คำนำ การอ่านหนังสือเพื่อพัฒนาตนเองและเพื่อการใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์เป็นสิง่ จำเป็นมากในการพัฒนา คนและพัฒนาสังคม ปัจจุบันนี้การอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือแล้วการ อา่ นหนงั สือที่ดแี ละมสี าระย่ิงน้อยลงไปอีก สาเหตมุ ีอยหู่ ลายประการนับตั้งแต่การขาดแคลนหนังสือท่ีดีและตรงกับ ความสนใจและการแยง่ เวลาของสอ่ื อ่นื ๆ เชน่ โทรศัพท์ สื่อ โซเชยี ล ฯลฯ รวมทงั้ ขาดการชกั จงู การกระตุ้น ให้เห็น ความสำคัญของการอ่าน ตลอดจนมีนิสัยรกั การอ่านทั้ง ในและนอกสถานศึกษาเมื่อเทียบความเพลดิ เพลินและการ ได้ฟัง ได้รู้ ได้เห็นเร่ืองต่างๆจากโทรศพั ท์ ส่ือ โซเชยี ล ฯลฯ การอา่ นหนงั สอื เพื่อวัตถุประสงค์ดังกลา่ ว ต้องใช้ความ พยายามมากกว่าและต้องมีทักษะในการอ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนังสือเป็นนิสัยจริงๆต้องมีการปลูกฝังและชักชวน ให้เกิดความสนใจแต่สภาพปัจจุบัน พบวา่ สังคมไทยยัง ไม่เป็นสังคมการอ่าน จึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริมนิสัยรัก การอา่ นอยา่ งต่อเนื่องและเพิ่มมากข้ึน การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของ กศน.ตำบลบ้านใต้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาและ ประชาชนทั่วไปมีนิสัยรักการอ่าน สาระสำคัญ ในเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญของ การประเมิน หลักการ ขั้นตอนการดาเนินการและผลการประเมินโครงการขอขอบคุณผู้บริหาร คณะครูและ นกั ศึกษาทชี่ ่วยให้การดำเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโครงการสง่ เสรมิ นิสัยรักการอ่านประสบผลสำเรจ็ ขอขอบคุณเป็น อยา่ งย่งิ นางสาวรักษส์ ดุ า พรานเจรญิ ครู กศน.ตำบลบา้ นใต้
สารบญั หนา้ 1 เร่อื ง 1 สว่ นที่ 1 ความเปน็ มาและความสำคญั 1 5 วัตถุประสงค์ 11 เปา้ หมาย ส่วนที่ 2 เอกสารท่เี ก่ียวข้อง 13 ส่วนที่ 3 การดำเนนิ งาน 19 กจิ กรรมท่ี 1 การอ่านเพื่อสรา้ งอาชีพ กจิ กรรมท่ี 2 กิจกรรมน่ังทไี่ หนอ่านท่ีนน้ั กิจกรรมท่ี 3 กระกร้า สง่ เสรมิ การอ่าน กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม Check in มมุ โปรด กิจกรรมที่ 5 QR Code นิทรรศการความรู้ กจิ กรรมที่ 6 คาราโอเกะ พาเพลิน กจิ กรรมท่ี 7 E-Book ปลุก นักอ่าน สว่ นท่ี 4 ผลการดำเนินงาน สว่ นที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ คณะทำงาน ภาคผนวก ภาคผนวก ภาพกิจกรรม
สว่ นที่ 1 ความเปน็ มาและความสำคญั กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบายดำเนินงานด้านการส่งเสริมการอ่านของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยมุ่งหวังให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน และกำหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน นโยบายด้านการส่งเสริมการอ่าน สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้กำหนดนโยบายส่งเสริมการอ่านใน หลากหลายรูปแบบ และกำหนดให้ กศน.ตำบล จัดกิจกรรมสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบล ในการพัฒนาให้เป็น “เมืองนักอ่าน คนกาญจนบุรี” เพื่อพัฒนาให้จังหวัดกาญจนบุรีเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างย่ังยืนเพื่อสง่ เสริมให้ เกิดการนิสัยรักการอ่าน การเรียนรู้ ขยายขอบเขต และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ ให้กับนักเรียน นักศึกษา และ ประชาชนทวั่ ไป และเปน็ การกระตุ้นใหเ้ กิดความสนใจท่วั ทุกพ้ืนที่อย่างท่ัวถึง และต่อเน่ือง อันจะนำไปสู่สังคมแห่ง การเรียนรู้ในจังหวัดกาญจนบุรี กศน.อำเภอเมืองกาญจนบุรี จึงมอบหมายให้กศน.ตำบลบ้านใต้ จัดกิจกรรม โครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่ กศน.ตำบลบ้านใต้ ปีงบประมาณ 2566 โดยจัดโครงการส่งเสริมการ อ่านเคลื่อนที่ออกใหบริการประชาชนในพื้นที่บ้านหนงั สอื ชุมชน กศน.ตำบลและหนว่ ยงานราชการต่างๆ กิจกรรม ประกอบไปด้วยการให้บริการ สื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอื่น ๆ เช่น จัดนิทรรศการข่าวสารที่เป็นที่สนใจ อาเซียนศึกษา กิจกรรมตอบปัญหา เล่านิทาน วาดภาพระบายสี 3 มิติ กิจกรรม ICT กิจกรรมนั่งที่ไหนอ่านที่นั้นและกิจกรรมการอ่านเพื่อสร้างอาชีพ เป็นต้น โดยมีเป้าหมายให้บริการ ส่งเสรมิ การอ่าน ซ่ึงเป็นอีกสว่ นหนง่ึ ของการผลกั ดันใหเ้ กิดสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื เพม่ิ ชอ่ งทางและโอกาสในการอา่ นและสร้างการเรยี นรูใ้ ห้กลุ่มเปา้ หมาย 2 เพื่อให้ นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป มีสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และส่ือ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3.เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การอ่าน/การเรียนรู้ และปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้กับกลุ่มเป้าหมายอย่าง กวา้ งขวาง ทั่วถึงทุกพน้ื ที่ เป้าหมาย 1. เชงิ ปริมาณ นกั ศึกษา ประชาชนท่วั ไป ในพ้นื ทีเ่ ทศบาลเมืองกาญจนบุรี จำนวน 80 คน 2. เชิงคณุ ภาพ ผู้เขา้ รว่ มโครงการ เกดิ การเรียนรู้ ใฝร่ ู้ และสง่ เสริมให้ชุมชน ภาคีเครือข่ายมีสว่ นรว่ มใน การจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั
5.วิธกี ารดำเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ พื้นท่ี ระยะเวลา งบ เป้าหมาย ดำเนินการ ประมาณ พน้ื ท่ตี ำบล เมษายน 1.ประชมุ วางแผน เพื่อสร้างความเขา้ ใจใน ครู กศน.ครู ศรช. 2566 - บา้ นใต้ และช้แี จงบุคลากร การจดั ทำโครงการ ครูอาสาสมัครฯ พ้ืนทต่ี ำบล ในการจดั โครงการ กจิ กรรมส่งเสริมการ เจ้าหน้าที่หอ้ งสมุด บ้านใต้ เทศบาล อ่าน เมอื ง กาญจนบุรี 2.กระบวนการจดั 1. เพื่อเพม่ิ ชอ่ งทาง นักศึกษาและ ตลุ าคม 65 - พื้นที่ตำบล ถงึ กิจกรรม และโอกาสในการ ประชาชนใน บ้านใต้ เทศบาล มนี าคม - กจิ กรรม Check อา่ นและสรา้ งการ พน้ื ที่เทศบาล เมือง 66 กาญจนบุรี in มุมโปรด เรียนรใู้ ห้กลมุ่ เปา้ หมาย เมอื งกาญจนบรุ ี พน้ื ที่ตำบล - QR Code 2. เพื่อให้ นกั ศึกษา บา้ นใต้ เทศบาล นทิ รรศการความรู้ กศน. และประชาชน เมือง กาญจนบุรี - คาราโอเกะ ทว่ั ไป มสี ่อื การ พาเพลนิ เรียนรทู้ ่หี ลากหลาย - E-Book ปลกุ ทง้ั สอ่ื สงิ่ พิมพ์และสื่อ นักอา่ น อเิ ล็กทรอนิกส์ - กระเปา๋ ความรู้สู่ 3. เพื่อส่งเสริม ชุมชน สนับสนุน การอ่านการ - นั่งทไ่ี หนอา่ นที่ เรยี นรู้ และปลูกฝังนสิ ยั นน้ั รกั การอ่านให้กับ - การอา่ นเพ่ือ กลุ่มเป้าหมายอย่าง สรา้ งอาชีพ กว้างขวางทว่ั ถึงทุกพื้นที่ 3.ประเมินผลการ เพือ่ ประเมนิ ผลการ ประชาชนใน ตลุ าคม 65 - ถงึ - ดำเนนิ งาน ดำเนิน พ้ืนท่เี ทศบาล มีนาคม งานให้เปน็ ไปตาม เมอื งกาญจนบรุ ี 66 วตั ถุประสงค์ ตุลาคม 65 ถงึ 4.ตดิ ตามและ เพ่ือติดตามการ ประชาชนใน ประเมนิ ผล ดำเนินงาน พน้ื ทีเ่ ทศบาล มนี าคม เมอื งกาญจนบรุ ี 66
กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ พื้นที่ ระยะเวลา งบ เปา้ หมาย ดำเนินการ ประมาณ 5.สรุปผลการ เพื่อใหข้ อ้ เสนอแนะ ตุลาคม 65 ดำเนินงานเพ่ือการ แนวทางแกป้ ัญหา ครู กศน.ตำบล กศน.ตำบล ถึง - พัฒนา พัฒนางานให้มี ครู อาสาสมคั รฯ บา้ นใต้ ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ครู ศรช. มนี าคม 66 เจ้าหนา้ ท่ี ห้องสมุด สถานท่ดี ำเนนิ การ พน้ื ท่ีตำบลบ้านใต้ งบประมาณ ไม่ใช้งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นางสาวรักษส์ ุดา พรานเจริญ ดัชนชี ีว้ ดั ผลสำเร็จ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output)มีจำนวนผู้เข้ารับบริการ ร้อยละ ๘๐ ของผู้รับบริการ มีความพึงพอใจในระดับดี ขึ้นไป มีนิสัยรักการอ่าน รักการเรียนรู้ มีความพึงพอใจที่ต่อการเข้ามาใช้บริการ กศน.ตำบล สามารถศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเองตามอัธยาศยั โดยใช้สื่อการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลายทั้งสื่อส่ิงพมิ พ์และสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ ผลท่คี ำดว่ำจะได้รับ 1. นักศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไปสามารถเขา้ ถงึ แหล่ง เรยี นรูส้ ง่ เสรมิ การอา่ นไดง้ ่ายข้ึน 2 นักศึกษา กศน. และประชาชนทว่ั ไป มสี อ่ื การเรียนรู้ที่หลากหลายท้ังสื่อสิง่ พิมพ์และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ 3 นกั ศึกษาและประชาชนทัว่ ไปมีนสิ ยั รกั การอา่ นมากขน้ึ
ส่วนท่ี 2 เอกสำรที่เกยี่ วข้อง รายงานผลการดำเนินงานโครงการ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่ กศน.ตำบลบ้านใต้ ปีงบประมาณ 2566 ของ กศน.ตำบลบ้านใต้ เพื่อความสมบูรณ์ในการจัดทำรายงานเป็นไปตามหลักการและทฤษฎี จึงได้ศึกษา คน้ คว้า เอกสารและงานวิจัย ทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื เปน็ แนวทางในการดาเนินกจิ กรรม ตามรายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ การอ่านเป็นกระบวนการรู้การถอดรหัสสัญลักษณ์ที่ซับซอ้ นเพื่อสร้างหรือเอาความหมาย (ความเข้าใจซึง่ การอ่าน) การอ่านเป็นวิธีการไดม้ าซึ่งภาษา การสื่อสารและแบ่งปันสารสนเทศและความคดิ เช่นเดียวกบั ทกุ ภาษา การอ่านเป็นอันตรกิริยาซับซ้อนระหว่างข้อความและผู้อ่านซึ่งเกิดขึ้นโดยความรู้ ประสบการณ์ เจตคติและชุมชน ภาษาเดิมของผู้อ่านซึง่ วัฒนธรรมและสังคมกำหนด กระบวนการการอ่านต้องอาศัยการฝึกฝน การพัฒนาและการ ขัดเกลาอย่างต่อเนื่อง นอกเหนือจากนี้ การอ่านยังต้องการความคิดสร้างสรรค์และการวิเคราะห์วิจารณ์ (critical analysis) การอ่านคืออะไร การอ่าน คือ การรับรู้ความหมายจากถ้อยคำที่ตีพิมพ์อยู่ในสิ่งพิมพ์หรือในหนังสือ เป็น การรบั รูว้ า่ ผู้เขยี นคดิ อะไรและพูดอะไร โดยเรม่ิ ตน้ ทำความเขา้ ใจถ้อยคำแตล่ ะคำเขา้ ใจวลี เขา้ ใจประโยค ซง่ึ รวมอยู่ ในย่อหน้า เข้าใจแต่ละยอ่ หน้า ซง่ึ รวมเป็นเรอ่ื งราวเดียวกัน การอ่านเป็นการบริโภคคำที่ถูกเขียนออกมาเป็นตัวหนังสือหรือสัญลักษณ์ การอ่านโดยหลักวิทยาศาสตร์ เริม่ จากการทแ่ี สงตกกระทบทีส่ ่ือ และสะท้อนจากตวั หนงั สือผ่านทางเลนส์นัยนต์ า และประสาทตาเขา้ สเู่ ซลล์สมอง ไปเป็นความคิด (Idea) ความรับรู้ (Perception) และก่อให้เกิดความจำ (Memory) ทั้งความจำระยะสั้น และ ความจำระยะยาว กระบวนการอ่าน มี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นแรก การอ่านออก อ่านได้ หรืออ่านออกเสียงได้ถูกต้อง ขั้นที่สอง การอ่านแล้วเข้าใจ ความหมายของคำ วลี ประโยค สรุปความได้ ขั้นที่สามการอ่านแล้วรู้จักใช้ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์และออกความเห็นในทางที่ขัดแย้งหรือเห็นด้วยกับผู้เขียนอย่างมีเหตุผล และขั้นสุดท้ายคือการอ่านเพ่ือ นำไปใช้ ประยุกต์ใช้ในเชิงสร้างสรรค์ ดังนั้นผู้ที่อ่านได้และอ่านเป็นจะต้องใช้กระบวนการทั้งหมดในการอ่านท่ี ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการถ่ายทอดความหมายจากตัวอักษรออกมาเป็นความคิด และจากการคิดที่ได้จาก การอ่านผสมผสานกบั ประสบการณเ์ ดิม และสามารถความคิดน้นั ไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป ประเภทของการอ่าน การอ่านแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียงการอ่านในใจ คือการแปล ความหมายของตัวอกั ษรออกมาเป็นความคิด ความเข้าใจ และนำความคิดความเข้าใจท่ีได้น้นั ไปใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ประเภทของการอา่ นดังต่อไปนค้ี ือ
๑. การอา่ นจบั ใจความ การอา่ นจับใจความ เปน็ การอ่านหนงั สืออย่างละเอียดเพื่อเกบ็ แนวคดิ หรือสรุปสาระสำคัญของเร่ือง ทีอ่ ่าน หลักสำคัญของการอ่านจับใจความคือการแยกใจความ (ข้อความสำคัญที่สุด) ออกจาก พลความ (ข้อความ ประกอบ) วิธกี ารอ่าน 1) สงั เกตส่วนประกอบของงานเขียน เช่น ชื่อเร่อื ง คำนำวตั ถปุ ระสงค์ ของผู้เขยี นวา่ เป็นงานเกี่ยวกับอะไร และเขยี นเพอ่ื อะไร 2) วิเคราะห์จดุ มงุ่ หมายงานเขียนว่าเขียนดว้ ยวัตถปุ ระสงค์ใด 3) จัดลำดับเน้ือหาใหมต่ ามความสำคัญ 4) ใช้การตั้งคำถามกว้าง ๆ ว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และทำไม เพื่อหาความสัมพันธ์ในการ ดำเนนิ เร่ือง 2. การอา่ นตีความ คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมายของคำและข้อความทั้งหมด โดยพิจารณาถึง ความหมายโดยนัย หรือความหมายแฝงที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อความหมาย ซึ่งทั้งนี้ผู้อ่านจะสามารถตีความหมาย ของคำสำนวนได้ถูกต้องหรือไม่นั้นจำเป็นต้องอาศัยเนื้อความแวดล้อมของข้อความนั้นๆบางครั้งต้องอาศัยความรู้ หรือประสบการณป์ จั จบุ นั เปน็ เครือ่ งช่วยตดั สินการอ่านตีความมีหลักเกณฑ์ในการอา่ นดงั น้ี การอ่านตีความอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้อ่านต้องพิจารณาความหมายโดยอาศัยบริบท น้ำเสียงของผู้เขียน เจตคติ ภูมหิ ลงั ของเหตุการณ์ประกอบด้วย ข้อปฏบิ ัติในการอ่านตีความ - อา่ นเรือ่ งใหล้ ะเอียดโดยพยายามจบั ประเด็นสำคญั ของเร่อื งให้ได้ - หาเหตุผลอย่างรอบคอบเพ่อื พจิ ารณาวา่ มคี วามหมายถึงสงิ่ ใด - ทำความเขา้ ใจกบั ถ้อยคำทไ่ี ดจ้ ากการตคี วาม - เรียบเรยี งถ้อยคำใหม้ คี วามหมายชัดเจนและมีเหตุมผี ลเป็นหลกั สำคัญ 3. การอา่ นอย่างมวี ิจารณญาณ การอา่ นชนิดนเ้ี ปน็ การอ่านที่ค่อนขา้ งยาก เพราะตอ้ งใชก้ ารหาเหตุผลมาใช้ในการวิจารณ์ ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการอา่ นอย่างใชว้ ิจารณญาณ 1. พิจารณาความหมายของข้อความทอี่ ่าน
2. พจิ ารณาความตอ่ เนอ่ื งของประโยคว่ามีเหตุผลสอดรบั กนั หรือไม่ 3. พิจารณาความต่อเนื่องของใจความหลกั และใจความรอง 4. แยกแยะข้อเท็จจริงออกจากความคดิ เหน็ และความรู้สกึ 5. พจิ ารณาว่ามีความรู้เนอ้ื หา หรือมคี วามคดิ แปลกใหมน่ า่ สนใจหรือไม่ 4. การอ่านวเิ คราะห์ การอ่านชนิดนี้เป็นการอ่านเพื่อพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เป็นการแยกแยะทำความเข้าใจองค์ประกอบหรือ โครงสรา้ งของหนังสือแต่ละประเภท ข้อควรปฏิบตั ใิ นการอ่านวเิ คราะห์ 1. ศกึ ษารปู แบบของงานประพันธว์ ่าเปน็ รูปแบบใด 2. แยกเน้อื เรอื่ งออกเป็นสว่ น ๆ ให้เห็นวา่ ใครทำอะไร ท่ไี หน อยา่ งไร เมอ่ื ไร 3. แยกพิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอยี ดลงไปว่าประกอบดว้ ยอะไรบ้าง 4 พิจารณากลวิธีในการนำเสนอ 5.การอ่านเพ่อื ประเมนิ คุณคา่ การประเมินค่าเป็นการตัดสินความถูกต้องเที่ยงตรงและคุณค่าของเรื่องที่อ่าน ว่าถูกต้องชัดเจนหรือไม่ เชื่อถอื ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด มคี ณุ ค่าหรือไม่ อย่างไร โดยพจิ ารณาเนอื้ หา วิธีการนำเสนอ และการใช้ภาษา วธิ ีการอ่านประเมนิ คณุ ค่า 1.พิจารณาความถกู ต้องของภาษาจากเร่ืองท่ีอ่าน 2.พจิ ารณาความตอ่ เน่ืองของประโยค วา่ เปน็ ข้อความท่ีไปกนั ได้ ไม่ขัดแย้งกนั 3.พิจารณาความต่อเนื่องของความหมาย 4. เม่ืออ่านแลว้ ต้องแยกข้อเท็จจรงิ ออกจากความคดิ เห็น และความรู้สึกจากเรอ่ื งที่อ่าน การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียง หมายถึงการอ่านข้อความโดยการเปล่งเสียงออกมาเพื่อให้ผู้อื่น ไดร้ ับรู้ขอ้ ความนัน้ ๆ ด้วยการอา่ นออกเสยี งแบ่งเป็น ๒ ลกั ษณะคอื 1.การอา่ นออกเสียงปกติ เป็นการอ่านออกเสียงตามปกติทั่วไป อ่านได้ทั้งบทร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น อ่านข่าว อ่าน ประกาศ อา่ นตีบท อ่านสารคดี อ่านข้อความประกอบภาพน่ิง หรอื อ่านบทภาพยนตร์
วธิ กี ารอ่านออกเสยี งปกติ 1.ทำความเขา้ ใจกบั เร่อื งทจ่ี ะอา่ นก่อนการอ่านจริง 2.ออกเสียงชัดเจน ดังพอประมาณ มลี ลี าจังหวะในการอา่ นอยา่ งเหมาะสม 3.แบ่งวรรคตอนได้ถูกต้อง 4.อ่านออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธี 2.การอา่ นทำนองเสนาะ การอา่ นทำนองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหรอื วรรณคดีไทยให้ไพเราะน่าฟัง มุ่งให้ เกดิ ความร้สู กึ ซาบซง้ึ เกิดอารมณ์ จินตนาการ คลอ้ ยตามบทรอ้ ยกรองนั้นๆ ด้วย วิธีการอา่ นทำนองเสนาะ 1.ตอ้ งรจู้ ักลักษณะคำประพันธท์ ี่จะอา่ นก่อนว่าบงั คับฉนั ทลกั ษณ์อย่างไร 2.อ่านใหถ้ ูกทำนอง 3.ควรมีน้ำเสียงและลีลาในการอา่ นที่ดี 4.ออกเสียงแต่ละคำถูกต้องชัดเจน ประโยชน์จากการอ่านเป็นที่ยอมรับกันท่ัวไปแล้วว่าการอ่าน (ในที่นี้จะหมายความถึงการอ่านหนังสือ) มี ประโยชน์มหาศาลนักวิจัยด้านภาษาและการรู้หนังสือ เช่น ศาสตราจารย์ สตีเฟน ดี แครซเชน( Stephen D. Krashen) ผู้เขียนหนังสือเรื่อง The Power of Reading :Insights from the Research, Second Edition, Heinemann, 2004 กล่าววา่ จากผลการวจิ ัยในหลายๆเร่ืองสรปุ ได้ว่าเด็กทีช่ อบอา่ นหนัง สือตามลาพงั โดยไมม่ คี รู คอยเคี่ยวเขญ็ ใหต้ อบคาถาม จะเขา้ ใจเรือ่ งท่อี า่ น สะกดตวั คำศัพท์ไดถ้ ูกต้อง เขียนถูกหลักไวยากรณ์ และมีความสุข ในการเรียนภาษาไม่ว่าจะเป็นภาษาอะไร ถ้าเขาชอบอ่านเขาจะเรียนได้เร็วไม่แพ้คนที่เรียนในชั้นเรียน แต่ในระยะ ยาวจะมีความก้าวหน้าในการเรียนมากกวา่ เด็กที่อ่านในชั้นเรียนตามปกติ กล่าวโดยสรุป การอ่านให้ประโยชน์ใน หลายดา้ น
สว่ นที่ 3 การดำเนินงาน กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ เปา้ หมาย ดำเนนิ การ ประมาณ พ้ืนท่ตี ำบล เมษายน 1.ประชุม วางแผน เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจใน ครู กศน.ครู ศรช. 2566 - บ้านใต้ และชแ้ี จงบคุ ลากร การจดั ทำโครงการ ครอู าสาสมัครฯ พน้ื ทตี่ ำบล ในการจดั โครงการ กจิ กรรมสง่ เสริมการ เจ้าหน้าทีห่ อ้ งสมุด บ้านใต้ เทศบาล อ่าน เมือง กาญจนบุรี 2.กระบวนการจัด 1. เพื่อเพม่ิ ชอ่ งทาง นกั ศึกษาและ ตลุ าคม 65 - พน้ื ที่ตำบล ถึง กิจกรรม และโอกาสในการ ประชาชนใน บา้ นใต้ เทศบาล มีนาคม - กจิ กรรม Check อา่ นและสร้างการ พื้นทีเ่ ทศบาล เมือง 66 กาญจนบุรี in มมุ โปรด เรยี นรู้ให้กลุ่มเปา้ หมาย เมอื งกาญจนบรุ ี พืน้ ท่ีตำบล - QR Code 2. เพื่อให้ นักศึกษา บา้ นใต้ นทิ รรศการความรู้ กศน. และประชาชน - คาราโอเกะ ทัว่ ไป มีส่อื การ พาเพลนิ เรยี นร้ทู ่หี ลากหลาย - E-Book ปลกุ ทงั้ ส่อื สงิ่ พมิ พ์และสื่อ นักอา่ น อเิ ล็กทรอนกิ ส์ - กระเปา๋ ความรูส้ ู่ 3. เพ่ือส่งเสริม ชุมชน สนับสนุน การอ่านการ - น่งั ท่ีไหนอา่ นที่ เรียนรู้ และปลูกฝังนิสัย นนั้ รกั การอา่ นให้กับ - การอา่ นเพ่ือ กลุ่มเป้าหมายอย่าง สรา้ งอาชีพ กวา้ งขวางทวั่ ถึงทุกพื้นท่ี 3.ประเมินผลการ เพ่ือประเมินผลการ ประชาชนใน ตลุ าคม 65 - ถึง - ดำเนนิ งาน ดำเนิน พนื้ ที่เทศบาล มีนาคม งานให้เปน็ ไปตาม เมอื งกาญจนบุรี 66 วัตถุประสงค์ ตุลาคม 65 ถงึ 4.ตดิ ตามและ เพ่อื ติดตามการ ประชาชนใน ประเมินผล ดำเนินงาน พื้นทีเ่ ทศบาล มนี าคม เมอื งกาญจนบุรี 66
กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบ เป้าหมาย ดำเนนิ การ ประมาณ 5.สรปุ ผลการ เพอื่ ใหข้ อ้ เสนอแนะ ตลุ าคม 65 ดำเนนิ งานเพ่ือการ แนวทางแก้ปัญหา ครู กศน.ตำบล กศน.ตำบล ถึง - พฒั นา พฒั นางานให้มี ครู อาสาสมัครฯ บา้ นใต้ ประสิทธิภาพย่ิงข้นึ ครู ศรช. มีนาคม 66 เจ้าหน้าที่ ห้องสมดุ
สว่ นท่ี 4 ผลการดำเนินงาน แบบประเมินความพงึ พอใจกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านบา้ นหนังสอื ชุมชนตลาดชุกโดน ณ บา้ นหนังสือชุมชนตลาดชุกโดน ตำบลบ้านใต้ อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี วันที่ 20 กมุ ภาพันธ์ 2566
แบบประเมนิ ความพึงพอใจกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านบา้ นหนังสอื ชุมชนตลาดชุกโดน ณ บ้านหนงั สือชุมชนตลาดชุกโดน ตำบลบ้านใต้ อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี วนั ท่ี 20 กมุ ภาพันธ์ 2566
แบบประเมนิ ความพึงพอใจกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านบา้ นหนังสอื ชุมชนตลาดชุกโดน ณ บ้านหนงั สือชุมชนตลาดชุกโดน ตำบลบ้านใต้ อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี วนั ท่ี 20 กมุ ภาพันธ์ 2566
แบบประเมนิ ความพึงพอใจกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านบา้ นหนังสอื ชุมชนตลาดชุกโดน ณ บ้านหนงั สือชุมชนตลาดชุกโดน ตำบลบ้านใต้ อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี วนั ท่ี 20 กมุ ภาพันธ์ 2566
แบบประเมนิ ความพึงพอใจกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านบา้ นหนังสอื ชุมชนตลาดชุกโดน ณ บ้านหนงั สือชุมชนตลาดชุกโดน ตำบลบ้านใต้ อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี วนั ท่ี 20 กมุ ภาพันธ์ 2566
แบบประเมนิ ความพึงพอใจกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านบา้ นหนังสอื ชุมชนตลาดชุกโดน ณ บ้านหนงั สือชุมชนตลาดชุกโดน ตำบลบ้านใต้ อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี วนั ท่ี 20 กมุ ภาพันธ์ 2566
สว่ นที่ 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ โครงการ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่ กศน.ตำบลบ้านใต้ ปีงบประมาณ 2566 มีกิจกรรมต่าง ๆ ทง้ั หมด 7 กจิ กรรม สรุปไดว้ า่ กศน.ตำบลบา้ นใต้ได้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ทมี่ ีบรรยากาศและสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางแล ะทั่วถึง เช่น พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทนั สมยั สง่ เสรมิ สนบั สนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครือขา่ ยส่งเสรมิ การอา่ น จัดหน่วยบรกิ ารเคลอ่ื นท่ีพรอ้ มอุปกรณ์ เพือ่ จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ท่ี หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆอย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้าน บุคลากร สื่อ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย โรงเรียน ประสบผลสาเร็จในการดาเนินโครงการส่งเสริมนสิ ัยรักการอ่านน่ันคือเมื่อดำาเนินการตามโครงการแล้วพบว่าเป็น ไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายทุกด้านเป็นเพราะการมีส่วนร่วมจากบุคลากรทุกฝ่าย การบริหารจดั การและ การพฒั นาอยา่ งเป็นระบบ กิจกรรมทน่ี ่าสนใจมีความต่อเนื่อง ขอ้ ควรเสนอแนะ 1. ควรมกี ารปรบั ปรุงกิจกรรมใหน้ า่ สนใจอยเู่ สมอเหมาะสมกบั เหตกุ ารณใ์ นยุคปจั จบุ นั 2. กิจกรรมความสนุกสนาน และของรางวลั ที่ น่าสนใจ
ภาคผนวก ภาพกิจกรรม
กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน น่งั ที่ไหนอา่ นที่น้นั
กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น นง่ั ที่ไหนอา่ นที่น้นั
กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น นง่ั ทไี่ หนอ่านทนี่ นั้
กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น นง่ั ทไี่ หนอา่ นทนี่ นั้
กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นเพ่อื สรา้ งอาชพี
กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นเพ่อื สรา้ งอาชพี
กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นเพ่อื สรา้ งอาชพี
กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นเพ่อื สรา้ งอาชพี
นางสาวรักษส์ ดุ า พรานเจริญ คณะผู้จัดทำ นางสาวสวุ มิ ล เข้มแข็ง ครู กศน.ตำบล ครู ศรช.
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: