นาฏ ศิลป์
คำนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-B00K)เล่มนี้เป็นส่วน หนึ่งของวิชา นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โดยมีจุด ประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่องนาฏศิลป์ ไทย ซึ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-BOOK) เล่มนี้มี เนื้อหาเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย วิวัฒนาการของละครตะวันตก และ การชม วิจารณ์ และประเมินคุณภาพการแสดง ผู้จัดทำจะต้องขอขอบคุณ อาจารย์ผู้สอน ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษาเพื่อน ฯ ทุกคนที่ให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทำหวังว่าหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์(E-BOOK)เล่มนี้จะให้ความรู้ และเป็น ประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน คณะผู้จัดทำ
สมาชิก 1.นางสาว เกศวริน กิ้มเฉี้ยง เลขที่ 25 2. นางสาว จารุมน บัวสม เลขที่ 26 3.นางสาว ชนัญญา เพชรทองด้วง เลขที่ 27 4. นางสาว อติกานต์ สัมพันธรัตน์ เลขที่ 40 ชั้นมัธยมศึกษาปี่ ที่ 4/5
สารบัญ ชื่อเรื่อง ก. ข. คำนำ ค. ง.-จ. สมาชิก 1 สารบัญ 2 3 วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย 4 5-10 สมัยน่านเจ้า สมัยสุโขทัย 11 สมัยอยุธยา 12 สมัยธนบุรี 13 สมัยรัตนโกสินทร์ 14 15 วิวัฒนาการละครตะวันตก ยุคกรีก ยุคโรมัน ยุคกลาง ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในประเทศอิตาลี ละครสมัยใหม่
สารบัญ 16 การชมวิจารณ์ และประเมินคุณภาพ 17 การแสดง 18 19 หลักการในการวิจารณ์ 20 การวิจารณ์ผลงานนาฏศิลป์ คุณสมบัติของผู้วิจารณ์ศิลปะที่ดี ประโยชน์ของการวิจารณ์ผลงานศิลปะ บทส่งท้าย
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยน่านเจ้า วิวัฒนาการ ของนาฏศิลป์และการละคร ไทย สมัยน่านเจ้า มีละครเรื่อง นามาโน ราห์ เป็นนิยายของพวกชาวไต ซึ่งเป็น ชนกลุ่มน้อยทางตอนใต้ของจีน ต่อมา เพี้ยนมาเป็น มโนราห์ นอกจากนั้น มีการ แสดง ของ ชาวไต เช่น ระบำหมวก ระบำ นกยูง อีกด้วย
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยสุโขทัย เป็นการแสดงประเภทระบำ รำ ฟ้อน มี วิวัฒนาการมาจากการละเล่นของชาว บ้าน เป็นการพักผ่อนหย่อนใจหลังจาก เสร็จงาน หรือแสดงในงานบุญ งาน รื่นเริงประจำปี ปรากฏในหนังสือไตรภูมิ พระร่วงฉบับพระมหาราชาลิไทว่า “บ้าง เต้น บ้างรำ บ้างฟ้อน ระบำบันลือ” แสดง ให้เห็นรูปแบบของนาฏศิลป์ที่ปรากฏใน สมัยนี้ คือ เต้น รำ ฟ้อน และระบำ
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยอยุธยา สมัยอยุธยา มีการแสดงละครชาตรี ละครนอก ละครใน แต่เดิม ที่เล่นเป็น ละครเร่ จะแสดงตามพื้นที่ว่างโดยไม่ ต้องมีโรงละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อ มาได้มีการวิวัฒนาการ เป็นละครรำ เรียกว่า ละครใน ละครนอก โดยปรับปรุง รูปแบบ ให้มีการแต่งการที่ประณีต งดงามมากขึ้น มีดนตรีและบทร้อง และมี การสร้างโรงแสดง
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยธนบุรี นาฏศิลป์และการละเล่นสมัยกรุงธนบุรี เท่าที่ปรากฏหลักฐานในจดหมายเหตุ สมโภชพระแก้วมรกต พ.ศ.2323 คือ โขน หนัง หุ่น ละคร รำ ( รำหญิง , รามัญรำ , ชวารำ , ญวนรำถือโคมดอกบัว ) มโหรี ปี่ พาทย์ ระเม็ง โมงครุ่ม ญวนหก และคน ต่อเท้าโจนหกรับหอก หกไม้ลำเดียว หก ไม้สูง 3 ต่อ ไต่ลวดลังกาไม้ลอดต่ำ ดุลา เล็ก มังกรตีวิสัย ( แทงวิสัย )
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดรวบรวมตำราฟ้อนรำ และเขียนภาพท่ารำ แม่บทบันทึกไว้เป็นหลักฐาน มีการพัฒนาโขนเป็น รูปแบบละครใน มีการปรับปรุงระบำสี่บท ซึ่งเป็น ระบำมาตฐานตั้งแต่สุโขทัย ในสมัยนี้ได้เกิด นาฏศิลป์ขึ้นมาหลายชุด เช่น ระบำเมขลา-รามสูร ในราชนิพนธ์รามเกียรติ์ รัชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นยุคของนาฏศิลป์ไทย เนื่องจากพระมหากษัตริย์ ทรงโปรดละครรำ ท่ารำงดงามตามประณีตแบบ ราชสำนัก มีการฝึกหัดทั้งโขน ละครใน ละครนอก โดยได้ฝึกผู้หญิงให้แสดงละครนอกของหลวงและมี การปรับปรุงเครื่องแต่งกายยืนเครื่องแบบละครใน
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ยกเลิกละครหลวง ทำให้นาฏศิลป์ไทยเป็นที่ นิยมแพร่หลายในหมู่ประชาชน และเกิดการแสดง ของเอกชนขึ้นหลายคณะ ศิลปินที่มีความสามารถ ได้สือทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่เป็นแบบแผน กันต่อมา รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้มีละครรำผู้หญิงในราชสำนักตามเดิมและ ในเอกชนมีการแสดงละครผู้หญิงและผู้ชาย ในสมัย นี้มีบรมครูทางนาฏศิลป์ ได้ชำระพิธีโขนละคร ทูล เกล้าถวายตราไว้เป็นฉบับหลวง และมีการ ดัดแปลงการำเบิกโรงชุดประเริงมาเป็น รำดอกไม้ เงินทอง
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใน สมัยนี้มีทั้งอนุรักษ์และพัฒนานาฏศิลป์ไทยเพื่อทัน สมัย เช่น มีการพัฒนาละครในละครดึกดำบรรพ์ พัฒนาละครรำที่มีอยู่เดิมมาเป็นละครพันทางและ ละครเสภา และได้กำหนดนาฎศิลป์เป็นที่บทระบำ แทรกอยู่ในละครเรื่องต่างๆ เช่น รำบำเทวดา- นางฟ้า ในเรื่องกรุงพาณชมทวีป รำบำตอนนางบุษบากับนาง กำนันชมสารในเรื่องนิเหนา ระยำไก่ เป็นต้น รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นศิลปะด้านนาฎศิลป์ เจริญรุ่งเรืองมาก พระองค์ โปรดให้ตั้งกรมมหรสพขึ้น มีการทำนุบำรุงศิลปะทาง โขน ละคร และดนตรีปี่ พาทย์ ทำให้ศิลปะทำให้มีการ ฝึกหัดอย่างมีระเบียบแบบแผน และโปรดตั้งโรงเรียน ฝึกหัดนาฎศิลป์ในกรมมหรสพ นอกจากนี้ ยังได้มีการ ปรับปรุงวิธีการแสดงโขนเป็นละครดึกดำบรรพ์เรื่อง รามเกียรติ์และได้เกิดโขนบรรดาศักดิ์ที่มหาดเล็ก แสดงคู่กับโขนเฉลยศักดิ์ที่เอกชนแสดง
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้มีการจัดตั้งศิลปากรขึ้นแทนกรมมหรสพที่ถูด ยุบไป ทำให้ศิลปะโขน ละคร ระบำ รำ ฟ้อน ยังคง ปรากฏอยู่ เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนา สืบต่อไป รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล หลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีของกรมศิลปาการ ได่ก่อตั้งโรงเรียนนาฏ ดุริยางคศาสตร์ขึ้นมา เพื่อปกกันไม่ให้ศิลปะทางด้าน นาฏศิลป์สูญหายไป สมัยนี้ได้เกิดละครวิจิตร ซึ่งเป็น ละครปลุกใจให้รักชาติ และเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ คนไทยหันมาสนใจนาฏศิลป์ไทย และได้มีการตั้ง โรงเรียนนาฏศิลป์แทนโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ ซึ่งถูกทำลายตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเป็นสถาน ศึกษานาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ของทางราชการ และ เป็นการทุบำรุง เผยแพร่นาฏศิลป์ไทยให้เป็นที่ยกย่อง นานาอารยาประเทศ
วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์และละครไทย สมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช นาฎศิลป์ ละคร ฟ้อน รำ ได้อยู่ในความรับผิดชอบ ของรัฐบาล ได้มีการส่งเสริมให้ผู้เชี่ยวชาญนาฎศิลป์ ไทยคิดประดิษฐ์ด่ารำ ระยำชุดใหม่ ได้แก่ ระบำพม่า ไทยอธิฐาน ปัจจุบันได้มีการนำนาฎศิลป์นานาชาติ มาประยุคต์ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารำ รูปแบบของการ แสดง มีการนำเทคนิคแสง สี เสียง เข้ามาเป็นองค์ ประกอบในการแสดงชุดต่างๆ ปรับปรุงลีล่าท่ารำให้ เหมาะสมกับฉาก บนเวทีการแสดงมีการติดตั้ง อุปกรณ์ที่ทันสมัย ทั้งระบบม่าน ฉาก แสง ควบคุม ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ มีระบบเสียงที่สมบูรณ์ มี เครื่องฉายภาพยนตร์ประกอบการแสดง และเผย แพร่ศิลปกรรมทุกสาขานาฏศิลป์ และสร้างนัก วิชาการและนักวิจัยในระบบสูง โดยมีการเปิดสอน นาฏศิลป์ไทยในระดับปริญญาเอกอีกหลายแห่ง
วิวัฒนาการละคร ตะวันตก การละครยุคกรีก ละครกรีกสันนิษฐานว่า ถือกำเนิดขึ้นประมาณ 800 - 700 ปีก่อนคริสตกาล โดยเริ่มจากการประกวดร้องรำทำเพลงเป็นหมู่ (Choral dance) ซึ่งเรียกว่า ดิธีแรมบ์ (ditigromb) ในเทศกาลที่จัดขึ้นเพื่อบวงสรวง เทพเจ้าไดโอนีซุส (Dionysus) เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่นและความอุดมสมบูรณ์ ประเภทของละครกรีกที่หลงเหลือมาถึงยุคปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ 1.ละครแทรเจดีละครโศกนาฎกรรม แสดงให้เห็นชีวิตตัวละครตัวเอก ที่มีความน่า ยกย่องสรรเสริญ แต่ต้องดิ้นรนต่อสู้กับอำนาจ ของชะตากรรมซึ่งเทพเจ้าเป็นผู้ลิจิต แม้ว่าใน ที่สุดจะต้องพ่ายแพ้และประสบหายนะ แต่เป็น ความพ่ายแพ้ที่ดิ้นรนต่อสู้ถึงที่สุดแล้ว 2.ละครคอมเมดีละครสุขนาฎกรรม ละครคอมเมดีเป็นละครที่ให้ความ รู้สึกตลกขบขัน เพราะความ บกพร่องของมนุษย์ เป็นเรื่องราวที่ เกิดขึ้นในสมัยนั้น ซึ่งเกี่ยวกับ การเมืองสงครามและสันติภาพ ทัศนะเกี่ยวกับศิลปะในแง่ต่างๆ การ โจมตีหรือเสียดสีตัวบุคคล
วิวัฒนาการละคร ตะวันตก การละครยุคโรมัน 1.ละครคอมเมดี ได้รับอิทธิพลจากคอมเมดีกรีก 2.ละครแทรเจดี ได้รับอิทธิพลจากตำนานกรีก ได้มีนักเขียนบทละครชาวโรมัน ชื่อ เซเนกา ได้เขียนบทละครที่มีอิทธิผลต่อนักเขียนบทละครยุคต่อมา คือ ยุดฟื้ นฟูศิลปวิทยา 3.ละครแพบูลาอาเทลลานา เป็นละครตลกสั้นๆ ใช้ตัวละครที่ไม่ลึกซึ้งและมีลักษณะซ้ำกันทุกเรื่อง ใช้เรื่องราวชีวิตในขนบทของชาวบ้านสามัญ ละครชนิดนี้ได้รับความนิยมสูงสุด 4.แพนโทมายม์ เป็นการร่ายรำที่มีความหมายโดยใช้นักแสดงคนเดียว ซึ่งเปลี่ยนบทบาทโดย การ \"เปลี่ยนหน้ากาก\" มีพวกคอรัสเป็นผู้บรรยายเรื่องราว มักเป็นเรื่องราว ที่เคร่งเครียดและได้จากตำนานปรัมปรา มีเครื่องดนตรีประกอบหลายชั้น เช่น ขลุ่ยและเครื่องดี
วิวัฒนาการละคร ตะวันตก การละครยุคกลาง การละครในโรมันถึงยุคเสื่อม เป็นเวลากว่า 300 ปี จนกระทั่งประมาณ พ.ศ.1400 คริสตจักรทำให้ ละครกลับมาฟื้ นตัวอีกครั้งหนึ่ง ด้วยการเริ่มจัดการแสดงเป็นฉากสั้นๆ ประกอบเรื่องราว จากพระดัมภีรีไบเบิล การแสดงจะจัดขึ้นในโบสถ์ เรื่องราวที่แสดงเกี่ยวกับพระเยซู และเรื่องราวในดัมภีร์ไบเบิล เช่น วันคริสต์มาส เป็นต้น การแสดงจะแสดงทั้งบนเวทีที่อยู่กับที่และเวทีที่เคลื่อนที่ได้ เวทีที่อยู่กับที่ มีหลายลักษณะ ทั้งเวทีสี่หลี่ยมจัตุรัสดูได้สามด้าน เวที่ดรึ่งวงกลม และเวทีวงกลมที่ดูได้รอบทิศ ส่วนเวทีเคลื่อนที่ มักจะเป็นฉากที่มีล้อเคลื่อนไปได้ เน้นกลไกการจัดฉาก ประเภทของละครในยุคกลาง 1.ละครศาสนา เป็นละครที่แสดงในวัด เพื่อประกอบพิธีทำง 2.ละครฆราวาส ศาสนา เมื่อละครมาแสดงนอกวัด ก็ยังคงใช้เรื่องราวในพระคัมภีร์ไบเบิล เรียก ว่ามิสตรี เพลย์(Mystery Play) นอกจากนั้น ยังมีละครมิระเคิล เพลย์ (Miracle Play )ที่แสดงเรื่องราวชีวิตของ นักบุญและผู้พลัชีพเพื่อศาสนา และละคร มอแรลลิตี เพลย์ (Morality play) ที่แสดง เรื่องราวของคนธรรมดาสามัญที่ต้องต่อสู้กับ ทางเลือกระหว่างความดีและความชั่ว (1) ละครพื้นมือง แสดงเรื่องราวการผจญภัยของ วีรบุรุษที่มีชื่อเสียง เช่น โรบินฮูด เป็นต้น ความ สนุกสนานอยู่ที่การต่อสู้ การแสดงฟันดาบ ระบำสวยๆ การเช่นฆ่ากัน ฯลฯ ละครพื้นมืองใช้นักแสดงสมัครเล่น แสดงในเทศกาลใหญ่ๆ (2) ละครฟาร์ส (Farce) เป็นละครตลกที่ไม่เกี่ยวกับ ศาสนาและไม่ได้มุ่งผลทางการสั่งสอนศีลธรรม แสดง ให้เห็นสันดานดิบของมนุษย์ ที่มีความเห็นแก่ได้ โดย แสดงออกในลักษณะที่ข่บขัน เป็นการเล่ห์เหลี่ยมไหว พริปให้ข้ากับประโยชน์ของตน (3) ละครอินเทอร์ลูด (Interlude) ละครที่แสดงคั่น ระหว่างงานเลี้ยงฉลอง มีทั้งเรื่องน่าเศร้า และเรื่องตลก แต่ไม่เกี่ยวกับศาสนาและการสอนศีลธรรม
วิวัฒนาการละคร ตะวันตก ละครฟื้ นฟูศิ ลปวิทยาในประเทศอิตาลี ยุคเรอเนซองส์(Renaissance) ตรงกับสมัยอยุธยาของไทยเรา เป็นยุคที่มี ผลกระทบโดยตรงต่อลักษณะ การสร้างโรงละคร การวางรูปเวที การจัดวางฉาก การประพันธ์บท และการจัดการแสดงละคร บทละคร ยุคนี้ มีทั้งละคร คอมเมดี (Comedy) ละครแทรเจดี(Trogedy) ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก ละครโรมัน รูปแบบ ละครในยุคเรอเนเซองส์นี้ ส่วนใหญ่จัดการแสดงเพียงฉากเดียว แต่เป็นฉากที่ ใหญ่โตมโหฬาร วิจิตร พิสดาร การแต่งกายหรูหรา มีขบานแห่ที่ยิ่งใหญ่ และมีเหตุการณ์มหัศจรรย์ เกิดขึ้น ด้วยเหตุนี้จึงเกิดรูป แบบการแสดงที่สนองความต้องการด้านนี้ 2 ประการ์ คือ การแสดง สลับฉากที่รียกว่า อินเต้อร์เมทชี (Intermezzi) และ โอเปรา (Opera) 1.อินเตอร์เมทซี 2.โอเปรา เป็นการแสดงสลับฉาก มักเป็นเรื่องราว คือ การรวมเอาดนตรี การขับร้อง และ จากตำนานกรีกและโรมัน ซึ่งมี ระบำ เข้ามาไว้ในเรื่องราวที่ผูกขึ้นเป็น ปรากฎการณ์ที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษเข้า ละคร โอเปรานั้นนิยมใช้การจัดฉาก ช่วย เช่น เฮอร์คิวลิสเดินทางไปในนรก หรูหรา เหตุการณ์มหัศจรรย์ ที่ต้องใช้ หรือ เปอร์ซิอุสขี่ม้าเหาะไปต่อสู้กับ เทคนิคพิเศษ อยู่ด้วย รูปแบบใหม่นี้ ปีศาจทะเล เป็นต้น มีการใช้ดนตรีและ เป็นที่นิยมทั่วอิตาลี และแพร่สะพัดไป ระบำเป็นส่วนประกอบสำคัญ การแสดง ทั่วยุโรปอย่างรวดเร็ว สลับฉากนี้อาจอยู่เป็นเอกเทศ ไม่เกี่ยว กับละครที่แสดงอยู่ก็ได้
วิวัฒนาการละคร ตะวันตก ละครสมัยใหม่ ในภาวะการณ์ทางการมืองและเศรษฐกิจ ซึ่งกำลังอยู่ในภาวะยุ่งเหยิงจากการปฏิวัติ อุตสาหกรรมของประเทศทางยุโรปในขณะนั้น มีผลต่อเนื่องมาถึง่ความแออัดของผู้คนใน เมือง จากการที่กรรมกในชนบทอพยพข้ามาอยู่กันหนาแน่นตามเมืองใหญ่ ความอดอยากและอัตราของอาชญากรรมพุ่งสูงขึ้น 1.ละครแนวสั จจนิยม 2.ละครแนวต่อต้านสั จจนิยม ให้ความสำคัญมากแก่คนธรรมดาสามัญยิ่ง กว่ายุคที่ผ่าน ละครสั ญญลักษณนิยม มา ก่อนหน้านั้นตัวละครที่เป็น สามัญชนจะเข้ามามี เป็นละครที่ ใช้ วัตถุหรือการกระทำที่ เป็น บทบาทก็เพียงตัวประกอบ ตัวคนใช้ ปราศจากความ สัญลักษณ์ ซึ่ งจะกระตุ้นและโยงความรู้สึก สำคัญ ส่วนตัวเอกจะ เป็นคนฐานะร่ำรวย สมบูรณ์พร้อม นึกคิดของคนดูเข้ากับญาณพิเศษที่ นัก ด้วย ฐานันดรศั กดิ์ทุกประการ แต่ละครสมัยใหม่ เขียนรู้สึ กเกี่ ยวกับความเป็นจริง เปลี่ยนแปลงรูปโฉมดังกล่าวเสียลิ้น ละครสมัย ใหม่ไม่ จำกัดวิถีชีวิตของสามัญเอาไว้ ทูว่า จะ นำมาสู่สาระของ ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ เรื่ องราวให้มากขึ้ น ละครเพื่อสั งคม เป็นละครที่ กระตุ้นความสำนึกทาง ศิ ลปะช่วงประมาณปี พ.ศ.2400 ที่มุ่ง แสดงความรู้สึก สังคม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงแก้ไข สังคมให้ดีขึ้น โดยไม่คำนึงถึงความ มากกว่าแสดงให้เหมือน จริง เป็นละครที่เสนอความเป็น เป็นกลางแบบธรรมชาติ หรือการบันทึก ความเป็นจริงแบบตรงไปตรงมา จริงตาม ความคิดของตัวละคร ซึ่ งอาจไม่ตรงกับ ความ เป็นจริงที่ ปรากฎแก่สายตาคนทั่ วไป
การชม วิจารณ์ และ ประเมินคุณภาพการแสดง หลักการในการวิจารณ์ 1. ควรศึกษาเกี่ยวกับท่ารำ 4. เข้าใจเกี่ยวกับการแต่งกาย \"ท่ารำ\" ของนาฎศิลป์ไทยจัด และแต่งหน้าของผู้แสดง ได้ว่าเป็น \"ภาษา\" ชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้สื่อความหมายให้ผู้ชม 5. เข้าใจถึงการออกแบบฉาก และการใช้แสงและเสียง ผู้ชม 2. เข้าใจเกี่ยวกับภาษาหรือ คำร้องของเพลงต่างๆ การ ที่ดี ต้องมีความเข้าใจเรื่อง แสดงนาฏศิลป์จะต้องใช้ดนตรี ฉาก สถานที่ และสถานการณ์ และเพลงเข้าประกอบ ต่างๆของการแสดง 3. ผู้ชมจะต้องฟังเพลงให้เข้าใจ 6. เข้าใจเกี่ยวกับบทบาทและ ทั้งลีลา ทำนอง สำเนียงของเพลง ฐานะของตัวแสดง จังหวะอารมณ์ จึงจะชมนาฎศิลป์ ได้เข้าใจใจและได้รสของการแสดง 7. เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวของ การแสดง อย่างสมบูรณ์
การชม วิจารณ์ และ ประเมินคุณภาพการแสดง การวิจารณ์ผลงานนาฎศิลป์ 1.การบรรยาย 2. การวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ผู้วิจารณ์ต้องสามารถพูดหรือเขียน -รูปแบบของนาฏศิลปีไทย เช่น ในสิ่งที่รับรู้ด้วยการฟัง ดูรู้สึก รวม ระบำ รำ ร้องและโขน ทั้งการรับรู้คุณสมบัติต่างๆ ของการ เป็นต้น แสดง - ความเป็นเอกภาพของ นาฏศิลป์ไทย โดยผู้แสดง 3. การตีความและการประเมินผล รู้สึก รวมทั้งการรับรู้คุณสมบัติ - การตีความ : ผู้วิจารณ์ต้อง กล่าวถึงผลงานนาฎศิลป์ ต้องมีความเป็นอันหนึ่งอัน โดยรวมว่าผู้เสนอผลงาน เดียวกัน พยายามจะสื่อความหมายหรือ - ความงดงามของการร่ายรำ เสนอแนะเรื่องใด และองค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ ความถูกต้องของ - การประมิผล : เป็นการตีค่า แบบแผน ของการแสดงโดยต้อง ครอบคลุมประเด็น ดังนี้ แสดง ได้ถูกต้องตามแบบแผน
การชม วิจารณ์ และ ประเมินคุณภาพการแสดง คุณสมบัติของผู้วิจารณ์ศิลป์ที่ดี 1. มีความรักเกี่ยวกับการวิจารณ์งานศิลปะ 2. วิจารณ์เพื่อการพัฒนาให้แก่ผู้สร้างสรรค์งานศิลปะ 3. เป็นคนที่รักความก้าวหน้า ใฝ่หาความรู้ตลอดเวลา 4. มีจิตใจชื่นชมในศิลปะและสุนทรียศาสตร์อย่างแท้จริง ประโยชน์ของการวิจารณ์ผลงานศิลปะ 1. ทำให้ทราบถึงความเคลื่อนไหวของวงการศิลปะ และ สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน 2. ทำให้เกิดปัญญาที่สามาร ถรู้หรือให้เหตุผลที่ถูกต้อง 3. มีความละเอียดประณีตอยู่ในส่วนลึกของจิตใจ 4. มีเหตุผล มีความเที่ยงธรรม 5.ทำให้เป็นผู้แสวงหาความรู้อยู่เสมอ
ขอขอบคุณที่รับชม
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: