนรายวิชาเรยี นใหม่ ใหห้ มายเหตใุ นระเบยี นแสดงผลการเรยี นว่าเรียนแทนรายวิชาใด ๒๕.๒ การเปลย่ี นผลการเรยี น “ร” การเปลยี่ นผลการเรียน “ร”ใหด้ าเนินการดังน้ี ใหผ้ ู้เรียนดาเนินการแกไ้ ข “ร”ตามสาเหตุ เม่ือผเู้ รียนแกไ้ ข ปญั หาเสรจ็ แล้ว ใหไ้ ด้ระดบั ผลการเรยี นตามปกติ (ตงั้ แต่ ๐ - ๔) ถ้าผเู้ รยี นไมด่ าเนินการแก้ไข “ร”กรณที ส่ี ่งงานไม่ ครบ แต่มผี ลการประเมนิ ระหวา่ งภาคเรยี นและปลายภาค ให้ผสู้ อนนาขอ้ มลู ทม่ี ีอยูต่ ดั สินผลการเรียน ยกเวน้ มีเหตุ สดุ วิสัย ใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินิจของสถานศึกษาทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “ร”ออกไปอกี ไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรยี น สาหรบั ภาค เรียนท่ี ๒ ต้องดาเนินการให้เสรจ็ ส้นิ ภายในปกี ารศกึ ษาน้นั เม่ือพ้นกาหนดน้แี ล้วให้เรยี นซ้าหา ๒๕.๓ การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” การเปลีย่ นผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดงั นี้ ๑) กรณผี เู้ รียนไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมเี วลาเรยี นไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ แต่มเี วลา เรียนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรยี นในรายวชิ าน้ัน ใหส้ ถานศกึ ษาจัดให้เรียนเพมิ่ เติมโดยใชช้ ่ัวโมงสอน ซ่อมเสรมิ หรือใช้เวลาว่าง หรือใชว้ นั หยุด หรอื มอบหมายงานให้ทา จนมเี วลาเรียนครบตามทกี่ าหนดไว้ สาหรับรายวิชานั้นแล้วจงึ ใหว้ ดั ผลปลายภาคเปน็ กรณีพเิ ศษ ผลการแก้ “มส” ใหไ้ ดร้ ะดับผลการเรียนไมเ่ กนิ “๑”การแก้ “มส” กรณนี ใี้ หก้ ระทาใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในปกี ารศกึ ษานัน้ ถา้ ผเู้ รียนไมม่ าดาเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้นใ้ี ห้เรยี นซา้ ยกเว้น มีเหตสุ ุดวสิ ยั ให้อยูใ่ นดลุ ยพินิจของสถานศึกษาทจี่ ะขยาย เวลาแก้ “มส” ออกไปอกี ไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรยี น แต่เมอื่ พ้นกาหนดนี้แล้ว ใหป้ ฏิบตั ดิ งั นี้ (๑) ถ้าเปน็ รายวิชาพ้ืนฐานให้เรยี นซ้ารายวิชานัน้ (๒) ถ้าเปน็ รายวิชาเพิ่มเตมิ ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจหรอื เปลยี่ นรายวชิ าเรียนใหม่

๑๘ ๒) กรณีผเู้ รยี นไดผ้ ลการเรียน “มส” และมเี วลาเรียนนอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้ สถานศึกษาดาเนนิ การดงั น้ี (๑) ถ้าเปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน ให้เรียนซ้ารายวชิ าน้นั (๒) ถา้ เป็นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาให้เรยี นซ้าหรือเปลย่ี นรายวชิ าเรียนใหม่ ใน กรณที ีเ่ ปลย่ี นรายวิชาเรยี นใหม่ ใหห้ มายเหตใุ นระเบียบแสดงผลการเรียนวา่ เรยี นแทนรายวชิ าใด การเรยี นซ้ า รายวชิ าหากผเู้ รยี นไดร้ บั การสอนซอ่ มเสริมและสอบแกต้ วั ๒ ครั้ง แลว้ ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ใหเ้ รียนซ้ า รายวชิ าน้ัน ทัง้ น้ี ใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของสถานศึกษาในการจดั ให้เรยี นซา้ ในชว่ งใดชว่ งหน่งึ ทสี่ ถานศกึ ษาเห็นวา่ เหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ชัว่ โมงวา่ งหลังเลกิ เรยี นภาคฤดรู อ้ น เปน็ ตน้ ในกรณีภาคเรยี นที่ ๒ หากผเู้ รียนยงั มผี ลการเรยี น “๐” “มส” ให้ดาเนินการใหเ้ สรจ็ ส้ินกอ่ นเปดิ เรยี น ปี การศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเพ่ือแก้ไขผลการเรียนของผู้เรยี นได้ ท้งั นี้หาก สถานศกึ ษาใดไมส่ ามารถดาเนินการเปิดสอนภาคฤดรู ้อนได้ ใหส้ านกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา/ตน้ สงั กัดเป็นผ้พู จิ ารณา ประสานงานใหม้ กี ารดาเนินการเรยี นการสอนในภาคฤดรู ้อนเพื่อแกไ้ ข ผลการเรยี นของผเู้ รยี น ๒๕.๔ การเปล่ียนผลการเรยี น “มผ” กรณีทผี่ ู้เรยี นไดผ้ ลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซอ่ มเสริมให้ผเู้ รยี นทากจิ กรรมในสว่ นทผ่ี เู้ รยี นไมไ่ ด้ เข้าร่วมหรอื ไมไ่ ดท้ าจนครบถว้ นแลว้ จงึ เปลย่ี น ผลการเรยี นจาก “มผ” เปน็ “ผ” ได้ ท้ังนี้ ดาเนนิ การใหเ้ สร็จส้ิน ภายในภาคเรยี นนัน้ ๆ ยกเวน้ มีเหตุสดุ วสิ ยั ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาทจ่ี ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่ เกนิ ๑ ภาคเรยี น สาหรบั ภาคเรียนที่ ๒ ตอ้ งดาเนนิ การใหเ้ สร็จสน้ิ ภายในปีการศกึ ษานน้ั ๒๕.๕ การเลอ่ื นช้นั เมอ่ื ส้นิ ปีการศกึ ษา ผ้เู รียนจะไดร้ ับการเล่ือนชัน้ เมอื่ มคี ณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี ๒๕.๕.๑รายวิชาพ้นื ฐานและรายวชิ าเพมิ่ เติมได้รบั การตดั สินผลการเรียน ผ่าน ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษา กาหนด ๒๕.๕.๒ ผูเ้ รยี นตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ และมผี ลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากาหนดใน การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๒๕.๕.๓ ระดับผลการเรียนเฉล่ยี ในปีการศกึ ษานนั้ ควรได้ไมต่ ่ากว่า ๑.๐๐ ท้ังน้ี รายวิชาใดที่ ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ สถานศึกษาสามารถซ่อมเสรมิ ผู้เรยี นใหไ้ ด้รบั การแก้ไขในภาคเรยี นถัดไป หรอื ถา้ ผู้เรยี นมี ข้อบกพรอ่ งเพยี งเลก็ นอ้ ย และสถานศกึ ษาพิจารณาเหน็ ว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสรมิ ได้ ให้อยูใ่ นดุลยพนิ จิ ของสถานศกึ ษาทีจ่ ะผอ่ นผันใหเ้ ลอื่ นชน้ั ได้ ๒๕.๖ การสอนซ่อมเสริม หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดให้สถานศึกษาจัดสอนซ่อมเสริมเพ่ือ พัฒนาการเรียนรู้ของผูเ้ รียนเตม็ ตามศักยภาพการสอนซ่อมเสริม เปน็ การสอนเพอื่ แกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง กรณี ท่ผี ู้เรยี นมี ความรู้ ทักษะกระบวนการหรอื เจตคต/ิ คุณลักษณะ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนดสถานศกึ ษาตอ้ งจดั สอนซอ่ มเสรมิ เปน็ กรณพี เิ ศษนอกเหนอื ไปจากการสอนตามปกติ เพื่อพฒั นาใหผ้ ู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐาน การเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั ที่กาหนดไว้ เป็นการใหโ้ อกาสแกผ่ เู้ รียนได้เรยี นรู้และพฒั นา โดยจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ หลากหลายและตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลการสอนซอ่ มเสรมิ สามารถดาเนินการไดใ้ นกรณี ดงั ต่อไปนี้

๑๙ ๑) ผู้เรยี นมีความร/ู้ ทกั ษะพืน้ ฐานไมเ่ พยี งพอทจี่ ะศกึ ษาในแตล่ ะรายวิชานนั้ ควรจดั การสอนซ่อมเสรมิ ปรบั ความรู้/ทกั ษะพ้ืนฐาน ๒) ผเู้ รียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทกั ษะกระบวนการหรอื เจตคติ/คุณลกั ษณะทีก่ าหนดไว้ตามมาตรฐาน การเรยี นร้/ู ตัวชี้วัดในการประเมินผลระหว่างเรียน ๓) ผเู้ รยี นท่ีได้ระดบั ผลการเรยี น “๐” ใหจ้ ดั การสอนซ่อมเสริมกอ่ นสอบแก้ตวั ๔) กรณีผเู้ รยี นมีผลการเรยี นไมผ่ ่าน สามารถจดั สอนซ่อมเสริมในภาคฤดรู อ้ นเพอ่ื แก้ไขผลการเรียน ทงั้ นี้ ให้ อยู่ในดลุ ยพินิจของสถานศึกษา ๒๕.๗ การเรียนซา้ ชนั้ ผูเ้ รียนทไ่ี มผ่ ่านรายวิชาจานวนมากและมแี นวโน้มว่าจะเปน็ ปญั หาต่อการเรียนในระดบั ชนั้ ทสี่ งู ขน้ึ สถานศึกษาอาจตง้ั คณะกรรมการพิจารณาให้เรยี นซา้ ชัน้ ได้ ทงั้ นีใ้ หค้ านงึ ถงึ วุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ การเรยี นซา้ ช้นั มี ๓ ลักษณะ คอื ๑) ผเู้ รียนมรี ะดับผลการเรยี นเฉลยี่ ในปกี ารศกึ ษานน้ั ตา่ กว่า ๑.๐๐ และมีแนวโนม้ วา่ จะเป็นปญั หาตอ่ การเรยี นใน ระดับชน้ั ทส่ี ูงข้ึน ๒) ผ้เู รียนมผี ลการเรียน ๐, ร, มส เกนิ ๘ รายวิชาของรายวชิ าทลี่ งทะเบียนเรยี นในปีการศึกษานั้น ๓) ผเู้ รียนมผี ลการเรยี น ๐, ร, มส สะสมเกนิ ๑๒ รายวชิ า ให้เรียนซา้ ชนั้ ในชัน้ ท่พี บว่ามผี ลการเรียนสะสมเกิน ๑๒ รายวิชาทง้ั น้ี หากเกิดลกั ษณะใดลักษณะหนงึ่ หรอื ทง้ั สามลกั ษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณา หากเหน็ วา่ ไมม่ ีเหตผุ ลอนั สมควรก็ใหเ้ รยี นซ้าช้นั โดยยกเลกิ ผลการเรยี นเดมิ และให้ใชผ้ ลการเรียนใหม่แทน หาก พจิ ารณาแล้วไมต่ ้องเรยี นซา้ ชนั้ ใหอ้ ยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศึกษา ในการแก้ไขผลการเรยี นแทน ๒๖ การวดั และประเมนิ ผลตามระบบคณุ ธรรมความรู้ กาหนดสดั ส่วนคะแนน ดงั นี้ การกาหนดสดั สว่ นคะแนนเพอ่ื วัดความรู้และคณุ ธรรม ๗๕:๒๕ ภาค ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ภาคคุณธรรมความประพฤติ ๗๕ คะแนน ๒๕ คะแนน กลมุ่ สาระ คะแนนระหว่างเรยี น คะแนนสอบ การ ความสามรถ การเข้าร่วม (-คะแนนเกบ็ –จิตพิสยั –สอบก่อกลาง ปลายภาค มาเรยี น พิเศษ , ประชมุ ภาค –กลางภาค –ก่อนปลายภาค) วินยั รวม บัตรความดี ไทยฯ ๕๕ ๒๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐ คณติ ฯ ๕๕ ๒๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐ วทิ ย์ ๕๕ ๒๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐ สงั คมฯ ๕๕ ๒๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐ สุขฯ ๗๕ ๒๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐ ศิลปะฯ ๗๕ ๒๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐ การงานฯ ๗๕ ๒๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐ องั กฤษฯ ๕๕ ๒๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐ เพิ่มเติม ๗๕ ๑๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๑๐๐

๒๐ ขอบเขตการประเมินและตวั ชีว้ ัด ที่แสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ ขอบเขตการประเมิน การอา่ นจากส่ือส่งิ พิมพ์ และ/หรือสอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ ท่ีใหค้ วามเพลดิ เพลิน ความรู้ ประสบการณ์ และมี ประเด็นให้คดิ และเขียนบรรยาย ถา่ ยทอดประเด็นท่คี ดิ ดว้ ยภาษาที่ถกู ตอ้ งเหมาะสม เชน่ อ่านสาระความรทู้ ่ี นาเสนออยา่ งสนใจ นยิ าย เร่ืองสัน้ นทิ าน นยิ ายปรัมปรา ตัวช้ีวัดความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ๑. สามารถอ่านและหาประสบการณจ์ ากสอ่ื ทห่ี ลากหลาย ๒. สามารถจบั ประเด็นสาคัญ ข้อเท็จจรงิ ความคดิ เห็นเรอ่ื งที่อา่ น ๓. สามารถเปรยี บเทยี บแงม่ ุมตา่ ง ๆ เชน่ ข้อดี ขอ้ เสยี ประโยชน์ โทษ ความเหมาะสมไมเ่ หมาะสม ๔. สามารถแสดงความคดิ เห็นตอ่ เร่อื งทอ่ี ่าน โดยมีเหตผุ ลประกอบ ๕. สามารถถ่ายทอดความคิดเหน็ ความรสู้ ึกจากเรื่องท่ีอา่ นโดยการเขยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ขอบเขตการประเมิน การอา่ นจากสอื่ สิ่งพิมพ์ และ/หรอื สอ่ื ประเภทต่าง ๆ ที่ใหข้ อ้ มลู สารสนเทศ ความรปู้ ระสบการณท์ เ่ี อื้อให้ ผอู้ า่ นนาไปคดิ วิเคราะห์ แสดงความคดิ เหน็ ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หา และถา่ ยทอดโดยการเขยี นเปน็ ความเรยี งเชิง สร้างสรรคด์ ้วยถ้อยคาภาษาทีถ่ ูกต้องชัดเจน เชน่ อา่ นหนงั สอื พิมพ์ วารสาร หนังสอื เรยี นบทความ สนุ ทรพจน์ คาแนะนา คาเตือน ตัวชีว้ ดั ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ๑. สามารถอ่านเพื่อหาขอ้ มลู สารสนเทศเสรมิ ประสบการณจ์ ากสอื่ ประเภทต่าง ๆ ๒. สามารถจับประเด็นสาคัญ เปรยี บเทยี บ เช่ือมโยงความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลจากเรอ่ื งทอ่ี า่ น ๓. สามารถเชอื่ มโยงความสัมพนั ธ์ของเรอ่ื งราว เหตุการณข์ องเรื่องท่ีอ่าน ๔. สามารถแสดงความคิดเห็นตอ่ เรอ่ื งทอ่ี า่ นโดยมเี หตผุ ลสนบั สนุน ๕. สามารถถ่ายทอดความเข้าใจ ความคดิ เหน็ คณุ คา่ จากเรอ่ื งทอี่ า่ นโดยการเขียน รูปแบบประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เป็นเง่ือนไขสาคัญประการหนงึ่ ที่นกั เรียนทกุ คนจะต้องไดร้ ับ การประเมนิ ใหผ้ ่านตามเกณฑ์ท่กี าหนด จงึ จะได้รบั การตดั สนิ ใหผ้ า่ นการเลอ่ื นชน้ั และผ่านการศกึ ษาแตล่ ะระดบั การศึกษา ถอื เปน็ มาตรการสาคัญอยา่ งหนง่ึ ในการพฒั นาและยกระดบั คุณภาพการศึกษา ซึ่งจะช่วยนกั เรียนทุกคน

๒๑ ใหไ้ ดร้ บั การฝกึ ฝนใหม้ คี วามสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนบ้านทับไฮ เลือกรูปแบบการ ประเมนิ ไปใชใ้ หเ้ หมาะสมกับสภาพและบรบิ ทของ โดยเลือกรูปแบบ การบูรณาการตวั ช้ีวัดของการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น รว่ มกบั การประเมินผลกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สารวจตรวจสอบว่าตวั ช้วี ัดของการประเมนิ ความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นมีอย่ใู นหนว่ ย การเรยี นรขู้ องแต่ละรายวชิ าใดบ้าง หากยังไมม่ ีหรอื มเี ล็กนอ้ ย ใหน้ าเขา้ ไปบรู ณาการในหนว่ ยการเรียนรหู้ รอื แผนการเรียนรขู้ องรายวชิ านั้นเม่อื นาหนว่ ยการเรยี นรู้ไปจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมินการเรียนรขู้ อง นกั เรียนท่ีเป็นผลงานในรายวิชาน้ัน นบั เป็นผลการประเมนิ ความสามารถการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี นด้วย หากมี การวางแผนกาหนดหนว่ ยการเรยี นรขู้ องแตล่ ะรายวชิ าในแต่ละป(ี ระดบั ประถมศึกษา) แต่ละภาคเรยี น (ระดับ มธั ยมศึกษา) ให้มกี ารกระจายตวั ชว้ี ดั ลงทกุ รายวิชา ในสัดสว่ นท่ีเพยี งพอและมีผลงานปรากฏชดั เจน เป็นตัวแทน ความสามารถในการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี นไดต้ ามเกณฑก์ ารประเมินที่กาหนดแลว้ นาผลการ ประเมนิ ทงั้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ไปสรปุ ในภาพรวมเป็นผลการประเมินความสามารถการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และ เขยี นรายปี/รายภาค โดยอาศัยค่าสถติ ิที่เหมาะสม เชน่ ฐานนิยม (Mode) หรือ ค่าเฉลีย่ (Mean) เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น การประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี นของนกั เรยี นเพอ่ื เล่อื นชน้ั และจบการศึกษา แต่ละระดบั การศกึ ษา ตามเกณฑ์ทห่ี ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และกาหนด การ ตดั สนิ ผลการประเมนิ เพ่ือเลอ่ื นช้นั ใชผ้ ลการประเมนิ ปลายปี ส่วนการตัดสนิ การจบระดบั การศึกษา ใช้ผลการ ประเมินปลายปีสุดท้ายของระดบั การศกึ ษา การประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นกาหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพการอา่ น คิด วเิ คราะห์และเขียนเป็น ๔ ระดบั คือ ดีเยีย่ ม ดี ผา่ น และไมผ่ ่าน ดีเยีย่ ม หมายถึง มผี ลงานทีแ่ สดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ทม่ี ีคณุ ภาพดีเลิศอยเู่ สมอ ดี หมายถงึ มผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นทม่ี ี คณุ ภาพเปน็ ท่ยี อมรับ ผา่ น หมายถงึ มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน มขี ้อบกพรอ่ งบางประการ ไม่ผ่าน หมายถงึ ไมม่ ผี ลงานที่แสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน หรอื ถา้ มผี ลงานผลงานน้ันยังมขี อ้ บกพร่องทต่ี อ้ งไดร้ บั การปรับปรงุ แกไ้ ขหลายประการ นาผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี นสง่ นายทะเบียนวัดผลเพอื่ ประกาศให้นกั เรยี นและ รายงานผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ งไดท้ ราบ วิธีการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน วิธกี ารประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ควรจัดในระหว่างการเรียนการ สอนในห้องเรยี นตามปกตเิ ปน็ ดีทส่ี ดุ ไม่ควรแยกมาจดั สอบเหมอื นการสอบปลายภาคหรือปลายปี ของการ จบการศกึ ษาภาคบงั คับ และการจบการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ยกเวน้ ถา้ สถานศึกษาไดพ้ ัฒนาแบบทดสอบหลายๆ

๒๒ ชดุ นามาใชป้ ระเมินเพื่อตรวจสอบพฒั นาการของผเู้ รยี นในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระหว่างการ เรียนการสอนแล้วน ามาสรุปผลเปน็ ระยะๆ สาหรบั รายงานผลความกา้ วหน้า เม่ือเทียบกบั เกณฑก์ ารประเมนิ ที่ สถานศกึ ษากาหนดไว้ ท้งั นกี้ ่อนทจ่ี ะทาการประเมินผล ส่งิ ใดผู้ทีป่ ระเมนิ ควรทาความเขา้ ใจสง่ิ ท่จี ะ ประเมนิ ใหช้ ัดเจนครอบคลมุ ประเดน็ การประเมนิ ตามขอบเขตทีก่ าหนด แนวทางการแกไ้ ขนกั เรยี นกรณไี ม่ผ่านเกณฑ์ ในกรณที นี่ กั เรียนมผี ลการประเมินอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น อย่ใู นระดับไมผ่ า่ น ครแู ละคณะกรรมการ ประเมินควรเร่งดาเนนิ การจัดกจิ กรรมเพอื่ สง่ เสริมและพฒั นาใหน้ กั เรยี นมีความกา้ วหน้าในตัวช้วี ัดท่ีมจี ดุ บกพรอ่ ง สมควรได้รบั การแกไ้ ขในระยะเวลาพอสมควรทนี่ กั เรียนจะเกิดการเรยี นรู้ และสรา้ งผลงานทส่ี ะทอ้ นความสามารถใน ตวั ชว้ี ัดทต่ี ้องปรับปรงุ แกไ้ ขได้อย่างแท้จรงิ ด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย เชน่ มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นได้อา่ น ไดค้ ดิ วเิ คราะหจ์ ากเรอ่ื งท่ีอ่าน และสามารถสอ่ื สารสาระสาคญั จากเรอ่ื งทอ่ี า่ นโดยการเขยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ แลว้ น า ผลงานไปเทยี บกบั แนวการใหค้ ะแนนและเกณฑก์ ารตัดสนิ ทก่ี าหนดต้ังแตร่ ะดับดีเยีย่ ม ดี ผ่าน วิธีการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตัวช้ีวดั พฤตกิ รรมบ่งชี้ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๑. ยนื ตรงเคารพธงชาติ รอ้ งเพลงชาติและ อธบิ ายความหมาย ๑. เปน็ พลเมืองดขี องชาติ ของเพลงชาตไิ ดถ้ ูกตอ้ ง ๒. ปฏบิ ตั ิตนตามสิทธแิ ละหนา้ ท่พี ลเมืองดีของชาติ ๓. มคี วามสามัคคี ปรองดอง ๒. ดารงไวซ้ ่งึ ความเปน็ ชาติ ๑. เขา้ รว่ ม สง่ เสรมิ กิจกรรมท่ีความสามัคคี ปรองดอง ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คม ๒. หวงแหน ปกป้อง ยกยอ่ งความเปน็ ชาติไทย ๓. ศรทั ธา ยดึ ม่ันและ ๑. เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถือ ปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนา ๒. ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนาทต่ี นนับถือ ๓. เป็นแบบอย่างทดี่ ขี องศาสนิกชน ๔. เคารพเทิดทูนสถาบนั ๑. เขา้ ร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ที่เกย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ พระมหากษตั รยิ ์ ๒. แสดงความสานึกในพระมหากรุณาธคิ ุณของพระมหากษตั รยิ ์ ๓. แสดงออกซึ่งความจงรกั ภักดตี ่อสถาบันกษตั ริย์ ขอ้ ท่ี ๒ ซ่ือสัตย์สุจริต ๑. ใหข้ อ้ มูลท่ถี กู ตอ้ งและเปน็ จรงิ ๑. ประพฤตติ รงตามความเปน็ ๒. ปฏิบตั ิโดยคานึงถงึ ความถูกตอ้ ง ละอายและเกรงกลวั จรงิ ต่อผู้อืน่ ทง้ั ทางกาย วาจา ใจ ตอ่ การกระทาผดิ ๓. ปฏิบตั ติ ามคามน่ั สญั ญา

๒๓ ๒. ประพฤตติ รงตาม ความเป็นจริงต่อ ๑. เขา้ ร่วม ส่งเสริม สนับสนนุ กจิ กรรมท่เี นน้ ความสามคั คี ผ้อู ่นื ทัง้ ทางกาย วาจา ใจ ปรองดอง ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชุมชนและสงั คม ๒. หวงแหน ปกปอ้ ง ยกยอ่ งความเป็นชาตไิ ทย ๑. ปฏบิ ตั ิตนตามข้อตกลงกฎเกณฑร์ ะเบยี บขอ้ บังคับ ข้อท่ี ๓ มวี นิ ยั ของครอบครัว โรงเรยี น และสงั คม ๑. ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงกฎเกณฑ์ ระเบียบ ๒. ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ติ ประจาวัน และรับผิดชอบในการทางาน ข้อที่ ๔ ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตงั้ ใจเรยี น ๑. ตง้ั ใจเพยี รพยายามในการเรยี นและ ๒. เอาใจใสแ่ ละมคี วามเพยี รพยายามในการเรยี นรู้ เขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ ๓. สนใจเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรตู้ ่างๆ ๒. แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรตู้ ่างๆ ๑. ศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้จากหนงั สือ เอกสาร สงิ่ พิมพ์ สอื่ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการ เทคโนโลยตี า่ งๆ แหล่งเรยี นรู้ ท้ังภายในและภายนอก เลอื กใช้สือ่ อยา่ งเหมาะสมสรปุ เปน็ องค์ โรงเรียนและเลือกใชส้ ่ือได้อยา่ งเหมาะสม ความรู้และสามารถนาไปใชใ้ น ๒. บันทกึ ความรู้ วิเคราะหต์ รวจสอบจาก สง่ิ ทเ่ี รยี นรู้ ชีวติ ประจาวนั สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ ๓. แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ด้วยวธิ ีการตา่ งๆ และนาไปใชใ้ นชีวติ ขอ้ ที่ ๕ อยอู่ ยา่ งพอเพียง ประจาวนั ๑. ดาเนินชีวติ อยา่ ง ๑. ใชท้ รัพย์สินของตนเอง เชน่ เงิน สิง่ ของเครอ่ื งใช้ ฯลฯ พอประมาณ มีเหตุผล อยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษาดแู ลอย่างดี รวมทั้ง รอบคอบ มีคุณธรรม การใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม ๒. ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอยา่ ประหยดั คมุ้ ค่าและเกบ็ รักษา ๒. มีภูมิคุ้มกันในตวั ทด่ี ี ดูแลอยา่ งดี ปรับตวั เพือ่ อย่ใู นสังคม ๓. ปฏบิ ตั ิตนและตดั สินใจด้วยความรอบคอบ มเี หตุผล ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ๔. ไม่เอาเปรยี บผู้อ่นื และไม่ทาให้ผ้อู ่นื เดอื ดรอ้ น พรอ้ มให้อภัย เมอ่ื ผู้อนื่ กระทาผดิ พลาด ข้อท่ี ๖ ม่งุ มนั่ ในการทางาน ๑. วางแผนการเรยี น การท างานและการใชช้ วี ติ ประจาวนั ๑. ตงั้ ใจและรบั ผดิ ชอบ บนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูลขา่ วสาร ในหน้าทกี ารงาน ๒. รเู้ ท่าทนั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม ๒. ท างานด้วยความเพยี ร ยอมรับและปรบั ตวั เพอื่ อยู่รว่ มกันกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมสี ขุ พยายามและอดทน เพ่ือให้ ๑. เอาใจใส่ตอ่ การปฏิบตั ิหนา้ ทที่ ี่ได้รบั มอบหมาย งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย ๒. ตงั้ ใจและรบั ผดิ ชอบในการท างานใหส้ าเร็จ ๓. ปรับปรุงและพฒั นาการท างานด้วยตนเอง ๑. ทมุ่ เททางาน อดทน ไมย่ ่อท้อต่อปญั หาและอุปสรรค ในการทางาน

๒๔ ข้อท่ี ๗ รกั ความเปน็ ไทย ๒. พยายามแกป้ ัญหาและอุปสรรคในการท างานใหส้ าเร็จ ๑. ภาคภมู ใิ นขนบธรรมเนยี ม ๓. ช่นื ชมผลงานดว้ ยความภาคภูมใิ จ ประเพณี ๑. แตง่ กายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญู ศลิ ปวฒั นธรรมไทย และมี กตเวทตี ่อผมู้ พี ระคณุ ความกตญั ญกู ตเวที ๒. รว่ มกิจกรรมทเ่ี กยี่ วข้องกบั ประเพณศี ลิ ปะและวฒั นธรรมไทย ๒. เหน็ คุณค่าและใช้ภาษาไทย ๓. ชักชวนแนะนาใหผ้ ู้อ่ืนปฏิบตั ติ าม ขนบธรรมประเพณี ศิลปะ ในการส่อื สารได้อยา่ ง และวฒั นธรรมไทย ถกู ตอ้ งเหมาะสม ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสือ่ สารไดอ้ ย่างถูกต้อง เหมาะสม ๓. อนรุ กั ษ์สบื ทอด ๒. ชกั ชวนแนะนาให้ผูอ้ ืน่ เหน็ คุณค่าของการใช้ภาษาไทยทีถ่ กู ตอ้ ง ภมู ปิ ัญญาไทย ๑. น าภูมปิ ญั ญาไทยมาใช้ใหเ้ หมาะสมในวิถชี ีวติ ๒. ร่วมกจิ กรรมทเี่ กี่ยวขอ้ งกับภมู ปิ ญั ญาไทย ขอ้ ท่ี ๘ มีจิตสาธารณะ ๓. แนะนามสี ่วนรว่ มในการสืบทอดภูมิปญั ญาไทย ๑. ชว่ ยเหลือผู้อ่นื ดว้ ย ๑. ชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ท างานด้วยความเต็มใจ ความเตม็ ใจ โดยไมห่ วัง ๒. อาสาทางานให้ผอู้ ืน่ ด้วยกาลงั กาย กาลงั ใจและกาลังสติปญั ญา ผลตอบแทน โดยไม่หวงั ผลตอบแทน ๓. แบง่ ปันส่งิ ของทรัพย์สนิ และอนื่ ๆ และช่วยแก้ปญั หา ๒. เข้ารว่ มกิจกรรม ทเี่ ปน็ หรอื สร้างความสุขใหก้ บั ผ้อู ื่น ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ๑. ดแู ลรักษาสาธารณสมบตั แิ ละส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยความเต็มใจ ชมุ ชนและสงั คม ๒. เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชมุ ชน สังคม ๓. เข้าร่วมกจิ กรรมเพอ่ื แกป้ ญั หาหรือรว่ มสรา้ งสงิ่ ท่ีดงี าม ของส่วนรวมตามสถานการณท์ เ่ี กิดข้ึนด้วยความกระตอื รอื รน้

๒๕ ตอนท่ี ๓ เอกสารหลกั ฐานทส่ี ถานศกึ ษาต้องจัดทา ระเบียบคาสง่ั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง คาสง่ั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี สพฐ. ๖๑๖ / ๒๕๕๒ เร่อื ง การจัดทาระเบียนแสดงผลการเรยี นหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน (ปพ.๑) .............................................. เพือ่ อนมุ ัติใหเ้ ปน็ ไปตามคาส่งั กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สพฐ. ๒๙๓/๒๕๕๑ ส่งั ณ วนั ท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรอื่ งใหใ้ ชห้ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เกยี่ วกบั การจดั ทาเอกสารหลักฐาน การศกึ ษาทส่ี ถานศกึ ษาทุกแหง่ ต้องใชเ้ หมือนกนั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการสือ่ ความเขา้ ใจท่ตี รงกันและส่งต่อ และเพ่ือ ประโยชน์ในการควบคมุ การจัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษาใหเ้ ป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย กระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ กาหนดแบบพมิ พ์ การพมิ พ์ การซื้อ การควบคมุ และการเก็บรักษาแบบพิมพ์ระเบยี นแสดงผลการเรียนหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (ปพ.๑) ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. ระเบยี นแสดงผลการเรยี นหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (ปพ.๑) เป็นเอกสารหลกั ฐาน แสดงผลการเรียนของผเู้ รยี นทเ่ี รียนหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานแตล่ ะระดบั สถานศึกษาต้องออกระเบยี น แสดงผลการเรียนหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ให้ผเู้ รยี นทุกคนทีจ่ บการศึกษาแต่ละระดบั หรอื เมอื่ ออกจาก สถานศึกษา โดยใชแ้ บบพิมพ์เอกสารท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนดเทา่ นนั้ ๒. ลกั ษณะแบบพมิ พ์ระเบยี นแสดงผลการเรยี นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน (ปพ.๑) ๒.๑ แบบพมิ พ์ระเบยี นแสดงผลการเรยี นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน (ปพ.๑) จาแนกเป็น ๓ แบบ คือ ๒.๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรยี นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษา (ปพ.๑ : ป) ๒.๑.๒ ระเบียนแสดงผลการเรยี นหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (ปพ.๑ : บ ) ๒.๑.๓ ระเบียนแสดงผลการเรยี นหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ปพ.๑ : พ ) ในการออกเอกสารระเบียนแสดงผลการเรยี นหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (ปพ.๑) ใหผ้ ู้เรยี นสถานศึกษาตอ้ งใช้ แบบพิมพใ์ หถ้ ูกตอ้ ง ตรงกับระดบั การศึกษาของผเู้ รยี น ๒.๒ แบบพมิ พร์ ะเบยี นแสดงผลการเรยี นหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (ปพ.๑) ทุกระดบั จดั ทาไว้ ๒ ประเภท ได้แก่ ๒.๒.๑ แบบพิมพ์ปกติ มลี ักษณะเปน็ แบบพิมพ์สมบรู ณ์ ครบถว้ น สาหรับใชก้ รอกข้อมลู ดว้ ยการเขยี นหรือพิมพด์ ดี ๒.๒.๒ แบบพิมพส์ าหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเปน็ กระดาษวา่ ง พมิ พเ์ ฉพาะชอ่ื เอกสารแตล่ ะระดบั และความ หมายเลขควบคุมเอกสารเทา่ น้ัน สถานศึกษาเลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกับวิธกี ารจัดทาเอกสารของตน

๒๖ ๒.๓ เพอื่ ประโยชนใ์ นการควบคมุ และตรวจสอบเอกสาร จงึ กาหนดใหม้ ีเลขชดุ ที่ และเลขที่ ประจาระเบยี นแสดงผลการ เรียนหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (ปพ.๑) แตล่ ะระดบั ดงั นี้ ๒.๓.๑ เลขชดุ ทใ่ี นแตล่ ะระดับใหใ้ ช้เลข ๕ หลัก โดยเริ่มใช้ตง้ั แต่ ๐๐๐๐๑ จนถงึ ๙๙๙๙๙ ๒.๓.๒ เลขที่ประจาระเบยี บแสดงผลการเรยี น ให้ใช้เลข ๖ หลกั โดยเริ่มใชต้ ้ังแต่ ๐๐๐๐๐๑ จนถึง ๙๙๙๙๙๙ ให้เลขท่ีประจาระเบยี นแสดงผลการเรยี น เปน็ เลขย่อยของเลขชดุ ที่ แต่ละชดุ ๓.การพมิ พแ์ ละการสัง่ ซ้อื แบบพมิ พ์ระเบยี นแสดงผลการเรยี นหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน(ปพ.๑)ให้ปฏิบตั ดิ งั น้ี ๓.๑ การพมิ พ์ ใหอ้ งคก์ ารคา้ ของ สกสค. จดั พิมพ์ ภายใต้การควบคมุ ของส านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๓.๒ การสงั่ ซื่อแบบพมิ พ์ ให้ผอู้ านวยการส านกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา เป็นผูส้ งั่ ซื่อใหส้ ถานศกึ ษาทกุ แหง่ ทกุ สงั กัดในเขต พ้นื ท่กี ารศึกษาทีร่ ับผดิ ชอบ ๔. การควบคมุ และการเก็บรกั ษาแบบพมิ พร์ ะเบยี นแสดงผลการเรยี นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (ปพ.๑) ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิดงั นี้ ๔.๑ ให้สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาและสถานศกึ ษาจัดทาบญั ชรี บั -จ่ายแบบพมิ พไ์ วเ้ ป็นหลักฐานตามแบบทา้ ยคาสง่ั น้ี ๔.๒ กรณแี บบพิมพเ์ กดิ สญู หายระหวา่ งทางขณะทาการขนสง่ หรือสูญหายด้วยสาเหตุอน่ื ๆ หรอื เขียนผดิ พลาด หรือสกปรก หรือเกดิ ชารดุ เสยี หายดว้ ยเหตอุ ่ืนใด จนไมอ่ าจใช้การได้ให้ดาเนินการโดยเรว็ ท่สี ดุ ดงั น้ี ๔.๒.๑ ใหผ้ ้ทู าใหเ้ กดิ ความสูญหายหรอื เสยี หาย รายงานตอ่ ผอู้ านวยการส านักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาตน้ สงั กดั หรอื สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาที่สถานศกึ ษาตง้ั อยู่ ๔.๒.๒ ถา้ เป็นองคก์ ารคา้ ของ สกสค. ใหร้ ายงานต่อเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ๔.๓ ให้ผู้อานวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาดาเนินการสอบสวน และประกาศยกเลิกเอกสาร แบบพมิ พฉ์ บับทส่ี ญู หายหรอื เสยี หาย พร้อมทง้ั แจง้ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานกระทรวงทกุ กระทรวง ส านักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาทกุ แหง่ เพอื่ มิใหเ้ จ้าหน้าที่รบั พิจารณาระเบยี นแสดงผลการเรยี นหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (ปพ.๑) ฉบบั นั้น ๕. ใหส้ ถานศึกษาออกระเบยี นแสดงผลการเรยี นหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพืน้ ฐาน (ปพ.๑) ๔๓ ใหผ้ ู้เรียน โดยปฏบิ ัตติ ามคาอธิบายการจดั ทาระเบยี นแสดงผลการเรียนหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน(ปพ.๑) ๖. กรณผี เู้ รยี นทีจ่ บระดบั การศกึ ษา หรือจบหลกั สตู รหรือออกจากสถานศกึ ษา และไดร้ บั เอกสารระเบียนแสดงผลการเรยี น หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน (ปพ.๑) ไปแล้ว ย้อนกลบั มาขอรับเอกสารใหม่ สถานศึกษาจะต้องกรอกเลขชดุ ท่ี เลขท่ี และรายการต่างๆ ให้ตรงกับเอกสารตันฉบบั ๗. สถานศึกษาตอ้ งทาบญั ชีการออกระเบียนแสดงผลการเรยี นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน(ปพ.๑) ในทุกกรณี และบนั ทึกลงในสมดุ หมายเหตุรายวนั ของสถานศึกษาทกุ ครงั้ ทม่ี กี ารออกเอกสาร ทง้ั นี้ ตงั้ แต่ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๒ เปน็ ตน้ ไป สง่ั ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ จรุ ินทร์ ลักษณวิศษิ ฏ์ (นายจรุ ินทร์ ลกั ษณวิศษิ ฏ)์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร

๒๗ คาส่งั กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๖๑๗ / ๒๕๕๒ เรอ่ื ง การจดั ทาประกาศนียบตั รหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (ปพ.๒) ........................................................... เพื่ออนมุ ตั ิให้เป็นไปตามคาสง่ั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ สพฐ. ๒๙๓/๒๕๕๑ ส่งั ณ วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรอ่ื งใหใ้ ช้หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เกีย่ วกับการ จดั ทาเอกสารหลักฐานการศึกษาทสี่ ถานศึกษาทุกแหง่ ต้องใช้เหมือนกัน เพ่อื ประโยชนใ์ นการสอื่ ความเข้าใจ ทีต่ รงกนั และสง่ ต่อ และเพ่ือประโยชนใ์ นการควบคมุ การจัดทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปดว้ ย ความเรียบรอ้ ย กระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ กาหนดแบบพมิ พ์ การพิมพ์ การซอื้ และการออกประกาศนียบตั ร ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (ปพ.๒) ดังตอ่ ไปนี้ ๑. ประกาศนียบัตรตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน เป็นเอกสารหลกั ฐานแสดงวฒุ ิ การศกึ ษาของผเู้ รียนเพือ่ การศกึ ษาต่อ สมคั รเข้าทางาน หรอื เพ่อื การอืน่ ใดทต่ี อ้ งแสดง วุฒิการศึกษา สถานศึกษาต้องออก ประกาศนยี บัตรให้แก่ผสู้ าเร็จการศึกษาภาคบังคับ (ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓) และ ผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยใชแ้ บบพิมพเ์ อกสารที่กระทรวง ศึกษาธิการกาหนดเท่านั้น ๒. ลกั ษณะแบบพมิ พป์ ระกาศนยี บตั รหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (ปพ.๒) จาแนก เปน็ ๒ แบบ ๒.๑ ประกาศนยี บัตร (ปพ.๒: บ) สาหรับผู้เรียนทสี่ าเร็จการศกึ ษาภาคบังคับตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓) ๒.๒ ประกาศนยี บัตร (ปพ.๒: พ) ส าหรบั ผเู้ รียนทส่ี าเร็จการศกึ ษาภาคบงั คบั ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖) ๓. การพิมพแ์ ละการสง่ั ซือ้ แบบพมิ พ์ประกาศนียบัตรหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน(ปพ.๒) ๓.๑ การพมิ พ์ ใหอ้ งค์การค้าของ สกสค. จดั พิมพ์ แบบพมิ พ์ ประกาศนียบตั ร ตามแบบ ท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด ๓.๒ การสง่ั ซ่ือแบบพมิ พ์ ให้ผอู้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาเป็นผสู้ งั่ ซือ้ ให้ สถานศกึ ษาทกุ แหง่ ทกุ สงั กัดในเขตพน้ื ท่ีการศึกษาทีร่ บั ผดิ ชอบ ๔. การออกประกาศนียบตั ร ๔.๑ ใหส้ ถานศึกษาออกประกาศนยี บัตรให้ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาตามข้อ ๒ ทกุ คน และกรอก รายการในประกาศนยี บตั รใหป้ ฏบิ ตั ิตามคาอธบิ ายท้ายคาสง่ั นี้

๒๘ ๔.๒ กรณที ผ่ี สู้ าเรจ็ การศกึ ษามิไดม้ ารบั ประกาศนยี บัตรตามเวลาทสี่ ถานศึกษากาหนด ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาจะต้องยื่นคาร้องและขอรับประกาศนียบตั รด้วยตนเอง ๔.๓ ให้ผู้ดารงตาแหน่งหวั หนา้ สถานศึกษา และประธานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เป็นผู้มอี านาจลงนามในประกาศนียบตั รกรณีสถานศึกษาลม้ เลกิ กิจการ ใหผ้ อู้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษา ซ่งึ เก็บรักษา หลกั ฐานการศึกษาของสถานศึกษานน้ั ไว้ เปน็ ผ้มู อี านาจลงนามในประกาศนยี บัตร ๕. กรณีท่ีผสู้ าเรจ็ การศึกษารับประกาศนียบัตรไปแลว้ เกิดการชารดุ หรอื เสียหาย ใหส้ ถานศึกษา ออกใบแทนประกาศนยี บัตรให้ โดยผทู้ สี่ าร็จการศึกษาเป็นผยู้ นื่ คาร้อง และขอรบั ใบดว้ ยตนเอง ๕.๑ การออกใบแทนกรณปี ระกาศนียบัตรสญู หาย ให้นาใบแจง้ ความตอ่ พนักงานเจา้ หน้าทม่ี า ย่ืนประกอบคารอ้ งขอรบั ใบแทน ๕.๒ การออกใบแทนกรณปี ระกาศนยี บัตรชารดุ ใหน้ าใบประกาศนียบัตรที่ชารดุ มายื่นประกอบ คาร้องขอรบั ใบแทน ๕.๓ ใบแทนประกาศนียบตั ร ใหใ้ ช้แบบพมิ พท์ ่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารจัดพมิ พ์ตามท่ีกาหนดไวท้ า้ ย คาสั่งนี้ การจดั พิมพ์ การสงั่ ซ้อื และการออกใบแทนประกาศนียบัตร ให้ถอื ปฏบิ ัตเิ ช่นเดียวกัประกาศนยี บตั ร ๖. ให้สถานศกึ ษาจัดท าแบบรายงานการออกประกาศนยี บตั ร ตามแบบทา้ ยคาส่ังน้ี โดยจัดทา ๒ ชุด เกบ็ รักษาไว้ทส่ี ถานศกึ ษา ๑ ชุด และเกบ็ ทส่ี านกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา ๑ ชุด ทั้งนี้ ตง้ั แต่ปีการศึกษาการศึกษา ๒๕๕๒ เปน็ ต้นไป ส่ัง ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕ จุรนิ ทร์ ลกั ษณวิศิษฏ์ (นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร

๒๙ คาสัง่ กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สพฐ. ๖๑๘/๒๕๕๒ เรอ่ื ง การจดั ทาแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (ปพ.๓) ------------------------------------------------- เพอื่ อนวุ ตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามคาสงั่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี สพฐ. ๒๙๓/๒๕๕๑ สั่ง ณ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรอ่ื งใหใ้ ช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เกี่ยวกับการจดั ทาเอกสารหลกั ฐาน การศกึ ษาทสี่ ถานศึกษาทุกแห่งตอ้ งใช้เหมอื นกัน เพ่อื ประโยชน์ในการสอ่ื ความเขา้ ใจท่ีตรงกัน การส่งต่อ และเพอื่ ประโยชน์ในการควบคมุ การจดั ทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษาให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ กาหนดแบบพิมพ์ การพมิ พ์ การซือ้ และจดั ทาแบบรายงานผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (ปพ.๓) ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. แบบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เป็นเอกสารสาหรบั สถานศกึ ษาใช้ตดั สนิ และอนมุ ัติ ผลการเรียนใหผ้ ู้เรียนเป็นผ้สู าเรจ็ การศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยบันทึกข้อมูลของผเู้ รียนทจี่ บการศึกษาในรนุ่ เดยี วกนั สถานศกึ ษาต้องจัดทาแบบรายงานผสู้ าเร็จ การศกึ ษา (ปพ.๓) โดยใช้แบบพิมพ์เอกสารทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนดเทา่ นน้ั ๒. ลกั ษณะแบบพมิ พแ์ บบรายงานผสู้ าเร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (ปพ.๓) ๒.๑ แบบพมิ พแ์ บบรายงานผู้สาเรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน(ปพ.๓) จาแนก เปน็ ๓ แบบ คือ ๒.๑.๑ แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ระดับประถมศึกษา (ปพ.๓ : ป) ๒.๑.๒ แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น (ปพ.๓ : บ) ๒.๑.๓ แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ระดบั มัธยมศึกษาตอน ปลาย (ปพ.๓ : พ) การจัดท าแบบรายงานผสู้ าเร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (ปพ.๓) สถานศึกษา จะตอ้ งใช้แบบพมิ พใ์ ห้ถูกตอ้ งตรงกับระดบั การศึกษาทจี่ ัดทา ๒.๒ แบบพิมพแ์ บบรายงานผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน(ปพ.๓) ทกุ ระดบั จัดทาไว้ ๒ ประเภท ได้แก่ ๒.๒.๑ แบบพมิ พ์ปกติ มีลักษณะเปน็ แบบพิมพ์สมบรู ณ์ ครบถว้ น สาหรบั ใชก้ รอกข้อมลู ด้วยการเขียนหรือ พิมพ์ดดี

๓๐ ๒.๒.๒ แบบพมิ พส์ าหรบั ใชก้ ับคอมพิวเตอร์ มลี ักษณะเปน็ กระดาษว่าง พิมพเ์ ฉพาะชื่อเอกสารและข้อมลู บางส่วนทสี่ าคญั สถานศึกษาเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกบั วธิ ีการจดั ทาเอกสารของตน ๓. การพมิ พแ์ ละการสง่ั ซ้อื แบบพมิ พแ์ บบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (ปพ.๓) ๓.๑ การพิมพ์ ใหอ้ งคก์ ารค้าของ สกสค. จัดพิมพ์ ภายใตก้ ารควบคุมของสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ๓.๒ การสงั่ ซือ้ แบบพมิ พ์ ให้สถานศึกษาสามารถส่งั ซื้อไดโ้ ดยตรง โดยหัวหน้าสถานศึกษาเปน็ ผรู้ ับผิดชอบ ในการสงั่ ซ้อื และเกบ็ รกั ษาแบบพมิ พ์ทสี่ ่ังซ้อื แลว้ ๔. การจัดทาแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.๓) ให้สถานศึกษาดาเนนิ การดังนี้ ๔.๑ แต่งตง้ั นายทะเบยี นของสถานศึกษาอยา่ งเป็นทางการ เพอ่ื รบั ผดิ ชอบการจัดทาแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.๓) และเอกสารสาคัญอน่ื ๆ ของสถานศึกษา ๔.๒ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนินการจดั ทาแบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เป็นคราว ๆ ไป ประกอบดว้ ยผเู้ ขียน/พมิ พ์ ผทู้ าน และผูต้ รวจ การดาเนินงานจดั ทาใหป้ ฏบิ ตั ติ ามคาอธิบายการจัดทา แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศึกษา (ปพ.๓) แนบทา้ ยคาสง่ั นี้อย่างถูกตอ้ ง ภายใต้การกากบั ดูแลของนายทะเบยี น ๔.๓ เมอื่ จดั ทาแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศึกษา (ปพ.๓) เสรจ็ เรียบร้อยแล้ว ใหก้ รรมการทกุ คนและนาย ทะเบียนลงนามไว้ที่ดา้ นหน้าของเอกสารในชอ่ งท่ีกาหนดไวท้ ุกแผน่ กอ่ นเสนอใหผ้ อู้ านวยการ หรืออาจารยใ์ หญ่ หรอื ครใู หญ่ แล้วแต่กรณี พิจารณาอนมุ ัตกิ ารจบการศึกษา ๔.๔ ผ้อู านวยการ หรอื อาจารยใ์ หญ่ หรือครใู หญ่ควรเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวชิ าการ สถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พิจารณาแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศึกษา (ปพ.๓) ทีจ่ ัดทาเสรจ็ เรียบร้อยแล้วเพ่ือความถูกตอ้ ง สมบรู ณ์ และรอบคอบก่อนลงนาม อนุมตั ผิ ลการจบการศกึ ษา ๔.๖ สถานศกึ ษาต้องจดั ทาแบบรายงานผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.๓) ภายในเวลา ๓๐ วัน นบั จากวันอนมุ ัตผิ ลการเรยี นและสาเรจ็ การศึกษาแตล่ ะครง้ั โดยระดับประถมศกึ ษา จดั ทาครง้ั ละ ๒ ชุด เกบ็ รักษาไวท้ ี่สถานศึกษา ๑ ชดุ สง่ เกบ็ รักษาทส่ี านกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาตน้ สงั กัดของสถานศึกษา ๑ ชุด สาหรบั ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ให้จัดทาครง้ั ละ ๓ ชดุ เก็บรักษาไวท้ ี่ สถานศึกษา ๑ ชุด ส่งเกบ็ รกั ษาท่ีสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาต้นสงั กดั ของสถานศกึ ษา ๑ ชดุ และสง่ เกบ็ รักษาทสี่ านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ๑ ชดุ เพ่อื ใชเ้ ปน็ หลักฐาน สาหรบั ตรวจสอบวุฒกิ ารศึกษาของผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา ๕. การจดั เก็บรกั ษาแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศึกษา (ปพ.๓) ให้สถานศึกษา ส านกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาต้นสงั กัดของสถานศึกษา จดั เกบ็ รักษาแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.๓) ไวใ้ นทีป่ ลอดภัย ตลอดไป อยา่ ใหช้ ารุดเสยี หาย หรอื เกดิ การเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลได้ กรณขี อ้ มลู ในแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.๓) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั

๓๑ มัธยมศึกษาตอนปลาย ทเ่ี ก็บรักษาไว้ที่หน่วยงานตา่ ง ๆ มขี อ้ มลู ไม่ตรงกนั ให้ยึดขอ้ มลู ในเอกสารหลกั ฐาน ฉบบั ทเ่ี กบ็ รกั ษาไว้ทีส่ านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เป็นข้อมูลทถ่ี กู ตอ้ ง ๖. การแก้ไข เปลีย่ นแปลง หรอื เพม่ิ รายช่อื ผู้สาเรจ็ การศึกษาในแบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.๓) ทีส่ ง่ ไปเกบ็ รกั ษาทส่ี านกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา และสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ แลว้ ให้ดาเนินการดงั นี้ ๖.๑ สถานศึกษาย่ืนคารอ้ งขอแกไ้ ข เปลี่ยนแปลง หรอื เพิม่ รายช่ือตอ่ ผอู้ านวยการสานกั งาน เขตพืน้ ท่ีการศึกษา ๖.๒ ผอู้ านวยการส านกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาแต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวนหาข้อเทจ็ จริง ในการขอแก้ไข เปลย่ี นแปลง หรอื เพมิ่ เตมิ รายชื่อของผู้สาเรจ็ การศึกษา ๖.๓ เมื่อคณะกรรมการสอบสวนไดข้ อ้ เทจ็ จรงิ ประการใดแลว้ ใหร้ ายงานผลการสอบสวน ข้อเท็จจรงิ พรอ้ มหลักฐานต่าง ๆ ใหผ้ ้อู านวยการส านกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาเพือ่ พจิ ารณาดาเนนิ การต่อไป ท้งั น้ี ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เปน็ ต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ จรุ ินทร์ ลักษณวิศษิ ฏ์ (นายจุรินทร์ ลกั ษณวศิ ษิ ฏ์) รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

๓๒ คาส่งั กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๖๑๙ / ๒๕๕๒ เรอ่ื ง แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมินผลการเรยี นในระยะตอ่ เนื่อง ระหว่างหลกั สูตรการศกึ ษา ขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ และหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ............................................... อนสุ นธจิ ากคาสงั่ กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๒๙๓ / ๒๕๕๑ สั่ง ณ วันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรอื่ งให้ใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ซงึ่ มกี ารกาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ช้วี ดั โครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรียน ต้งั แตป่ กี ารศกึ ษา ๒๕๕๒ ใช้กบั โรงเรยี นในโครงการน าร่องการใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และปี การศกึ ษา ๒๕๕๓ ใชก้ ับโรงเรยี นทว่ั ไป โดยใชพ้ รอ้ มกนั ทกุ ช้ันปี ในระดับประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖ สาหรับ ระดับมธั ยมศกึ ษาเรม่ิ ใชใ้ นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ และเพิม่ ขึ้นในปลี ะชั้น จนถึงปีการศกึ ษา ๒๕๕๕ สถานศึกษาทกุ แหง่ จะมีการใชห้ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ครบทุกชั้นปี เพ่ือใหก้ ารจัดการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานของสถานศกึ ษาทกุ สงั กดั ในระยะตอ่ เน่อื งระหว่างหลกั สตู ร การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดาเนินไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๕ แหง่ พระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ จงึ เหน็ สมควรกาหนดแนวปฏบิ ตั ิการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นในระยะต่อเนอ่ื งระหวา่ งหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ และหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เนอื่ งจากการเปลีย่ นหลักสูตรของสถานศึกษา การยา้ ย สถานศึกษาที่ใชห้ ลกั สตู รตา่ งกนั และการแก้ไขผลการเรียนเมอื่ สถานศกึ ษาเปล่ียนหลกั สตู ร ดังน้ี ๑. การบันทกึ ระเบยี นแสดงผลการเรยี น ( ปพ.๑) เพื่อแสดงหลกั ฐานการจบหลกั สูตรของผูเ้ รียน เม่อื สถานศึกษาเปลี่ยนมาใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้น าผลการเรียน ของผเู้ รยี น จากหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ ทั้งหมดในทุกชั้นปีของชว่ งชนั้ นน้ั มานบั ตอ่ เนอ่ื งกบั ผลการเรียนกบั ผลการเรียนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตาม จานวน ช้ันปีทเี่ หลืออยู่ การออกระเบียนแสดงผลการเรยี น ใหใ้ ชร้ ะเบียนแสดงผลการเรยี นหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พร้อม ระบุในชอ่ งหมายเหตวุ ่าดาเนินการตามคาสงั่ กระทรวงศึกษาธกิ ารท่ี สพฐ. ๖๑๙/๒๕๕๒ ๒. การจัดทาระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ. ๑) ของผเู้ รียนทกุ ระดบั ทจี่ าเป็น ต้องยา้ ยระหวา่ ง สถานศึกษาที่ใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กับสถานศกึ ษาทใ่ี ชห้ ลกั สูตร

๓๓ การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ใหใ้ ช้ระเบียนแสดงผลการเรียนเดมิ แนบไวก้ บั ระเบียนแสดงผลการ เรียนใหม่ โดยใหด้ าเนนิ การตามแนวปฏิบตั กิ ารเทยี บโอนผลการเรยี นเขา้ สู่การศึกษาในระบบระดบั การศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน ส าหรับการจบหลกั สูตรของสถานศึกษาที่ผเู้ รยี นจบหลักสตู ร ๓. สถานศกึ ษาทเี่ รมิ่ ใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หากมผี เู้ รียนตอ้ ง แกไ้ ขผลการเรยี นและ / หรือเรยี นซ้ ารายวิชาของหลักสตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ ให้ สถานศกึ ษาจดั ให้แก้ไขผลการเรยี นและ/หรอื เรยี นซ้ ารายวชิ าจากรายวิชาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยพิจารณาผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั ของรายวิชานน้ั ๆ ตามหลกั สตู รการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ เทยี บเคียงกับตัวชวี้ ัดของรายวชิ าน้ันตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หากไม่ครบถ้วนใหจ้ ดั เพม่ิ เตมิ ใหค้ รบตามเกณฑห์ ลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ ทั้งนตี้ ้องด าเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในปีการศึกษาแรกของชั้นปที ใี่ ช้หลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทง้ั นี้ ตงั้ แต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๒ เป็นตน้ ไป สงั่ ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ จุรินทร์ ลักษณวศิ ิษฏ์ (นายจรุ นิ ทร์ ลักษณวิศิษฏ์) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook