Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ

แผนการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ

Published by Oranut, 2023-06-15 11:16:05

Description: แผนการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ

Search

Read the Text Version

40 5.แบบประเมินผลการเรียนรู้ 7.หลกั ฐาน 1.บันทึกการสอน 2.ใบเชค็ รายชื่อ 3.แผนจดั การเรียนรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน 8.การวัดผลและการประเมนิ ผล วิธวี ัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ 4 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ 5. ตรวจใบงาน 6. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ 7. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครอ่ื งมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผ้เู รยี น) 4. แบบประเมนิ กิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ 5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 6. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ 7. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รียน รว่ มกันประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรับปรงุ 2. เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 4. ตอบคำถามในกิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้จึงจะถอื วา่ ผ่าน

41 เกณฑ์การประเมิน มีเกณฑ์ 4 ระดับ คือ 4= ดมี าก, 3 = ดี, 2 = พอใช้ , 1= ควรปรับปรุง 5. กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คือ 50% 6. แบบประเมินผลการเรียน และแบบฝึกปฏิบตั ิรู้มีเกณฑ์ผา่ น 50% 7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับ การประเมนิ ตามสภาพจริง 9.บันทกึ หลังการสอน ขอ้ สรปุ หลังการสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... ปัญหาที่พบ .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... แนวทางแก้ปญั หา ............................................................................................................................. .....................

42 .............................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... แผนการจัดการเรียนร้แู บบฐานสมรถนะ หนว่ ยท่ี 6 รหสั 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี งิ่ ทอ(2-2-3) ช่อื หน่วย/เร่อื ง การถนอมรกั ษาเสน้ ใย สอนครัง้ ที่ 12-13 (45-52) จำนวน 8 ช.ม. 1.สาระสำคญั สง่ิ มีชีวิตได้รับพลังงานความร้อนจากหลายแหลง่ เช่น พลังงานความรอ้ นจากดวงอาทิตย์ พลังงานความ รอ้ นจากปฏิกิริยาเคมี พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ พลังงานความร้อน สามารถถ่ายโอนจากตำแหน่งท่ีมีพลังงานความร้อนสูงไปยังตำแหน่งที่มีพลังงานความร้อนต่ำ แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ คือ การพาความรอ้ น การนำความร้อน และการแผร่ งั สี 1. เทอร์มอมเิ ตอร์และหน่วยวดั อุณหภูมิ 2. การถา่ ยโอนพลงั งานความร้อน 3. การดดู กลืนความรอ้ นและคายความรอ้ นของวตั ถุ 4. ผลของความรอ้ นทม่ี ีต่อการเปล่ยี นแปลงของสารและสมดลุ ความร้อน 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการถนอมรักษาเสน้ ใยจากธรรมชาติได้ 2. อธิบายการถนอมรกั ษาเสน้ ใยสังเคราะห์ได้ 3. มีเจตคติที่ดใี นการเรียนเรื่องความร้อน อุณหภูมิและผลของความรอ้ นตอ่ วัตถุ และรักษ์ค่านิยมหลัก 12 ประการของไทย 4. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้สำเรจ็ การศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่คี รูสามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง 4.1 ความมีมนุษยสัมพันธ์ 4.2 ความมวี ินยั 4.3 ความรบั ผิดชอบ

43 4.4 ความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ 4.5 ความเช่ือม่ันในตนเอง 4.6 การประหยัด 4.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 4.8 การละเว้นสิง่ เสพติดและการพนัน 4.9 ความรักสามคั คี 4.10 ความกตัญญูกตเวที 3.สมรรถนะประจำหน่วย 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั สารละลาย ปฏิกริ ิยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยใี นอตุ สาหกรรมเสน้ ใย สมบัติของเสน้ ใย สีย้อม สารเคมใี นกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเส้นใย และการจัดการสิง่ แวดลอ้ มใน อตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ 2. คำนวณข้อมูลเกย่ี วกับสารถะลาย ปฏกิ ิรยิ าเคมีตามหลักการและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปญั หา เกยี่ วกับ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเส้นใย สมบัติของเส้นใย สยี ้อม สารเคมีในกระบวนการผลติ ผ้า การถนอมรักษาเส้นใย และการ จัดการสง่ิ แวดลอ้ มในอตุ สาหกรรมสง่ิ ทอตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ประยุกตใ์ ช้ความรเู้ ร่อื งวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ่ิงทอในงานอาชีพ 4.เนื้อหาสาระ 1. การถนอมรกั ษาผา้ ท่ีผลิตจากเสน้ ใย ธรรมชาตปิ ระเภทตา่ งๆ 2. การถนอมรักษาผา้ ท่ผี ลติ จากเส้นใย สงั เคราะหป์ ระเภทตา่ งๆ 3. การถนอมรกั ษาผา้ ทีผ่ ลติ จากเสน้ ใย ก่ึงสงั เคราะหป์ ระเภทตา่ งๆ 4. ผลของความรอ้ นทมี่ ตี อ่ การเปลี่ยนแปลงของสารและสมดลุ ความร้อน 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น ผู้สอนสนทนากับผู้เรียนถึงประสบการณ์ในชีวิตประจำวันเก่ียวกับทำความสะอาด เก็บถนอมรักษา เส้อื ผา้ เคร่ืองน่งุ ห่ม แลว้ ดำเนินกจิ กรรมตามขน้ั ตอนดังนี้ ขน้ั สอน ขนั้ ท่ี 1 ขน้ั รวบรวมข้อมลู (Gathering)

44 1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนเลือกประธานและกำหนดหน้าท่ีสมาชิกคนอื่นๆ ให้ปฏิบัติงานในกลุ่ม ร่วมกัน ศึกษาเอกสารหนงั สือเรียนเรอื่ งการถนอมรกั ษาเส้นใย 2. ตั้งคำถามใหผ้ เู้ รียนเสนอขอ้ มูลจากประสบการณ์ทรี่ ับรู้ดงั ตัวอยา่ งน้ี 2.1 การถนอมรักษาผ้าที่ผลติ จากเสน้ ใยประเภทตา่ งๆ - การถนอมรกั ษาผา้ ไหมมีวิธกี ารอย่างไรบ้าง - กรณีทีผ่ า้ มรี อยเปือ้ นจากสิ่งสกปรกชนดิ ต่างๆมวี ธิ ีทำความสะอาดอยา่ งไร - ทำอย่างไรจงึ จะทำใหเ้ สน้ ใยผา้ สามารถใช้งานไดน้ าน คงทน สีสวยงาม 2.2 การใชง้ านผ้าประเภทตา่ งๆ - สิ่งท่คี วรระวังในการใช้งานเสื่อผ้าจากเส้นใยธรรมชาตปิ ระเภทตา่ งๆ มีอะไรบา้ ง - การใชง้ านผ้าใยสังเคราะหใ์ ห้เหมาะสมสามารถทำได้อยา่ งไร 3. สมาชิกกลุ่มช่วยกันบันทึกผลการศึกษาตามหัวข้อที่กำหนดลงผังกราฟิก (เลือกออกแบบและใช้ผัง กราฟิกให้เหมาะสมกับลกั ษณะของขอ้ มูล) ดังตัวอย่าง (ระหวา่ งผู้เรียนศกึ ษาเอกสาร ค้นควา้ และบนั ทกึ ผล ผู้สอนคอยใหค้ ำแนะนำต่อเน่อื งรายกลุม่ ) ข้ันท่ี 2 ขั้นคดิ วิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 4. ใหส้ มาชกิ แต่ละกลมุ่ ร่วมกนั อภิปรายเรือ่ งประเภทของผา้ กบั การถนอมรักษาเสน้ ใยผา้ 5. เชอ่ื มโยงความคล้ายคลงึ ของข้อมลู ท่นี ำมาอภปิ ราย และรว่ มกันสรุปความรู้ตามหวั ขอ้ 6. บันทกึ ผลการอภปิ รายสรุปเปน็ ความเข้าใจของกล่มุ และรายบุคคล ขั้ น ที่ 3 ขั้ น ป ฏิ บั ติ แ ล ะส รุป ค วาม รู้ห ลั งการป ฏิ บั ติ (Applying and Constructing the Knowledge) 7. ผู้เรียนเข้ากลุ่มเดิมสรุปความรู้ความเข้าใจมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างกลุ่มในชั้นเรียนมา วิเคราะห์เรือ่ งประเภทของผา้ ตา่ งๆ มคี ณุ สมบตั ิอยา่ งไรจงึ ตอ้ งมวี ิธกี ารถนอมรักษาเสน้ ใยได้อย่างไร 8. ผเู้ รยี นค้นหาเปน็ แนวคดิ เกี่ยวกบั การใชแ้ ละการถนอมรักษาเส้นใย

45 9. ผเู้ รียนร่วมกันทำกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ และร่วมกันทำกจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ แลกเปลย่ี นกันตรวจใหค้ ะแนน ข้ันที่ 4 ข้นั สื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill) 10. สมุ่ กลุ่มผู้เรียนแต่ละกลุม่ นำเสนอเก่ียวกับการถนอมและการใช้งานผ้าและเส้นใยประเภทต่างๆการ โดยเลือกใช้ผังกราฟิก เทคนิควิธีการนำเสนอท่ีคิดว่าเหมาะสมและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ บูรณาการ คำศพั ท/์ การใช้สอ่ื /เทคโนโลยี/เพิ่มเติมในการนำเสนอให้มากทสี่ ุดเท่าทีจ่ ะทำได้ แต่ละกลมุ่ แลกเปล่ียนผลงานกับ กลุม่ อืน่ เพอ่ื เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นได้แลกเปลยี่ นเรยี นรซู้ ึ่งกนั และกนั 11. รว่ มกันสรปุ เปน็ ข้อคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางในการถนอมเสน้ ใยผา้ ประเภทต่างๆ และสุ่มกลุ่มผู้เรียน นำเสนอผลการสรปุ ความรู้ความเข้าใจ ข้ันท่ี 5 ขน้ั ประเมนิ เพือ่ เพมิ่ คณุ คา่ บริการสงั คมและจิตสาธารณะ (Self – Regulating) 12. ผู้เรียนแต่ละกล่มุ และรายบคุ คลตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนเองหลังจากรับฟงั การนำเสนอ ของสมาชิกกลุม่ อืน่ ปรบั ปรงุ ชิ้นงานของกลมุ่ ตนให้สมบรู ณ์และบันทึกเพ่ิมเติม 13. นำผลงานแสดงในป้ายนิเทศหรอื เผยแพร่สูห่ อ้ งเรียนอ่ืนหรือสาธารณะ 14. ผ้เู รียนทำแบบทดสอบ จากน้ันประเมินสรปุ ผลการทำกิจกรรม ทำแบบประเมินตนเองและกำหนด แนวทางการพฒั นา กิจกรรมเสนอแนะ ผู้สอนเสนอแนะใหผ้ ้เู รียน - ฝกึ สังเกตรวบรวมข้อมูล แนวคดิ ขั้นตอน วิธดี ำเนนิ การ - ฝึกวิเคราะห์เรื่องที่สนใจเรื่องใดเรอื่ งหนงึ่ โดยวิเคราะห์และสรปุ ขนั้ สรุปและการประเมนิ ผล 16.ครแู ละผเู้ รยี นสรปุ เน้อื หาที่เรยี น 17.ครูแนะนำให้ผู้เรยี นนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั 6.สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1.เอกสารประกอบการเรยี น วชิ าวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งทอ 2.รปู ภาพ 3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.แผ่นใส 5.สอื่ PowerPoint , วีดิทัศน์ 6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 7.หลกั ฐาน 1.บนั ทึกการสอน

46 2.ใบเช็ครายชอื่ 3.แผนจัดการเรียนรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน 8.การวดั ผลและการประเมนิ ผล วธิ วี ัดผล 1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ 3. สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 4 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ 5. ตรวจใบงาน 6. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 7. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เครอื่ งมือวดั ผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผูเ้ รียน) 4. แบบประเมนิ กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรู้ 5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 6. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ 7. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผ้เู รียน ร่วมกนั ประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป) 3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. ตอบคำถามในกิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้จงึ จะถอื ว่าผ่าน เกณฑ์การประเมนิ มีเกณฑ์ 4 ระดับ คือ 4= ดมี าก, 3 = ดี, 2 = พอใช้ , 1= ควรปรบั ปรุง 5. กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คือ 50% 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี น และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิรู้มีเกณฑ์ผา่ น 50% 7 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่กับ การประเมนิ ตามสภาพจริง

47 9.บันทึกหลงั การสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ปญั หาที่พบ ................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... แนวทางแกป้ ัญหา ..................................................................................................................................................

48 ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ........................................................................................ .......................................................... ............................................................................................................................. ..................... แผนการจัดการเรยี นรูแ้ บบฐานสมรถนะ หนว่ ยท่ี 7 รหสั 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิง่ ทอ(2-2-3) ชอ่ื หน่วย/เรื่อง การจัดการสิ่งแวดลอ้ มในอุตสาหกรรมส่ิงทอ สอนครงั้ ท่ี 14-15 (53-60) จำนวน 8 ช.ม. 1. สาระสำคัญ อตุ สาหกรรมส่งิ ทอ ประกอบด้วยกระบวนการผลติ หลายขัน้ ตอน ทำใหม้ เี ศษวัตถดุ ิบและสารเคมตี ่าง ๆ ท่ีใชห้ ลงเหลอื จากกระบวนการต่าง ๆ ก่อให้เกดิ ปญั หาทางสง่ิ แวดล้อมตามมา ทั้งมลพิษทางนำ้ อากาศ หรือ เสียง เป็นต้น น้ำเสยี ในกระบวนการฟอกยอ้ มเปน็ ปญั หาท่ีสร้างความยุ่งยากในอตุ สาหกรรมประเภทนอ้ี ย่างมาก เพราะไม่เพยี งแต่จะทำให้คุณภาพนำ้ ต่ำลงแลว้ ยังมสี ิง่ ต่าง ๆ ปนเปือ้ นมากับนำ้ เสียดว้ ย ได้แก่ สีย้อม สารเคมี ท่ี ใชใ้ นการฟอกย้อม ถ้าหากสีย้อมที่นำมาใชม้ ีองค์ประกอบท่ีเป็นพิษ หรอื สามารถแตกตัวให้สารพิษ ทำให้นำ้ ทิ้ง นนั้ มคี วามเปน็ พษิ ตามไปดว้ ย การกำจัดสารต่าง ๆ ทใ่ี ชใ้ นกระบวนการผลิตออกไมห่ มดก็เป็นสาเหตุทำใหเ้ กิด การระคายเคืองต่อรา่ งกาย เม่ือสวมใส่ ใชง้ าน หรือสัมผัส และในระยะยาวยังอาจเกดิ การสะสมของสารพิษใน ร่างกายได้ จากผลการวิจัยได้มีการเผยแพรค่ วามรู้ และเทคโนโลยีการจดั การส่งิ แวดลอ้ ม ดว้ ยการสำรวจและหา ขอ้ มลู เก่ียวกับปญั หา วธิ ีแก้ไข รวมถึงมาตราการการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มท่ีเหมาะสมสำหรับประเทศไทย เพือ่ เปน็ แนวทางใหท้ ุกฝ่าย รว่ มมือกันพทิ ักษ์สิ่งแวดลอ้ มให้คงอย่ตู ลอดไป การแก้ปัญหาของส่งิ แวดล้อมในอตุ สาหกรรม ส่ิงทอโดยใช้เทคโนโลยีในการแกป้ ัญหาหรือบำบัด เชน่ การบำบดั น้ำเสียจากกระบวนการผลิต 2.จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สบื คน้ ข้อมูลและอธบิ ายการจัดการส่งิ แวดล้อมในอุตสาหกรรมสิ่งทอได้ 2. สืบคน้ ข้อมลู และอธบิ ายการนำผลติ ภณั ฑท์ ไี่ ดจ้ ากการกล่ันลำดบั ส่วนน้ำมนั ดิบและกระบวนการแยก แกส๊ ธรรมชาตมิ าใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ได้ 3. สืบคน้ ขอ้ มลู และอภิปรายผลทเ่ี กิดจากการใช้ผลิตภณั ฑป์ ิโตรเลียมที่มีต่อส่ิงมีชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ มได้ 4. การพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผสู้ ำเร็จการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง 4.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์

49 4.2 ความมีวินยั 4.3 ความรบั ผิดชอบ 4.4 ความซ่อื สัตย์สุจรติ 4.5 ความเชอื่ มั่นในตนเอง 4.6 การประหยัด 4.7 ความสนใจใฝ่รู้ 4.8 การละเว้นสงิ่ เสพติดและการพนัน 4.9 ความรกั สามคั คี 4.10 ความกตัญญูกตเวที 3.สมรรถนะประจำหนว่ ย 1. แสดงความร้เู กี่ยวกับ สารละลาย ปฏกิ ริ ิยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยใี นอุตสาหกรรมเส้นใย สมบัติของเส้นใย สยี อ้ ม สารเคมใี นกระบวนการผลติ ผ้า การถนอมรกั ษาเสน้ ใย และการจัดการส่งิ แวดลอ้ มใน อุตสาหกรรมสิ่งทอ 2. คำนวณข้อมูลเกีย่ วกบั สารถะลาย ปฏกิ ิรยิ าเคมีตามหลักการและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปญั หา เก่ยี วกับ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี พอลเิ มอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเส้นใย สมบัติของเสน้ ใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเสน้ ใย และการ จดั การส่ิงแวดลอ้ มในอตุ สาหกรรมส่งิ ทอตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4. ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้เรอื่ งวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ิง่ ทอในงานอาชีพ 4.เน้ือหาสาระ 1.อตุ สาหกรรมสิง่ ทอ 2.ผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มจากอุตสาหกรรมส่งิ ทอ 3.การจัดการสงิ่ แวดล้อมทเ่ี กิดจากผลกระทบของอุตสาหกรรมสิง่ ทอ 5.กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเขา้ สูบ่ ทเรียน 1. ครูสนทนากบั ผู้เรยี นถึงความสำคัญของสง่ิ แวดล้อม และ สิ่งทอว่าเปน็ ปัจจัยพ้ืนฐานในการดำเนนิ ชีวิตประจำวันของประชาชน เป็นหนึ่งในปัจจยั 4 ทีม่ ีความสำคญั และเปน็ ปัจของการผลิตในภาคส่งิ ทอนัน้ อตุ สาหกรรมสงิ่ ทอมีผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมอยา่ งมาก 2. ผเู้ รยี นวิเคราะห์แนวโน้มพฤตกิ รรมการใชเ้ ส้ือผา้ และเคร่ืองน่งุ หม่ ขั้นสอน

50 3. ครูใช้เทคนคิ การบรรยาย อธิบายวา่ เสน้ ใย สิง่ ทอหรือเครื่องนงุ่ ห่ม มีผลกระทบกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 1. การทำให้ของเสยี ในนำ้ เกดิ การตกตะกอนโดยการจบั ตวั กันเป็นก้อน 2. การบำบัดดว้ ยวธิ ที างชีวภาพ ซง่ึ จะใชจ้ ุลชพี ในน้ำเปน็ ตัวเปลีย่ นหรือยอ่ ยสลายอนินทรียสาร นอกจากนี้ยงั มีการบำบดั ดว้ ยวธิ อี ่ืน ๆ อกี มากข้นึ อยู่กบั ความเหมาะสมในการนำไปใช้สำหรบั แตล่ ะ โรงงาน เทคโนโลยีสะอาดเปน็ อกี ทางเลือกหน่ึงในปจั จบุ ันที่นำมาใชเ้ พื่อลดมลพษิ จากอตุ สาหกรรม การทำงาน ของเทคโนโลยีสะอาดสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 1. การลดแหล่งปญั หาท่ีเกดิ ข้นึ โดยการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการทำงานหรือการผลิต และ 2. การนำวัตถดุ บิ หรือผลติ ภณั ฑก์ ลับมาใชใ้ หม่หรือเปลยี่ นสภาพของวสั ดใุ ห้เปน็ ผลติ ภัณฑ์ใหม่ได้ จากปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กิดข้ึนเป็นผลทำใหเ้ กิดความเสื่อมโทรมของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เนือ่ งจาก มีการขยายตวั ทางอตุ สาหกรรมต่าง ๆ เพ่ิมมากขนึ้ โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบทจ่ี ะเกิดขึ้นต่อสง่ิ แวดลอ้ ม แตใ่ น ปัจจบุ ันมนษุ ยเ์ ริ่มตระหนักถึงพิษภัยของการทำลายส่งิ แวดล้อมที่จะส่งผลเสยี กลบั มาสู่ตัวมนุษย์เอง จงึ เร่ิมต่นื ตวั ในเรื่องการอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อมมากขนึ้ โดยผ้ปู ระกอบการอุตสาหกรรมได้พยายามจัดระบบการจัดการ ส่ิงแวดล้อมของตนให้มีประสิทธภิ าพ ทำใหผ้ ู้ผลติ สามารถลดค่าใช้จ่ายในการผลิตประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ รวมท้ังการเพ่มิ ผลผลิตและสร้างภาพพจน์ทดี่ ีให้แก่องค์กรท่ีจดั ระบบเองด้วย โดยการจดั ระบบจัดการส่ิงแวดลอ้ ม ตอ้ งอาศัยระบบมาตรฐานการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ISO 14000 ซึ่งเป็นมาตรฐานท่ีครอบคลุมไปต้งั แตก่ า้ วแรก จนถึงก้าวสุดท้ายของวงการอุตสาหกรรม ในประเทศไทยส่วนมากจะไดก้ ารรับรองมาตรฐานการผลติ ISO 9000 มากกวา่ ซ่ึงมาตรฐาน ISO 9000 เปน็ มาตรการเพยี งส่วนหนง่ึ ของ ISO 14000 เท่าน้นั โดยองค์กรท่ีได้รบั รอง มาตรฐาน ISO 9000 อยู่แลว้ ก็สามารถพัฒนาระบบการบริหารองค์กรและการจดั การส่งิ แวดล้อมได้งา่ ยขึ้น สง่ ผลไปสู่การรับรองมาตรฐานการจดั การสง่ิ แวดล้อม ISO 14000 ในอนาคต นอกจากนร้ี ฐั บาลไทยได้บัญญตั ิกฎหมายเก่ยี วกับสง่ิ แวดล้อมไวห้ ลายฉบบั ซึ่งมีหน่วยงานหลายฝา่ ยเป็น ผรู้ ักษากฎหมาย แต่การแก้ปัญหาจะเป็นไปไดต้ ้องมกี ารสร้างจติ สำนึกใหก้ ับผู้ปฏบิ ัติงานไดต้ ระหนักถงึ ปัญหา สิง่ แวดลอ้ ม และผูป้ ระกอบการตอ้ งปฏบิ ัตติ ามกฎหมายสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งเคร่งครดั หลักการทว่ั ไป ความสามารถปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต ต้องอาศัยความความร่วมมือ ระหว่างผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่าย ผู้บริโภค และภาครัฐผู้บังคับใช้กฏระเบียบ โดยมุ่งเน้นในประเด็นท่ีมี ความสำคัญ เช่นการบังคับใช้กฏระเบียบเกี่ยวกับการจัดการของเสียจากอุตสาหกรรมและครัวเรือน การ ควบคุมการปล่อยของเสียทั้งอากาศ น้ำและกากให้อยู่ในระดับท่ีเหมาะสม ซ่ึงแนวทางสำคัญได้แก่ 1.การหลีกเล่ียง วัตถุดิบหรือกระบวนการท่ีมีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม 2.การลด ปริมาณการใช้วัตถุดิบ ท้ังทรัพยากรการผลิต และปริมาณการบริโภคที่เกินความ

51 จำเป็น 3.การนำกลับมาใช้ใหม่ มนุษย์ สิ่งทอ และสิ่งแวดล้อมมีปฏิสัมพันธ์กันในตลอดวัฎจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ ดังนี้ การผลิต การใช้งาน การกำจัด ผลิตเส้นใย ปั่นด้าย ทอ/ถักผ้า การสวมใส่, การซักล้าง, การทำให้ รีไซเคิล การย่อยสลาย การฝัง กลบ ฟอกย้อม ตกแต่งสำเร็จ ตัด แห้ง เย็บ การประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ Life-cycle Analysis เป็นวิธีการประเมินเชิงปริมาณของการใช้ทรัพยากร มลพิษที่เกิดข้ึนและผลกระทบส่ิงแวดล้อม อันเน่ืองมาจากการผลิต ผลิตภัณฑ์และบริการ โดยพิจารณาตลอดวัฎจักรชีวิต ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การขนส่ง การใช้ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการนำไปกำจัด ข้ันตอนการประเมินวัฎจักรชีวิตน้ันมี 4 ขั้นตอน คือ 1.การกำหนดเป้าหมายและขอบเขต (Goal and Scope) 2.การวิเคราะห์บัญชีรายการด้านส่ิงแวดล้อม (Life Cycle Inventory) (ตัวอย่างตาม ตาราง) 3.การประเมินผลกระทบตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Impact Assessment) 4.การแปรผล (Interpretation) อุตสาหกรรมสิ่งทอเริ่มให้ความสำคัญกับการประเมิน LCA (Life-cycle Analysis) เพราะจะช่วยให้ ระบุโอกาสที่จะประหยัดวัตถุดิบและพลังงาน เป็นประโยชน์ต่อทั้งส่ิงแวดล้อมและผลประกอบการท่ีดีข้ึน ซ่ึงการประเมิน LCA ได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของอนุกรมมาตรฐาน ISO14000 การจัดการส่ิงแวดล้อม ปัจจัยนำเข้า Life-cycle Analysis ผลต่อสิ่งแวดล้อม การผลิต

52 วัตถุดิบท่ีต้องการ สินค้าสำเร็จรูป เช่น เสื้อ กางเกง ถุงเท้า วัตถุดิบหลัก เส้นใย เส้นด้าย ผ้าผืน ของเสีย ของเสียเฉพาะ วัตถุดิบสนับสนุน ผลพลอยได้ที่ทำประโยชน์ได้ สีย้อม สารทำละลาย น้ำมัน ไขมัน สาร เศษวัสดุ หล่อล่ืน และเคมีอ่ืนๆ บรรจุภัณฑ์ การใช้ การใช้ที่ดิน วัสดุสำนักงาน งาน นำ้เสีย วัตถุดิบอ่ืนๆ โรงงาน อากาศเสีย น้ำ อากาศ ของเสีย ฝุ่น เสียง การ ท่ีเกิดจากการใช้พลังงาน พลังงานสูญเปล่า และ พลังงานเพ่ือการผลิต การขนส่ง กำจัด การนำกลับมาใช้ใหม่ (น้ำมัน ถ่านหิน ไฟฟ้า) ความเครียดต่อพ้ืนดิน ท่ีดิน นเิ วศวทิ ยากบั การผลติ สงิ่ ทอเครือ่ งน่งุ ห่ม การผลิตเส้นใยธรรมชาติต้องการใช้ระบบชลประทาน การใช้ท่ีดิน การใช้ปุ๋ย และการกำจัด ศัตรูพืช ทั้งหมดเป็นความเสี่ยงที่จะลดคุณภาพของดินและมีสารปนเป้ือนในน้ำใต้ดินหากไม่มีระบบการ ป้องกันที่ดี ด้านการผลิตเส้นใยประดิษฐ์ ท้ังท่ีใช้วัสดุธรรมชาติและปิโตรเคมี เป็นกระบวนการที่ใช้ พลังงานมาก กระบวนการปั่นทอถัก ก็ต้องใช้สารเคมีเพื่อการหล่อลื่นและปกป้องวัตถุดิบ โดยเฉพาะ กระบวนการตกแต่งสำเร็จท่ีจำเป็นต้องใช้สารเคมีเพื่อการย้อมสีและการเพ่ิมคุณภาพสินค้า

53 กระบวนการทุกขั้นตอนมีความเสี่ยงในการปล่อยสารปนเปื้อนที่อันตรายสู่ส่ิงแวดล้อม และใน หลายขั้นตอนยังก่อมลพิษทางเสียง ฝุ่นควัน อุตสาหกรรมส่ิงทอและเครื่องนุ่งห่มทั่วโลกได้ใช้ระบบขนส่ง ทางราง ทางถนน และทางเรืออย่างกว้างขวาง และยังใช้วัตถุดิบเพ่ือบรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่งและการ จัดแสดงในพ้ืนท่ีค้าปลีกเป็นจำนวนมาก มาตรการท่ีสามารถนำมาใช้มีหลายแนวทาง ทั้งการปรับปรุงระบบเกษตร ใช้พืชทางเลือก ระบบ จัดการแมลงศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมี ควบคุมระดับการใช้ปุ๋ยและชลประทานอย่างคุ้มค่าลดการใช้ น้ำ และการปรับปรุงกระบวนการผลิต ใช้พลังงานทดแทน ใช้สารย่อยสลายได้ รวมถึงการปรับปรุงระบบ การผลิตให้เป็นเทคโนโลยีสะอาดท้ังระบบ นเิ วศวิทยากับการใช้งานสิง่ ทอเคร่ืองน่งุ หม่ การสวมใส่ อันตรายท่ีเกิดจากการสวมใส่เสื้อผ้าเคร่ืองแต่งกายพบได้น้อย อาจมีบ้างในโลหะหนัก ประเภทนิเกิลที่อยู่ในกระดุมและเครื่องเกาะเกี่ยว หรือสีย้อมบางประเภทที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ (อนุพันธ์จาก benidine) ทำใ้ห้มีแนวทางการบ่งขึ้ระดับของสารอันตรายที่เรียกว่า Eco-labelling เพื่อกำกับและ อนุญาตให้มีสารเคมีไม่เกินระดับท่ีเป็นอันตรายต่อร่างกายมนุษย์ การดูแลรักษา การซักอบรีดและการซักแห้งเป็นกระบวนการท่ีใช้พลังงาน น้ำ และสารเคมี สาร ฟอกขาว (oxidants, fluorescents) และสารปรับค่ากรดด่าง (phosphates) ซ่ึงสารเหล่านี้เพื่อปล่อย ลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติจะส่งผลถึงการเติบโตของพืข ปัจจุบันน้ำยาซักผ้าจึงมักทดแทนสารอันตรายด้วย เคมีท่ีย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ส่วนการซักแห้งซ่ึงใช้สาร hydrocabons เพื่อละลายไขมัน ปัจจุบัน ระบบซักแห้งจึงเป็นระบบปิดที่มีกฎหมายบังคับในหลายประเทศ และให้นำสารทำละลายกลับมาใช้ใหม่ นเิ วศวิทยากบั การกำจัด แนวคิดการยืดอายุการใช้งานของเสื้อผ้ามีหลากหลาย และช่วยลดปริมาณการผลิตตลอดจ น ปริมาณขยะที่จะท้ิงสู่ส่ิงแวดล้อม ในระดับของผู้บริโภคอาจเป็นการใช้เสื้อผ้ามือสองท่ีเป็นตัวอย่างของนัก ออกแบบ การนำเส้ือผ้าเก่ามาใช้สำหรับงานสกปรก เช่นงานสวน หรือการบริจาคให้แก่ผู้ยากไร้ ผู้บริโภค ยังสามารถดัดแปลงเสื้อผ้าด้วยการตัดเย็บใหม่ แปลงกางเกงเป็นกระเป๋าถือ หรือการแปลงเส้ือผู้ใหญ่เป็น เส้ือผ้าเด็ก การ recycle ในระดับอุตสาหกรรมสามารถทำกลับเป็นเส้นใยเพื่อใช้ใหม่ มีเทคโนโลยีที่รองรับ แล้วในเส้นด้ายพอลีเอสเตอร์ ส่วนเสื้อผ้าที่ผลิตจากเส้นใยธรรมชาติที่มีส่วนประกอบของเซลลูโลส สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติได้ด้วยการผังกลบ

54 5.ครใู ชเ้ ทคนิควิธีการจดั การเรียนรู้แบบรว่ มมอื (Cooperative Learning) หมายถึงกระบวนการเรยี นรู้ ทจ่ี ดั ใหผ้ ูเ้ รยี นไดร้ ว่ มมือและชว่ ยเหลือกนั ในการเรยี นรโู้ ดยแบ่งกล่มุ ผเู้ รียนทม่ี ีความสามารถต่างกันออกเป็นกลุ่ม เล็ก ซงึ่ เปน็ ลักษณะการรวมกลุ่มอย่างมีโครงสร้างที่ชัดเจน มีการทำงานร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นมี การช่วยเหลอื พง่ึ พาอาศัยซงึ่ กันและกนั มีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในสว่ นตนและสว่ นรวมเพอ่ื ให้ตนเองและ สมาชกิ ทุกคนในกลุ่มประสบความสำเรจ็ ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ดงั น้ี 1) แบ่งผู้เรียนเปน็ กลุ่มๆ ละ 5-6 คน 2) สบื คน้ ข้อมูลในหัวข้อปิโตรเลียมมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจอย่างไร 3) นำข้อมูลท่ีไดม้ าอภปิ รายร่วมกัน นำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6.ครูใช้รูปภาพ ผ่านสื่อ Power Point ประกอบการอธบิ ายขัน้ ตอนการจัดการส่ิงแวดลอ้ มในอุตสาหกรรม สิง่ ทอ 7.ครูใช้รปู ภาพผา่ นส่อื Power Point ประกอบการอธิบายขัน้ ตอนการแยกเป็นเส้นใยธรรมชาตแิ ละเส้น ใยสงั เคราะห์ 8.ครใู ชส้ ่ือ Power Point บอกผลติ ภณั ฑ์จากเส้นใยตา่ งๆ 5). แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 9.ครูใชเ้ ทคนิควิธีการจดั การเรียนร้แู บบร่วมมอื (Cooperative Learning) โดยเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้ ดังน้ี 1) แบ่งผ้เู รยี นเปน็ กลุ่มๆ ละ 3-4 คน 2) ผเู้ รยี นช่วยกันวิเคราะหผ์ ลกระทบจากการใชผ้ ลติ ภณั ฑจ์ ากอุตสาหกรรมเส้นใยและหาแนว ทางการแกไ้ ขหรือลดระดับความรุนแรง โดยสาร และแก๊สพษิ ทเี่ กดิ จากการผลติ และการใช้ 3) นำเสนอและร่วมกันอภิปรายในชั้นเรยี น 10.ผู้เรยี นเขยี นบันทกึ กิจกรรมในชีวติ ประจำวันที่ใช้เส้อื ผา้ และเคร่ืองนุ่งหม่ แลว้ วเิ คราะหว์ ่าใช้ไปนอี้ ยา่ ง คมุ้ คา่ หรือไม่ และนำเสนอวิธกี ารใชอ้ ย่างประหยดั 11.ครูเน้นให้ผู้เรยี น ระมัดระวัง รอบคอบทุกครัง้ ในการทำขอ้ สอบ ขัน้ สรุปและการประยุกต์ 12. ครสู รุปเน้ือหาบทเรยี น โดยใชส้ ่อื Power Point 13.ครูสมุ่ ถามตอบผู้เรียนเกย่ี วกบั เน้อื หาทเ่ี รียน 14.ผเู้ รียนทำแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝึกปฏิบัติ และประเมินตนเองจากแบบประเมนิ ตนเอง รวมทง้ั กจิ กรรมการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ช่ือผเู้ รยี น ธรรมชาตขิ องผเู้ รียน วิธกี ารเรียนรู้ ความสนใจ สตปิ ญั ญา วุฒภิ าวะ 1. 2.

55 3. แบบประเมนิ ผลประสบการณ์พื้นฐานการเรยี นรู้ ช่อื ผู้เรียน ประสบการณ์พ้ืนฐานการเรียนรู้ วิธีการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน 1. 2. 3. 6.ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 1.เอกสารประกอบการเรยี น วิชาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยสี ิ่งทอ 2.รูปภาพ 3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.แผน่ ใส 5. สือ่ PowerPoint , วีดทิ ัศน์ 6.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ 7.หลกั ฐาน 1.บันทกึ การสอน 2.ใบเช็ครายชอื่ 3.แผนจดั การเรียนรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน 8.การวัดผลและการประเมนิ ผล วิธีวดั ผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ

56 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ 4 ตรวจกิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้ 5. ตรวจใบงาน 6. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ 7. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เครื่องมอื วดั ผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผ้เู รียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรู้ 5. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน 6. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครแู ละผู้เรียน ร่วมกนั ประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรบั ปรงุ 2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ข้ึนไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป) 4. ตอบคำถามในกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรู้จงึ จะถือว่าผา่ น เกณฑ์การประเมิน มีเกณฑ์ 4 ระดับ คือ 4= ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้ , 1= ควรปรบั ปรุง 5. กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 6. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติมีเกณฑ์ผ่าน 50% 7 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึน้ อยู่กับ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

57 9.บันทึกหลงั การสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ปัญหาท่ีพบ ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ........................................................................................................ .......................................... แนวทางแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .....................

58 ......................................................................................................................................... ......... ......................................................................................................................... ......................... ............................................................................................................................. ..................... แผนการจัดการเรียนรแู้ บบฐานสมรถนะ หนว่ ยที่ - รหัส 30000-1307 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี ่งิ ทอ(2-2-3) ชื่อหน่วย/เรอื่ ง บทสง่ ท้าย การประยุกต์ใช้ในงานอาชีพทเ่ี กีย่ วขอ้ ง สอนคร้งั ท่ี 16-17 (61-68) ทบทวน/สอบปลายภาคเรียน จำนวน 8 ช.ม. 1.สาระสำคัญ จากการทผี่ เู้ รยี นไดศ้ ึกษาวชิ าน้ี จะไดร้ ับความร้คู วามเขา้ ใจ และเกดิ ทักษะการฝึกปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียน โดยเนน้ ผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง ให้ผู้เรยี นฝกึ คดิ เพ่ือให้สอดคล้องกบั พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2563 โดยยดึ หลักการนำไปใช้ให้เกิดไปประโยชน์ในการพัฒนาสังคม พร้อมท้งั นำหลักคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผสู้ ำเรจ็ การศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา มาประยุกต์ใช้กับ กจิ กรรมการเรียนอย่างเหมาะสม 2.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นำเรือ่ งทท่ี บทวนตามเนื้อหาวิชาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 2. แจ้งคะแนนระหวา่ งภาคเรียนให้ผูเ้ รียน 3. แกป้ ญั หาการเรยี นของผ้เู รยี นได้ 4. ผู้เรยี นนำความรูท้ ศี่ กึ ษามาไปสอบปลายภาคเรียนได้ 5. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผ้สู ำเรจ็ การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ท่คี รสู ามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง 5.1 ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ 5.2 ความมวี นิ ยั 5.3 ความรับผิดชอบ 5.4 ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต 5.5 ความเช่ือมน่ั ในตนเอง 5.6 การประหยัด 5.7 ความสนใจใฝ่รู้ 5.8 การละเว้นส่งิ เสพตดิ และการพนนั

59 5.9 ความรกั สามคั คี 5.10 ความกตัญญูกตเวที 3.สมรรถนะประจำหนว่ ย 1. แสดงความรูเ้ กยี่ วกับ สารละลาย ปฏกิ ริ ยิ าเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยีในอตุ สาหกรรมเส้นใย สมบัตขิ องเส้นใย สีย้อม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเส้นใย และการจัดการส่ิงแวดล้อมใน อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ 2. คำนวณขอ้ มลู เกย่ี วกบั สารถะลาย ปฏิกิรยิ าเคมีตามหลกั การและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบ และแก้ปัญหา เกี่ยวกับ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี พอลิเมอร์ เส้นใย นาโนเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมเส้นใย สมบัติของเส้นใย สยี ้อม สารเคมีในกระบวนการผลิตผ้า การถนอมรักษาเสน้ ใย และการ จดั การสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมสิ่งทอตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ประยกุ ต์ใช้ความรเู้ รอ่ื งวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีส่ิงทอในงานอาชีพ 4.เนือ้ หาสาระ 1. ทบทวนเนอื้ หาวิชาทไ่ี ด้ศกึ ษามาแบบย่อ 2. รวบรวมคะแนนระหว่างภาคเรียน 3. ปัญหาการเรยี นของผเู้ รยี น 4. สอบปลายภาคเรียน 5.กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครูแจง้ ใหผ้ ู้เรยี นทราบคะแนนระหว่างภาค และกลางภาค จุดประสงค์ทผี่ ุ้เรียนยังไม่ไดป้ ฏิบัติ หรอื ไมผ่ ่าน หรือไม่ไดส้ อบ ให้ผู้เรียนดำเนินการโดยพบครผู ูส้ อนกำหนดวันเวลาที่จะปฏิบัตหิ รือสอบ หรอื เรียนเพม่ิ เตมิ 2. ผู้เรยี นรับทราบจดุ ประสงค์การสอบปลายภาคว่า จะมกี ารสอบเรื่องใดบ้าง ผู้เรียนไมเ่ ขา้ ใจเรอ่ื งใดก็ ใหซ้ กั ถาม 3. ครแู ละผู้เรียนรว่ มกันทบทวนบทเรียนที่ผา่ นมาโดยสรุป 6.สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1.ขอ้ มลู การเก็บคะแนนของผเู้ รียน 2.จดุ ประสงค์การสอบปลายภาค

60 7.หลกั ฐาน 1.ใบเชค็ รายชือ่ เขา้ ห้องเรยี น และเขา้ ห้องสอบ 2.ขอ้ สอบ 3.เอกสารในการสอบตา่ ง ๆ 8.การวัดผลและการประเมนิ ผล เปน็ ไปตามเกณ์ทไี่ ด้แจง้ ไว้ในแผนการจดั การเรยี นรสู้ ัปดาห์ที่ 1-18 9.บนั ทกึ หลังการสอบ ขอ้ สรปุ หลงั การสอน ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ........................................................................................................ .......................................... ............................................................................................................................. ..................... ปัญหาที่พบ .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................................... ...

61 ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ......................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. .....................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook