Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit 2 Biodiversity

unit 2 Biodiversity

Published by Oranut, 2018-05-04 08:46:46

Description: หน่วยที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพ.

Keywords: การจัด,ความ,หลากหลาย

Search

Read the Text Version

➢มหายุคซโี นโซอกิ (Cenozoic)

พจิ ารณาถงึ ความสัมพนั ธ์ทางววิ ฒั นาการของส่งิ มีชีวติ

คาโรลัส ลนิ เนียส (Carolus Linnaeus) บดิ าของวชิ าอนุกรมวิธาน (taxonomy)จาแนกหมวดหมู่พชื ดอกโดยใช้จานวนเกสรตวั ผู้เป็ นเกณฑ์ในการจดั

การจัดจาแนกส่งิ มีชีวติ อนุกรมวิธาน (taxonomy) ซ่งึ เป็ นวชิ าท่ศี ึกษา เก่ียวกับการจาแนกประเภทของส่งิ มีชีวิต ให้เป็ นหมวดหมู่ (classification) การตรวจสอบส่ิงมชี ีวิต(identification) และการกาหนดช่ือตามหลักเกณฑ์สากล(nomenclature) ให้กับหมวดหมู่และชนิดของส่งิ มีชีวติ นัน้ ๆ

ความรู้อนุกรมวธิ าน ประกอบด้วย๑. การระบชุ นิดหรือการวเิ คราะห์ชนิดของส่งิ มีชีวติ Identification๒. การจดั หมวดหมู่ของส่งิ มีชีวติ Classification๓. การตงั้ ช่ือและการ บญั ญัตชิ ่ือ Nomenclature

แบบแผนการเจริญเตบิ โตของส่งิ มชี วี ิตท่ีมำ http://www.schoolhousevideo.org/Media/embryology.jpg

โครงสร้างมีต้นกาเนิดเดยี วกันทางานแตกต่างกนัท่มี า http://taggart.glg.msu.edu/isb200/HOMOL.GIF

ความสัมพนั ธ์ทาง วิวัฒนาการ ท่มี าhttp://www.geocities.com/anek04/evolution/animal.html

ลาดับการจาแนกส่ิงมีชีวิต➢ Kingdom อาณาจกั ร➢ Phylum or Division➢ Class คลาส➢ Order อนั ดบั➢ Family วงศ์➢ Genus สกลุ➢ species





ช่ือวทิ ยาศาสตร์ต้องประกอบด้วยช่อื 2 ช่ือ ช่ือแรกเป็ น \"จีนัส : generic name\" พมิ พ์ใหญ่ช่ือท่ี 2 เป็ น \"สปี ชีส์ : specific epithet พมิ พ์เล็ก

ช่ือวทิ ยาศาสตร์ (scientific name)การเขียนช่ือวทิ ยาศาสตร์ต้องให้มีลักษณะแตกต่างจากอักษรอน่ื เช่น เขียนเป็ นตัวเอยี ง ตัวหนา หรือขีดเส้นใต้ช่ือทง้ั สอง โดยทเ่ี ส้นทขี่ ีดเส้นใต้ช่ือทั้งสองไม่ตดิ ต่อกัน

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร หรือ นกนางแอ่นตาพอง ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Pseudochelidonsirintarae หรือ Eurochelidon sirintarae ชื่อภำษำองั กฤษ: White-eyed River-Martin

ช่ือวทิ ยาศาสตร์





การจาแนกอาณาจักรส่งิ มชี ีวิต ออกเป็ น 5 อาณาจักรดังนี้ อาณาจกั รสัตว์ (Kingdom Animalia) อาณาจกั รโพรทสิ ตา (Kingdom Protista) อาณาจกั รมอเนอรา (Kingdom Monera) อาณาจกั รเหด็ รา (Kingdom Fungi)อาณาจักรพชื (Kingdom Plantae)



ส่งิ มชี ีวติ กลุ่มแรกท่มี คี ุณสมบตั ติ ามทฤษฎีเซลล์Cell theory ของเทโอดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwann) กบัมาเทยี ส ชไลเดน (Matthias Schleiden) ที่ปรำกฏบนโลกใบนีอ้ ำจจะเป็นสิ่งมีชีวติ เลก็ ๆ ในกลมุ่ ของแบคทเี รีย ซง่ึ ทงิ ้ ร่องรอยไว้ในรูปของฟอสซลิ ที่มีอายุราว 3,800 ล้านปี

อาณาจกั รโมเนอรา➢ เป็ นอาณาจักรต่าสุด เซลล์แบบโพรคารีโอตไม่มีนิวเคลียส ไม่มีไมโทคอนเดรียไม่มีเอน็ โดพลาสมกิ เรตคิ วิ ลัมไม่มีกอลจบิ อดีแบ่งออกเป็ น 2 ดวิ ิชัน คือ- ชโิ ซไฟตา - และไซยาโนไฟตา

อาณาจักรโมเนอรา◼ดวิ ิชันชโิ ซไฟตา ได้แก่ แบคทีเรีย ซ่งึ มีหลายชนิด แบ่งตาม รูปร่างอยู่ 3 แบบคือ กลม แท่ง และเกลียว

อาณาจกั รย่อยอาร์เคยี แบคทเี รีย(Subkingdom Archaebacteria) อาร์เคียแบคทเี รีย เป็ นแบคทเี รียท่ผี นังเซลล์ไม่มีสารเพปทโิ ดไกลแคน สามารถดารงชวี ิตในสภาพแวดล้อมท่สี ่ิงมชี ีวิตกลุ่มอ่นื อาจไม่สามารถดารงชีวติ อยู่ได้ เช่น ในแหล่งนา้ พรุ ้อนทะเลท่มี นี าเคม็ จัด ในบริเวณท่มี คี วามเป็ นกรดสูงและบริเวณทะเลลกึ เป็ นต้น

กลุ่มยรู ิอาร์เคยี โอตา(Euryarchaeota) สร้ างมีเทนและ ชอบความเคม็ จดั

กล่ ุมครีนาร์ เคียโอตา(Crenarchaeota)ชอบอุณหภมู ิสูง เช่น ในบ่อนา้ พุร้อน และกรดจัด

กลุ่มโพรทโี อแบคทเี รีย (Proteobacteria) เช่น Rhizobium sp. ในปมรากพชื ตระกูลถ่วั

กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias) เป็นยแู บคทีเรียแกรมลบทเ่ี ป็นปรสิตในเซลล์สตั ว์ และทำให้เกิดโรคตดิ ตอ่ ทำงเพศสมั พนั ธ์ เชน่ โรคโกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น

กลุ่มสไปโรคที (Spirochetes) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบทมี่ รี ูปทรงเกลียว มีควำมยำวประมำณ 0.25 มิลลเิ มตร ยแู บคทเี รียในกลมุ่ นีม้ ที งั้ดำรงชีวติ แบบอสิ ระและบำงสปีชีส์เป็นสำเหตขุ องโรคซฟิ ิลสิ โรคฉี่หนู เป็นต้น

แบคทเี รียแกรมบวก(Gram Positive Bacteria)เป็นยแู บคทีเรียท่ีพบแพร่กระจำยทวั่ ไปในดนิ อำกำศ บำงสปีชีส์สำมำรถผลติ กรดแลคติกได้ เช่น Lactobacillus sp. จงึนำมำใช้ในอตุ สำหกรรมอำหำรหลำยชนิด เชน่ กำรทำเนย ผกั ดอง และโยเกิร์ต เป็นต้น

Steptomyces sp. ใช้ทำยำปฏชิ ีวนะ เชน่ยำสเตร็บโตมยั ซิน ยำเตตรำไซคริน เป็นต้น

ยแู บคทีเรียแกรมบวกอีกพวกหนึ่ง เป็นกลมุ่ ที่ไมม่ ีผนงัเซลล์ มีเพยี งเยอ่ื ห้มุ เซลล์ที่ประกอบด้วยชนั้ ไขมนัได้แก่ ไมโครพลาสมา (mycoplasma)เป็นเซลล์ท่ีมีขนำดเลก็ สดุ ประมำณ0.2-0.3 ไมโครเมตร สำมำรถเจริญและสืบพนั ธ์ุได้นอกเซลล์โฮสต์สว่ นใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอนั ตรำยตอ่สง่ิ มีชีวิตอ่ืน แตม่ ีบำงสปีชีส์ท่ีเป็นสำเหตใุ ห้เกิดโรคปอดบวมในคนและววั

อาณาจกั รโมเนอรา◼ดวิ ชิ ันไซยาโนไฟตาเป็นผ้ผู ลิตที่สำคญั ในระบบนิเวศและ บำงชนิดสำมำรถตรึงแก๊สไนโตรเจนในอำกำศให้เป็นสำรประกอบ ไนเตรต เช่น แอนำบนี ำ(Anabena) นอสตอก(Nostoc) และออสซลิ ลำทอเรีย(Oscillatoria)

สาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงนิสาหร่ายแอนนาบนี า

สาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงนิสาหร่ายนอสตอก Nostoc

สาหร่ายออสซลิ าทอเรียอย่เู ป็ นสาย สาหร่ ายออสซิลาทอเรีย Oscillatoria

➢ สาหร่ายสีนา้ เงนิ แกมเขียว ซ่งึ มีสารสีไฟโคไซยานินเป็ น องค์ประกอบหลัก บางชนิดมีเมือกห้มุ บางชนิดมีปลอกหุ้ม มี บทบาทสูงมากต่อระบบนิเวศของโลกประโยชน์ของแบคทีเรีย 1.เน่ืองจากดารงชีวติแบบภาวะย่อยสลาย จงึ ทาให้เกดิ การหมุนเวียนสารในระบบนิเวศมีการนามาใช้กาจัดขยะท่มี ีมากในเมืองใหญ่ 2. ใช้สลายคราบนา้ มันบริเวณชายฝ่ังและในทะเล

➢ประโยชน์ของแบคทีเรีย (ต่อ) 3. ใช้กาจัดสารเคมีตกค้างจากการเกษตร 4. แบคทเี รียท่สี ามารถตรึงไนโตรเจน ช่วยเพ่มิ ไนโตรเจนในดนิ

➢ประโยชน์ของแบคทเี รีย (ต่อ) 5. ใช้ผลิตสารเคมีเช่น แอซีโตน กรดแลกตกิ 6. ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะและผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น นา้ ส้มสายชู ปลาร้า ผักดอง ปลาส้ม นมเปรีย้ ว และเนยแข็ง

โทษของแบคทเี รีย เป็ นสาเหตุทาให้เกดิ โรค หลายชนิด เช่น โรคปอดบวม วณั โรค อหวิ าตกโรค โรคฉ่ีหนู และโรคแอนแทรกซ์ (ซ้าย) ปอดอกั เสบ



เป็ นEukaryotic cell เซลล์ มีเย่อื ห้มุ นิวเคลียส• มีทงั้ แบบเซลล์เดียวขนาดเล็ก มองด้วยตาเปล่าไม่เหน็เช่น อะมีบา พารามีเซียมไปจนถงึ หลายเซลล์ขนาดใหญ่โครงสร้างซับซ้อน (แต่ยงั ไม่พัฒนาเป็ นเนือ้ เย่อื ) เช่นสาหร่ ายทะเล

กลุ่มดพิ โพลโมนาดดิ า (Diplomonadida) และ พาราบาซาลา (Parabasala)➢เป็นพวกโพรติสต์ชนั้ ตำ่➢• ตวั อย่ำงท่ีสำคญั ได้แก่ - เกียร์เดีย เป็นปรสิตในลำไส้คน - ไตรโคนมิ ฟำ อยใู่ นลำไส้ปลวก แบบ mutualism - ไตรโคโมแนด ทำให้เกิดกำรติดเชือ้ ในช่องคลอด - ทริปพาโนโซมาเป็นปรสติ ทำให้เกิดโรคเหงำหลบั

Giardia intestinalis :เป็ นปรสิตในลาไส้เลก็ ของคน

ไตรโคนิมฟา อยู่ในลาไส้ปลวก แบบภาวะพ่งึ พา mutualism

ไตรโคโมแนด ทำให้เกิดกำรตดิ เชือ้ ในช่องคลอดหรือเรียกกำรมีพยำธิในชอ่ งคลอด ในผู้หญิงท่ตี ดิ เชือ้ ทริโคโม แนส อาการท่พี บได้แก่ การท่ีมี อาการคัน แสบ แดง และเจบ็ ท่อี วัยวะเพศ ในบางรายอาจมี อาการปัสสาวะแสบขัด หรือมี ตกขาวผดิ ปกติ เช่น ตกขาวสี เหลือง หรือสีเขียว หรือ มี กล่นิ เหมน็

ทริปพาโนโซมา เป็ นปรสิตในเลือด ของสัตว์ท่มี ีกระดกู สันหลังทาให้ เกดิ โรคเหงาหลับAfrican Sleeping Sickness

โรคเหงาหลับAfrican Sleeping Sickness แมลงทเซทซี (Tsetse-fly) เมือ่ เชือ้ โรคเข้ำสรู่ ะบบประสำท อำกำรงว่ งนอนจะ เกิดขนึ ้ และทวคี วำมรุนแรงจนกระทงั่ ผ้ปู ่วยไมส่ ำมำรถ ควบคมุ ตนเองได้ งว่ งนอนตลอดเวลำ และผ้ปู ่วยจะไม่ มโี อกำสรอดชีวิตได้เลย

ยูกลีโนซวั (Euglenozoa) เป็ นพวก โพรตสิ ต์ท่เี คล่ือนท่โี ดยใช้แฟลเจลลาตวั อย่ำงทีส่ ำคญั ได้แก่ - ยกู ลีนำสำมำรถสงั เครำะห์ด้วยแสงได้ เพรำะมคี ลอโรฟิลล์ และ แคโรทีนอยด์

- ไดโนแฟลเจลเลต คอืแพลงก์ตอนพชื ชนิดหนึ่งมีเซลเดยี วจัดอย่ใู นดวี ชิ ันแอลวีโอลาตา (Alveolata)ทำให้เกิดปรำกฏกำรณ์ ข้ีปลาวาฬ (red tide)

ขี้ปลาวาฬ (red tide) หรือท่เี รารู้จกั กันดีว่า “แพลงก์ตอนบลูม” เกดิ จาก จานวนประชากรของแพลงก์ตอนท่เี พ่มิ ขนึ้ จานวนมาก ทาให้นา้ ทะเลเปล่ียนสี เป็ นสีของ แพลงก์ตอนนัน้ ๆตามชนิดของแพลงก์ตอน ไดโนแฟลเจลเลต Dinoflagellate


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook