โครงสร้างตา 9. Retina เป็ นส่วนของเซลรับแสง ประกอบดว้ ยเซลล์ ไวแสง 2 ชนิด คอื Cones กบั Rods
Retina เป็นสว่ นของเซลรบั แสง ประกอบดว้ ยเซลไวแสง 2 ชนิดคือ Cones กบั Rods
Cones เซลรบั แสงท่มี ีลกั ษณะ เป็นแท่งทู่ ๆ รวมกนั อยูอ่ ย่างหนาแน่น มจี านวน 6-7 ลา้ นอนั แบ่งเป็น 3 กลมุ่ มีความไวต่อแสงสตี ่างกนั คอื ไวต่อแสง สแี ดง, เขียว และน้าเงนิ
การมองเหน็ สตี ่างๆ ข้ึนอยูก่ บั การทางานของ Cones ถา้ Cones ทง้ั 3 กลมุ่ ทางานพรอ้ มกนั เท่าๆ กนั จะมองเหน็ เป็ น แสงสขี าวหรอื ไม่มีสี
ถา้ Cones ตวั ใดตวั หน่ึง เสยี ไปจะทาใหเ้ กดิ ตาบอดสี
Rods เป็นเซลรบั แสงท่ีมลี กั ษณะ เป็นแท่งยาวๆ ไวแสงมาก กระจายอยู่ บรเิ วณรอบนอก Fovea มี จานวนประมาณ 100 ลา้ นอนั
rods จานวนหลายพนั ตวั ถกู ต่ออยู่ กบั เสน้ ประสาท 1 เสน้ จงึ ทาใหค้ วาม คมชดั ของการมองเหน็ ตา่ มาก จะไม่ ปรากฏสตี ่างๆ ในระบบของ rods จะเหน็ เป็นเพยี งขาว-ดาเท่าน้นั
rods จะทางานเม่ือ ไดร้ บั แสงสวา่ งนอ้ ยๆ คอื ระหว่าง 10-6- 1 fl.
การกระจายตวั ของเซลรับแสง บนเรตนิ าแสดงดังรูป
จากการทางานของ Cones และ Rods กพ็ อจะ แบง่ ระดบั การมองเหน็ ออกเป็ น 3 ระดบั คอื 1. Scotopic Vision 2. Mesopic Vision 3. Photopic Vision ระดับการมองเหน็ ทงั้ 3 ระดับ มรี ายละเอยี ดดังนี้
ระดบั การมองเหน็ ระดบั ท่ี 1 มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1. Scotopic Vision เป็ นชว่ งที่ Rods ทางานเพยี งอยา่ ง เดยี วจะมองเหน็ วตั ถุต่างๆเป็ นสี ขาว-ดาเทา่ นั้น แสงทไ่ี ด้รับมคี ่าระหวา่ ง 10-6 – 10-2 fl.
ระดับการมองเหน็ ระดบั ท่ี 2 มรี ายละเอยี ดดังนี้ 2. Mesopic Vision เป็ นชว่ งท่ี Rods และ Cones ทางานร่วมกัน ทาใหม้ องเหน็ วตั ถุเป็ น สีปนขาว-ดา แตไ่ ม่สามารถระบุให้แน่ชัดได้ว่าเป็ นสีใด เป็ นภาวะแสงสลัวทม่ี คี วามสว่างประมาณ - 1 fl.
ระดบั การมองเหน็ ระดับ ที่ 3 มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 3. Photopic Vision เป็ นชว่ งท่ี Cones ทางานเพยี งอยา่ ง เดยี วจะมองเหน็ วัตถุ ตา่ งๆ เป็ นสถี กู ตอ้ ง และบอกรายละเอยี ดของวัตถุ ไดช้ ัดเจน เมอ่ื ได้รับแสงสวา่ งตงั้ แต่ 1 fl. ขนึ้ ไป
การมองเหน็ ทงั้ 3 ระดับเมอื่ ทาการทดสอบกับ ตาคนปกตโิ ดยการ วดั จุดเร่มิ ตอบสนอง ตอ่ สงิ่ เร้าทคี่ วามยาว คล่ืนตา่ งๆ ในยา่ น Scotopic และ Photopic
พบวา่ ตาคนเรามคี วามไวตอ่ แสงสีทค่ี วามยาวคล่ืน 510 nM.(ในย่าน Scotopic) และ 555 nM. (ในย่าน Photopic) มากทสี่ ุด ซง่ึ เป็ นประโยชนใ์ นการ เลือกใช้แหล่งกาเนิดแสง ทใี่ หแ้ สงสเี หมาะสมกับการนาไปใช้งาน
สรุปการมองเหน็ ความสว่างและสขี องวตั ถุ 1. นยั นต์ าประกอบดว้ ยกระจกตา เลนสต์ า มา่ นตา กลา้ มเนือ้ ยดึ เลนสต์ า เรตนิ า และเซลลป์ ระสาทตา ซง่ึ แตล่ ะสว่ นจะทางาน ประสานกนั เพ่ือใหเ้ รา เหน็ ภาพไดช้ ดั เจน
สรุปการมองเหน็ ความสว่างและสขี องวัตถุ 2. เรตนิ าประกอบดว้ ยเซลลร์ ูปแทง่ ทาหนา้ ท่ใี หค้ วามรูส้ กึ เก่ียวกบั ความ มืดความสวา่ ง และเซลลร์ ูปกรวยซง่ึ เป็นเซลลท์ ่มี คี วามไวตอ่ แสงสี ปฐมภมู ิ คือ แสงสีเขียว แสงสแี ดง และแสงสนี า้ เงิน
สรุปการมองเหน็ ความสว่างและสีของวตั ถุ 3. กลา้ มเนือ้ ยดึ เลนสต์ าทาหนา้ ท่ปี รบั ความยาวโฟกสั ทาใหเ้ รามองเหน็ ภาพชดั ทงั้ ใน ระยะใกล้ และไกล
สรุปการมองเหน็ ความสว่างและสขี องวตั ถุ 4. ความสวา่ งมผี ลตอ่ นยั นต์ ามนษุ ยจ์ งึ มีการนาความรู้ เก่ียวกบั ความสวา่ งมาชว่ ยในการจดั ความสว่างให้ เหมาะสมกบั กิจกรรมต่าง ๆ
สรุปการมองเหน็ ความสว่างและสีของวัตถุ 5. แสงสปี ฐมภมู ปิ ระกอบดว้ ยแสงสแี ดง แสงสีเขียว และ แสงสีนา้ เงิน เม่อื นามา ผสมกนั จะไดแ้ สงสีใหม่
สรุปการมองเหน็ ความสว่างและสีของวตั ถุ 6. เรามองเหน็ สีของวตั ถไุ ดเ้ พราะตวั สที ่ีอย่ใู นวตั ถทุ าหนา้ ท่ี ดดู กลนื แสงสที ่ีสอ่ งไปยงั วตั ถนุ นั้ แลว้ สะทอ้ นแสงสีท่ไี มไ่ ดด้ ดู กลนื เขา้ สตู่ า
มองเหน็ สีของวตั ถุ
ความชัดเจนแม่นยาของการมองเหน็ (Visual Acuity) ขนึ้ อยกู่ บั องคป์ ระกอบหลกั 4 ตวั คือ 1. ขนาดของวัตถุ (Size) 2. ความสว่าง (Luminance) 3. ความแตกตา่ งของสีวตั ถุ กบั พนื้ ผิวโดยรอบ(Contrast) 4. เวลา (Time)
องคป์ ระกอบทที่ าใหเ้ กดิ ความชดั เจนแม่นยาของการ มองเหน็ (Visual Acuity)องคป์ ระกอบ แรก 1. ขนาดของวัตถุ (Size) เป็นขนาดท่ีตก กระทบบนเรตินา ซง่ึ วดั อยใู่ นรูปของมมุ แห่งการ มอง (Visual angle) ท่ีถกู กาหนดดว้ ยระยะทาง กบั ขนาดทางกายภาพของวตั ถุ และพบว่า คนเราจะมองเห็นภาพชดั เจนท่ีสดุ ท่มี มุ ประมาณ 1.4 - 2 องศา
องคป์ ระกอบทที่ าใหเ้ กดิ ความชัดเจนแมน่ ยาของการ มองเหน็ (Visual Acuity)องคป์ ระกอบ ท่ี 2 2. ความสว่าง (Luminance) ขนึ้ อย่กู บั ปรมิ าณแสง ท่ีตกกระทบพืน้ ผิวใดๆ แลว้ สะทอ้ นเขา้ สตู่ าเราใน ปรมิ าณท่ีเหมาะสม
องคป์ ระกอบทท่ี าใหเ้ กิดความชดั เจนแม่นยาของการ มองเหน็ (Visual Acuity)องคป์ ระกอบ ที่ 3 3. ความแตกตา่ งของสีวัตถุกับพนื้ ผิวโดยรอบ (Contrast) เป็นความแตกตา่ งระหวา่ งวตั ถกุ บั ฉากหลงั
องคป์ ระกอบทที่ าใหเ้ กดิ ความชดั เจนแม่นยาของการ มองเหน็ (Visual Acuity)องคป์ ระกอบ ที่ 3 3. ความแตกต่างของสวี ัตถุกับพนื้ ผวิ โดยรอบ (Contrast) เกิดขนึ้ โดยการสะทอ้ นแสงจากพืน้ ผิว วตั ถนุ นั้ ๆ เขา้ ตาเรา โดย พืน้ ผิวเหลา่ นนั้ อาจมสี ี หรอื ความสวา่ งแตกตา่ งกนั
องคป์ ระกอบทที่ าใหเ้ กิดความชัดเจนแมน่ ยาของการ มองเหน็ (Visual Acuity)องคป์ ระกอบที่ 3 3. ความแตกตา่ งของสีวัตถุกับพนื้ ผิวโดยรอบ (Contrast) ถา้ ความแตกตา่ งย่ิงมากก็จะย่ิงมองเห็น วตั ถชุ ดั เจนขนึ้
องคป์ ระกอบทที่ าใหเ้ กดิ ความชดั เจนแม่นยาของการ มองเหน็ (Visual Acuity)องคป์ ระกอบ ที่ 4 4. เวลา (Time) เวลาท่ีใชม้ องตอ้ งมากพอท่ีจะระบุ รายละเอียดของวตั ถนุ นั้ ๆ ได้
ความผิดปกติ ทเ่ี กดิ กบั นัยนต์ า 1. สายตาสัน้ 2. สายตายาว 3. สายตาเอยี ง 4. ตาเหล่ 5. ตาบอดสี
ความผดิ ปกตทิ เี่ กดิ กับนัยนต์ าแบบสายตาสั้น สายตาสนั้ จะมองเหน็ ส่ิงตา่ งๆ ท่รี ะยะใกล้ กวา่ 25 CM เน่ืองจากกระบอกตายาว ภาพจงึ ตกกอ่ นถงึ เรตินา
วธิ ีการแกไ้ ข สวมแว่นตาทาด้วยเลนสเ์ ว้า เพอื่ ถว่ งแสงใหไ้ ปตกถงึ เรตนิ า
ความผิดปกตทิ เี่ กดิ กบั นัยนต์ าแบบสายตายาว สายตายาวเกิดจากกระบอกตาสนั้ เกินไป ภาพตก เลยเรตินา จะมองเห็น ส่งิ ตา่ งๆ ชดั ท่รี ะยะไกล สว่ นระยะใกลม้ องเหน็ ไมช่ ดั
วธิ ีการแก้ไข สวมแว่นตาทาดว้ ยเลนสน์ ูน เพอ่ื ช่วยรวมแสงใหต้ กใกล้เข้ามา
ความผิดปกตทิ เ่ี กดิ กบั นัยนต์ าแบบสายตาเอยี ง สายตาเอียงเกิดจากผิวหนา้ ของเลนสต์ ามี ความโคง้ ไมส่ ม่าเสมอ ทาใหเ้ ห็นภาพแนวด่งิ ไม่ตรง หรอื แนวราบ เอียงไปจากปกติ
วธิ ีการแก้ไข สวมแว่นตาทาดว้ ยเลนสน์ ูนกาบกล้วย
ความผดิ ปกตทิ เี่ กดิ กบั นัยนต์ าแบบตาเหล่ เกดิ จากความผดิ ปกตขิ องกล้ามเนือ้ ตา
วธิ ีการแกไ้ ข ถ้าเป็ นน้อยๆ ฝึ กการบริหารกล้ามเนือ้ ตา ถา้ เป็ นมากจะต้องผา่ ตัด
ความผิดปกตทิ เี่ กดิ กบั นัยนต์ าแบบตาบอดสี ตาบอดสีเกิดจากเซลลป์ ระสาทบนเรตินา เก่ียวกบั การมองเห็นสผี ิดปกติ
ความผิดปกตทิ เ่ี กดิ กบั นัยนต์ าแบบตาบอดสี สว่ นใหญ่ผชู้ ายจะตาบอดสีเน่ืองจากกรรมพนั ธไุ์ ม่ สามารถแกไ้ ขไดแ้ ละจะถ่ายทอดไปสลู่ กู หลานต่อๆ ไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143