Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มโครงการแค่ใช้นิ้ว-เพิ่มสารบัญภาพ

รวมเล่มโครงการแค่ใช้นิ้ว-เพิ่มสารบัญภาพ

Published by angrymin.error, 2022-07-11 02:30:15

Description: รวมเล่มโครงการแค่ใช้นิ้ว-เพิ่มสารบัญภาพ

Search

Read the Text Version

บทคดั ยอ ชือ่ โครงงาน \"แคใ ชน้วิ ก็ฟนได รดน้าํ งายงาย สไตลโซลารเ ซลล\" ชื่อผูทําโครงงาน 1. นายเจษฎากร ปจู ัง นกั ศกึ ษา กศน.ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน 2. นางสาวเพญ็ ภทั โคตรบุตร นักศึกษา กศน.ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3. นางนํ้าผง้ึ อํา่ ละออ นักศึกษา กศน.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตําบลนาปา กศน.อาํ เภอเมอื งชลบุรี อาํ เภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี อาจารยท ป่ี รกึ ษา 1. นางสาวศศิวัณย ออ นศรที อง ครู กศน.ตําบลนาปา 2. นางสาวณิยะวรรณ ชทู อง ครูผูชว ย ระยะเวลาการศึกษา 1 มิถนุ ายน – 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 \"แคใ ชน วิ้ ก็ฟนได รดนํ้างายงาย สไตลโ ซลารเซลล\" เปนโครงงานทเ่ี นน การแกปญ หา ใกลตัวในชีวิตประจําวัน เนื่องจาก กศน.ตําบลนาปา ประสบปญ หาสถานการณภัยแลงและฝนท้ิงชวง สงผลใหตนไมที่ปลูกไว อาทิ ไมผล ไมยืนตน พืชไร พืชผัก พืชสมุนไพรตาง ๆ โดยเฉพาะพืชสมุนไพร ตานโควิด-19 ที่เปนแหลงเรียนรู แหลงศึกษาดูงาน เปนอาหารใหแกนักศึกษาและประชาชนในพื้นที่ อีกท้ังสามารถจําหนายเพื่อสรางรายไดนํามาใชจายใน กศน.ตําบลนั้นเห่ียวเฉา แหงตาย ขาดนํ้า สราง ความเสียหายใหแก กศน.ตําบลนาปา ทั้งดานทัศนียภาพที่ขาดความสวยงามรมร่ืน และการดํารงไว ของศูนยเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบลนาปา จึงจําเปน ตองมีการดูแลเอาใจใสใหน้ําท่ีเหมาะสม อีกทั้งในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2565 วิชาท่ีลงทะเบียน เรียนในภาคเรียนน้ี ไดแก วิชาการใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวัน และวิชาโครงงานวิทยาศาสตร โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเพม่ิ พูนความรู ทักษะ ประสบการณ ในการเลือกใชวัสดุ และการตอวงจรไฟฟา ใหเกิดประโยชนสูงสุด เนนเน้ือหาการใชและอนุรักษพลังงานไฟฟา โดยการใชพลังงานทดแทน จึงได คิดคนส่งิ ประดิษฐโครงงาน เพอื่ แกไ ขปญหาใหต รงตามวัตถุประสงค \"แคใชนิว้ กฟ็ นได รดนํา้ งา ยงาย สไตลโ ซลารเ ซลล\" สามารถลดสภาวะโลกรอน ชวย อนุรักษพลังงานไฟฟาโดยใชพลังงานทดแทน ชวยลดการใชพลังงานไฟฟาทําใหเกิดการประหยัด คาใชจาย สามารถนําเทคโนโลยีมาแกไขปญหา สรางนวัตกรรมเพื่ออํานวยความสะดวก พัฒนา นวัตกรรมใหมสูการพัฒนาอาชีพในอนาคต ปลูกฝงการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสอดคลองกับแนวทาง/กลยุทธการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยของ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี คือ อัตลักษณ “กาวไปในยุคดิจิทัล” และเอกลักษณ “องคกร ออนไลน” ทําให กศน.ตําบลนาปา มีทัศนียภาพสวยงาม เปนแหลงเรียนรูที่เหมาะสมในการเปนศูนย เรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบลนาปา เปนแหลงเผยแพร องคความรู ขยายผลการดําเนินงานและสรางเครือขายในชุมชน กิจกรรมการดําเนินงานขยายผลหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถอํานวยความสะดวกใหกับนักศึกษา หรือใหผูที่ชื่นชอบในการจัดสวนหยอมหรือ เกษตรกรที่ ตอ งการทําการเกษตรในลักษณะ “สมารทฟารม ผานสมารทโฟน” เพ่ือแกไขปญหาทางดานเวลาและ แรงงานคน และสามารถลดรายจาย เพ่มิ รายได ตอยอดเปน อาชีพเสรมิ หรือประกอบเปนอาชีพได

กิตติกรรมประกาศ โครงงาน“แคใชนิ้วก็ฟนได รดน้ํางายงาย สไตลโซลารเซลล”น้ี สําเร็จลุลวงไดดวย ความกรุณาอยางสูงจากทานผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี นายไพรัตน เนื่องเกตุ ผูอ ํานวยการ กศน.อําเภอเมืองชลบรุ ี, นางสาวศศิวัณย ออ นศรีทอง ครู กศน.ตําบล, นายสรุ เชษฐ ชื่น เผอื ก ครู กศน.ตําบล, นายศรณั ญ เนือ่ งเกตุ นักเทคโนโลยสี ารสนเทศ และนางสาวณยิ ะวรรณ ชทู อง ครผู ูชวย คณะกรรมการ กศน.ตําบลนาปา เจาของแหลง เรียนรบู านพอเพียง นักศกึ ษา กศน.ตําบลนา ปา และผูเกี่ยวของทุกคน ที่กรุณาสนับสนุนงบประมาณ ใหคําปรึกษา แนะแนวทางในการทํา โครงงานและแกไขขอบกพรองตาง ๆ มาโดยตลอดจนโครงงานฯน้ีเสร็จสมบูรณ ดวยความเอาใจใส อยางดียิ่ง คณะผูจัดทําตระหนักถึงความตั้งใจจริงและความทุมเทของคณะครูและผูบริหาร และ ขอขอบคุณเปนอยา งสงู ไว ณ ทนี่ ี้ทีใ่ หการชว ยเหลือ แนวคิด ตลอดจนแกไขขอบกพรองตาง ๆ มาโดย ตลอด จนรายงานเลมนเ้ี สรจ็ สมบูรณ คณะผูจัดทําขอขอบคุณบิดา มารดา ครอบครัว และเพื่อนๆ ทุกทานที่มีสวน เก่ียวของเปนอยางสูง ไว ณ โอกาสนี้ ที่ใหก ําลังใจ ใหความชวยเหลือในการประดิษฐโครงงานช้ินน้ี ทํา ใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี และขอมอบสวนดีท้ังหมดใหแกคณะครูที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาจนทําให โครงงานน้ีเปนประโยชนตอ กศน.ตําบลนาปา หากมีขอผิดพลาดประการใด คณะผูจดั ทํายินดที ่ีจะรับ ฟงคําแนะนาํ จากทุกทา นทไ่ี ดเ ขามาศึกษา เพ่ือประโยชนในการพฒั นาชิน้ งานตอไป และขอนอ บรบั ดวย ความเตม็ ใจย่งิ คณะผจู ัดทํา กรกฎาคม 2565

สารบัญ หนา 1 บทคัดยอ 2 กิตติกรรมประกาศ 2 สารบัญ 2 สารบญั ตาราง 3 สารบญั ภาพ 3 บทท่ี 1 บทนาํ 5 6 วัตถปุ ระสงคของโครงงาน 6 ขอบเขตของการศกึ ษา 7 ประโยชนท ่คี าดวา จะไดรบั 11 บทที่ 2 เอกสาร/ทฤษฎี/หลักการทเ่ี กย่ี วขอ ง 11 โซลารเ ซลล (Solar Cell) 14 โซลารช ารจเจอร 15 ปม น้ํา 17 ระบบพน หมอก 18 สว นประกอบของโครงงาน “แคใชน้ิวกฟ็ นได รดนาํ้ งา ยงาย สไตลโ ซลารเ ซลล” 18 บทที่ 3 อุปกรณแ ละวิธีการศึกษา 18 อปุ กรณ 18 วธิ กี ารดาํ เนนิ งาน 19 ข้ันตอนการทาํ โครงงาน “แคใชนว้ิ กฟ็ น ได รดน้าํ งา ยงา ย สไตลโ ซลารเซลล” 19 ขั้นตอนการดาํ เนนิ การทดลอง 20 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 20 การทดลองโครงงาน“แคใ ชน ิ้วกฟ็ น ได รดน้ํางา ยงา ย สไตลโซลารเ ซลล” ตารางผลการทดลองโครงงาน“แคใชนวิ้ กฟ็ น ได รดน้าํ งา ยงาย สไตลโ ซลารเ ซลล” ผลการทดลองโครงงาน“แคใ ชนวิ้ กฟ็ น ได รดน้าํ งา ยงา ย สไตลโ ซลารเซลล” บทที่ 5 สรปุ ผลและอภิปรายผล สรุปผลและอภปิ รายผล ปญ หาและอปุ สรรค ขอเสนอแนะและแนวทางการพัฒนา บรรณานุกรม ภาคผนวก

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา ตารางท่ี 1 แผนการปฏบิ ัตงิ าน 14 ตารางที่ 2 ผลการทดลองโครงงาน“แคใชน ้วิ กฟ็ น ได รดน้ํางา ยงา ย สไตลโ ซลารเ ซลล” 18

สารบญั ภาพ หนา 3 ภาพท่ี 3 ภาพที่ 1 สว นประกอบ โซลารเ ซลล (Solar Cell) 4 ภาพท่ี 2 การทาํ งานของโซลารเ ซลล (Solar Cell) 5 ภาพท่ี 3 ชนดิ ของแผงโซลารเซลล 6 ภาพที่ 4 โซลารชารจ เจอร ภาพท่ี 5 ปม นา้ํ

1 บทที่ 1 บทนาํ ความเปน มาและสาระสาํ คญั ของปญ หา กศน.ตําบลนาปา มีความเปนเอกเทศ มีอาคารที่ตั้งโดดเดน อยูในบริเวณพ้ืนที่ กวางขวาง มีหองนํ้าสําหรับนักศึกษาตั้งอยูนอกอาคารเรียน สวนภายในอาคาร มีหองเรียนจัดเปน สัดสวน แบงเปนหองเรียน และหองมุมรักการอาน ซึ่ง กศน.ตําบลนาปา ตั้งอยูในแหลงชุมชน โดย กศน.ตําบลนาปา เปนแหลงศูนยการเรียนรูของชุมชน 4 ศูนย ดังน้ี 1. ศูนยสงเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยตาํ บล 2. ศนู ยเ รยี นรูหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ อเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป ระจาํ ตําบล 3. ศูนยดิจิทัลชุมชน 4. ศูนยการศึกษาตลอดชีวิต จากการท่ี กศน.ตําบลนาปา เปนศูนยเรียนรูหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบลนาปา ซึ่งเปนศูนยกลางในการจัดการ เรียนรู เผยแพรองคความรู ขยายผลการดําเนินงานและสรางเครือขายในชุมชน กิจกรรมการ ดําเนินงานขยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมตามแนวทางปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จึงไดปลูกไมผล ไมยืนตน พืชไร พืชผัก พืชสมุนไพรตาง ๆ โดยเฉพาะพืชสมุนไพร ตานโควิด-19 ไดปลูกผสมผสานกันและหลากหลายในพื้นท่ีเดียวกัน เพ่ือใชเปนแหลงเรียนรู แหลง ศึกษาดูงาน เปนอาหารใหแกนักศึกษาและประชาชนในพื้นท่ี นอกจากนี้ยังสามารถจําหนายเพ่ือสราง รายไดนํามาใชจ า ยใน กศน.ตาํ บลไดอ กี ทางหนงึ่ จากสถานการณภัยแลงและฝนท้งิ ชว ง ทําให กศน.ตาํ บลนาปา ประสบปญหาตนไมที่ ปลูกไวใน กศน.ตําบลเหี่ยวเฉา แหงตาย ขาดนํ้า สรางความเสียหายใหแก กศน.ตําบลนาปา ทั้งดาน ทัศนียภาพที่ขาดความสวยงามรมร่ืน และการดํารงไวของศูนยเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบลนาปา จึงจําเปนตองมีการดูแลเอาใจใสใหนํ้าท่ีเหมาะสม คณะผูจดั ทําโครงงานไดศึกษาเน้อื หาการเรียนรูในวิชาท่ีลงทะเบยี นในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565 ไดแก วิชาการใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวัน และวิชาโครงงานวิทยาศาสตร พบวาในการจัดทํา โครงงานน้ัน ตองจัดทําใหสอดคลองกับวัตถุประสงค การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมาบูรณาการ เพ่ือใหผูเรียน กศน. มีความรคู วามเขา ใจ ทกั ษะ และตระหนักถึงความจําเปน ของการใชพลังงานไฟฟา ในชวี ติ ประจําวนั จดั ทาํ โครงงานเนนเน้อื หาการใชและอนุรกั ษพลงั งานไฟฟา เนนการแกปญหาใกลตัว ในชีวิตประจําวนั โดยการใชพลังงานทดแทน จงึ คดิ คน สิง่ ประดิษฐโครงงานตามความสนใจ โดยนอ มนํา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนโยบายสถานศึกษา 3ดี มาใชในการดํารงชีวิต ประดิษฐเปน เครื่องรดนํ้าตนไมอัตโนมัติโดยใชพลังงานโซลารเซลล เพ่ือประหยัดพลังงานไฟฟา ประหยัดเวลาและ แรงงานคน ทั้งน้ีเพ่ือใหนักศึกษามีความรู ความเขาใจในการเลือกใชวสั ดุ และการตอวงจรไฟฟาใหเกิด ประโยชนสูงสุด อํานวยความสะดวกใหกับนักศึกษา หรือใหผูท่ีช่ืนชอบในการจัดสวนหยอมหรือ เกษตรกรท่ีตองการทําการเกษตรในลักษณะ “สมารท ฟารม ผานสมารทโฟน” เน่ืองจากปจจบุ นั เคร่ือง สมารทโฟน ไดเขามาเปนสวนหน่ึงในชีวิตประจําวันของเราเปนอยางมาก อาจกลาวไดวามีผูใชเครื่อง สมารท โฟน มากกวา 90 เปอรเซน็ ต ของจํานวนประชากร จงึ นาํ เอาเคร่อื งสมารท โฟน มาอํานวยความ สะดวกในการเปดปดน้ํา ในกรณีที่ตองการเปด-ปดนํ้าจากระยะไกล อยูที่ไหนก็เปด-ปดได หรือการทํา เกษตรกรรมที่มีการจัดระบบการจายนํ้าแบบควบคุม โดยศูนยกลางไดงา ยๆ เพียงแคใชปลายนวิ้ สัมผัส ดังนั้น คณะผูจัดทําจึงไดจัดทําโครงงาน “แคใชน้ิวก็ฟนได รดนํ้างายงาย สไตล โซลารเซลล” ขึ้น

2 วัตถปุ ระสงคข องโครงงาน 1. เพื่อออกแบบเครือ่ งรดนา้ํ ตน ไมโ ดยใชพ ลังงานโซลารเซลล 2. เพื่ออนรุ ักษพ ลังงานไฟฟาและพัฒนาเครือ่ งรดนา้ํ ตน ไมโดยใชพ ลงั งานโซลารเซลล 3. เพ่ือแกป ญ หาตน ไม ในกศน.ตาํ บลนาปา เหย่ี วเฉา แหงตาย 4. เพอื่ ชว ยใหการรดนา้ํ เปน เรือ่ งงา ย ๆ ส่ังการท่ีไหนกไ็ ดตลอดเวลา แคเพยี งปลายนิว้ สัมผัส ขอบเขตของการศึกษา 1. เปน เครือ่ งรดนํา้ ตนไมอตั โนมัตโิ ดยใชพ ลังงานโซลารเ ซลล ในการผลติ กระแสไฟฟา 2. เวลาในการรดนา้ํ สูงสดุ ไมเกิน 60 นาที 3. สามารถสัง่ การเปด-ปดการทาํ งานของระบบผานแอพพลิเคชันบนสมารท โฟน ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดร ับ 1. กศน.ตาํ บลนาปา มเี คร่อื งรดนา้ํ ตนไมโดยใชพลงั งานโซลารเซลล จํานวน 1 เครือ่ ง 2. กศน.ตาํ บลนาปา ชว ยอนรุ ักษพลงั งานไฟฟา โดยใชพ ลงั งานทดแทน 3. กศน.ตาํ บลนาปา มีทศั นียภาพสวยงาม เปนแหลง เรียนรูทเ่ี หมาะสมในการเปน ศนู ยเ รียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป ระจาํ ตําบลนาปา 4. กศน.ตาํ บลนาปา สามารถนําเทคโนโลยมี าแกไ ขปญหา สรา งนวตั กรรมเพ่ือ อํานวยความสะดวก พฒั นานวัตกรรมใหมสกู ารพฒั นาอาชีพในอนาคต โดยนอมนาํ หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือปลูกฝงการปฏิบตั ิตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสอดคลอ งกับ แนวทาง/กลยทุ ธการดาํ เนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาํ เภอเมอื ง ชลบรุ ี คอื อตั ลกั ษณ “กา วไปในยคุ ดจิ ทิ ัล” และเอกลักษณ “องคก รออนไลน” 5. เพมิ่ พนู ความรู ทักษะ ประสบการณ 6. ชวยลดการใชพ ลังงานไฟฟา ทาํ ใหเ กดิ การประหยดั คาใชจ า ย 7. ชว ยลดสภาวะโลกรอ น

3 บทท่ี 2 เอกสาร/ทฤษฏ/ี หลกั การที่เกย่ี วขอ ง โซลารเซลล (Solar Cell) โซลารเซลล หรือ เซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) หรือ เซลลโฟโตโวลตาอิก (Photovoltaic Cell) คือ อปุ กรณอิเล็กทรอนิกส ที่ทําจากสารกึ่งตวั นําชนิดพิเศษ ทีม่ ีคณุ สมบัติในการ เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย ใหเปนพลังงานไฟฟาโดยกระแสไฟฟาท่ีผลิตไดจากโซลารเซลลนั้น จะเปน ไฟฟากระแสตรง (Direct Current) ซึ่งเราสามารถนํามาใชประโยชนไดทันที รวมท้ังสามารถเก็บไวใน แบตเตอรี่เพื่อใชงานภายหลังไดพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดจากแผงโซลารเซลล จัดวาเปนแหลงพลังงาน สะอาดและไมสรางมลภาวะแกสิ่งแวดลอมและไมปลอยกาซเรือนกระจก (Co2) เหมือนกับแหลง พลังงานอ่ืน ๆ เชน น้ํามัน โรงไฟฟาท่ีมีกระบวนการผลิตจากกาซธรรมชาติ และถานหิน โซลารเซลล (Solar Cell) เปน พลังงาน ทใี่ ชแลว ไมม ีวันหมดไปลกั ษณะทางพฤกษศาสตร รูปภาพที่ 1 สว นประกอบ โซลารเ ซลล (Solar Cell) ทมี่ า : https://shorturl.asia/8hzOB หลกั การทํางาน การทํางานของโซลารเซลล (Solar Cell) เปนกระบวนการเปล่ียนพลังงานแสงให เปนพลังงานไฟฟาไดโดยตรงโดยเม่ือแสงซึ่งเปนคล่ืนแมเหล็กไฟฟาและมีพลังงานไปกระทบกับสารก่ึง ตัวนํา จะเกิดการถายทอดพลังงานระหวางกันพลังงานจากแสงจะทําใหเกิดการเคล่ือนท่ีของ กระแสไฟฟา (อเิ ลคตรอน) ขน้ึ ในสารกงึ่ ตวั นํา เราจงึ สามารถตอกระแสไฟฟา ดงั กลาวไปใชง านได รูปภาพที่ 2 การทาํ งานของโซลารเซลล (Solar Cell) ทมี่ า : https://shorturl.asia/8hzOB

4 1. N-Type คอื แผน ซลิ ิคอน ท่ผี านกระบวนการ โดปปง (Doping) ดว ยสาร ฟอสฟอรัส ทาํ ใหม ีคุณสมบตั เิ ปน ตวั สง อเิ ลก็ ตรอน เมือ่ ไดร บั พลงั งานจาก แสงอาทติ ย 2. P-Type คอื แผน ซิลิคอน ที่ผา นกระบวนการ โดปปง (Doping) ดวยสารโบรอน ทําใหโครงสรา งของอะตอมสูญเสียอิเลก็ ตรอน (โฮล) โดยเมอื่ ไดร ับพลังงานจาก แสงอาทิตย จะมีคณุ สมบตั ิเปน ตวั รับอเิ ล็กตรอน หลกั การทาํ งานคือ เมื่อมีแสงอาทิตยตกกระทบ แสงอาทิตยจ ะถา ยเทพลงั งานใหก บั อิเลก็ ตรอน และโฮล ทําใหเ กิดการเคลือ่ นไหวขึน้ โดยอเิ ล็กตรอนก็จะเคลอ่ื นไหวไปรวมตัวกันที่ Front Electrode และโฮลกจ็ ะเคลอื่ นไหวไปรวมตัวกนั ท่ี Back Electrode และเมอ่ื มีการเชื่อมตอ ระบบ วงจรไฟฟาจาก Front Electrode และ Back Electrode ใหค รบวงจร ก็จะเกิดเปนกระแสไฟฟา ขึน้ ใหเราสามารถนําไปใชงานได ชนดิ ของโซลารเซลล รูปภาพท่ี 3 ชนดิ ของแผงโซลารเ ซลล ทม่ี า : https://shorturl.asia/8hzOB แผงโซลารเซลลแบงออกเปน 3 ชนดิ ดังน้ี 1. แผงโซลารเซลลชนิด โพลีคริสตัลไลน (Poly Crystalline) เปนแผงโซลารเซลล ชนิดแรก ที่ทํามาจากผลึกซิลิคอนบางคร้ังเรียกวา มัลติ-คริสตัลไลน (Multi-Crystalline) โดย กระบวนการผลิตจะนําเอาซิลิคอนเหลว มาเทใสโมลดที่เปนส่ีเหล่ียม กอนจะนํามาตัดเปนแผน บางอีกที จงึ ทําใหแตล ะเซลลเ ปน รปู สเ่ี หลย่ี มจตั รุ ัส สขี องแผงจะออกสีนาํ้ เงนิ 2. แผงโซลารเซลลชนิด โมโนคริสตัลไลน (Mono Crystalline) เปนแผงโซลารเซลล ท่ีทํามาจาก ผลึกซิลิคอนเชิงเด่ียว (Mono- Silicon) บางครั้งเรียกวา Single Crystalline ลักษณะแตละเซลลเ ปนสี่เหลีย่ มตดั มมุ ทงั้ สี่มุม และมีสีเขม ทาํ มาจากซลิ คิ อนท่มี คี วามบริสทุ ธิส์ ูง กวนใหผลกึ เกาะกันท่ีแกนกลาง ทําใหเกดิ แทงทรงกระบอก จากน้นั นาํ มาตัดใหเปนส่ีเหล่ียมและ ลบมมุ ทงั้ สี่ออก ทาํ ใหไดประสิทธิภาพสูงสุด และลดการใชว ัตถดุ บิ Mono- Silicon ลง กอ นทีจ่ ะ นํามาตัดเปน แผนอกี ที

5 3. แผงโซลารเซลลชนิด ฟลมบาง (Thin Film) เปนแผงโซลารเซลลท่ีทํามาจาก การ นําสารท่ีแปลงพลังงานแสงเปนพลังงานไฟฟา มาฉาบเปนช้ันบางๆ ซอนกันหลายๆชั้น จึงเรียก โซลารเซลลชนิดนี้วา ฟลมบาง (thin film) แผงโซลาเซลล ชนิดฟลมบาง มีประสิทธิภาพเฉล่ีย อยูที่ 7-13 % ท้ังนี้ขึน้ อยูกบั ชนดิ ของวัสดทุ ีน่ ํามาทาํ เปน ฟลม ฉาบ โซลารชารจเจอร ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย หรือ \"โซลารเซลล\" ซ่ึงเปนพลังงานทดแทน ท่ีนิยมมากที่สุดใชในปจจุบัน เน่ืองจากเปนพลังงานท่ีบริสุทธ์ิไมเปนมลพิษตอส่ิงแวดลอม การผลิต ไฟฟาจากโซลารเซลลน้ัน จะเริ่มตนจากแผงรับแสงอาทิตยแปลงเปนไฟฟากระแสตรง และชารจเขา แบตเตอร่ี ซึ่งกอนจะทําการชารจเขาแบตเตอรี่ไดน้ันจําเปนจะตองมีตัว ควบคุมการชารจประจุไฟฟา หรือโซลารชารจเจอรคอนโทรลเลอร เพ่ือท่ีจะยืดอายุการใชงานแบตเตอร่ีและทําใหไมเกิดความ เสียหายตอระบบอีกดวย อุปกรณช้ินน้ีจึงเปนอุปกรณสําคัญที่ขาดไมไดในระบบผลิตไฟฟาโซลารเซลล โดยทั่วไปแลวโซลารชารจเจอรจะแบงออกเปนสองประเภท ไดแก PWM (Paluse Width Module) และ MPPT (Max Power Point Tracking) ดงั นี้ 1. โซลารชารจเจอร แบบ PWM (Paluse Width Module) จะมีหลักการทํางานก็ คือ ควบคุมความถ่ีของคลื่นไฟฟาจากแผงโซลารเซลลใหคงท่ี ดวยระบบดิจิตอล (Digital) เพื่อให ประหยัดพลังงาน โดยมขี นาดตัง้ แต 10A - 60A และแรงดัน Input ตัง้ แต 12V - 96V 2. โซลารชารจ เจอร แบบ MPPT (Maximum Power Point Tracking) หลกั การ ทาํ งานคอื มีระบบไมโครโพรเซสเซอร หรือตวั จับสญั ญาณ คอยควบคมุ ดแู ลสัญญาณไฟฟา ท่ีไดจ ากแผง โซลารเซลล เปรยี บเทยี บกบั แรงดันกระแสในแบตเตอรี่ และเลอื กสญั ญาณทีส่ งู ท่สี ุดจากแผงเพื่อประจุ ลงในแบตเตอรีใ่ หเ ต็มตลอดเวลา รูปภาพท่ี 4 โซลารชารจ เจอร ทม่ี า : https://shorturl.asia/awmUk

6 ปม นา้ํ ปมนํ้า คือ เคร่ืองมือท่ีชวยในการสงน้ํา ประกอบดวย Mechanic และ Electricity / Engine มี 2 สวน คือ หัวปม มอเตอร และมอเตอรทาํ หนาท่ีหมนุ ใหตัวปมเคลอ่ื นที่ เพ่ือผลักนํ้าจากจุด หนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง โดยแรงดัน และปริมาณน้ํา ตามการออกแบบของแตละการใชงาน ชวยเสริมน้ําให แรงขึ้นไปถึงอีกจุดหนึ่งไดพรอมกับปริมาณนํ้าท่ีเพิ่มมากขึ้น ถาเราตองการปริมาณน้ํามาก แรงดันจะ นอ ย ถา เราตองการปริมาณนาํ้ นอ ย แรงดนั จะมาก รูปภาพที่ 5 ปม นา้ํ ที่มา : https://shorturl.asia/aCqjp ระบบพนหมอก แบงไดเปน 3 ประเภท ตามแรงดัน และประเภทของปม ระบบพนหมอกแรงดันตํ่า เปนระบบพนหมอกที่สามารถตอตรงเขากับระบบ ประปาของบาน (ที่มีปมอยูแลว) ไดทันที มีแรงดันอยูที่ระหวาง 4-20 บาร สามารถขับหัวพนหมอก เบอร 1 2 และ 3 ได สําหรับจํานวนหัวที่สามารถตอไดโดยไมตองใชปมเสริมคือประมาณ 5 หัว (ขึ้นอยูกับความยาวของสาย และระยะหางของแตละหัว) แตหากระบบประปาท่ีบานไมมีปมน้าํ อาจ เลือกใชปมขนาดเล็กอยางปม DC 12 โวลต โซลินอยดวาวล แลวตอสายยางเพื่อเพิ่มแรงดัน ก็ถือ เปนตัวเลือกที่งายเเละประหยัด ทั้งนี้นอกจากจะหาซื้อชุดพนหมอกแรงดันต่ําไดจากรานจําหนาย อุปกรณจัดสวนท่ัวไปเเลว ยังสามารถซ้ือจากเว็บชอปปงออนไลนตาง ๆ ไดดวย ระบบพนหมอกแรงดันสูง เปนระบบพนหมอกที่ใชปมขนาดกลางมีแรงดันอยูที่ประมาณ 20-70 บาร สามารถ พนหมอกไดละเอียดกวา และตอเขากับหัวพนไดจํานวนเยอะกวา นิยมใชกับโรงเรือนทางการเกษตร เพราะใหละอองนํ้าที่มีฝอยละเอียดกวา โดยทั่วไปสามารถตอไดประมาณ 20 หัวพน แตอาจตองใช ความชํานาญในการเดินระบบเพื่อไมใหเกิดการรั่วซึม และยังมีราคาที่สูงกวาปมแรงดันต่ํา คอนขางมาก ระบบพนหมอกแรงดันปม 3 สูบ เปนระบบพนหมอกท่ีใชกับปม 3 สูบ ในการเกษตร มีแรงดันอยูที่ประมาณ 20-50 บาร เชนเดียวกับระบบพนหมอกแรงดันสูง แตให Flowrate หรือ อัตราการไหลของนา้ํ ท่ีมากกวา จึงสามารถรองรับหัวพนหมอกไดเปนรอยหัวเลยทีเดียว โดยขึ้นอยูกับเบอรของหัวพน และขนาดของ ปม แตมีขั้นตอนการติดตั้งคอนขางยาก และมีราคาสูง จึงมักจาํ กัดการใชงานอยูเพียงแตใน อุตสาหกรรมการเกษตรขนาดใหญ

7 สว นประกอบของโครงงาน “แคใ ชน้วิ กฟ็ น ได รดนาํ้ งา ยงาย สไตลโ ซลารเซลล” โครงงาน “แคใชน วิ้ ก็ฟน ได รดน้าํ งา ยงา ย สไตลโ ซลารเ ซลล” เปน เครือ่ งรดนํา้ ตนไม อตั โนมัติโดยใชพลังงานโซลารเซลล ในการผลติ กระแสไฟฟา ประกอบดวยวสั ดอุ ปุ กรณ ดงั นี้ 1. แผงวงจรไฟฟา มลี ักษณะเปน แผงวงจรไฟฟา ขนาดกวา ง 30 เซนตเิ มตร ยาว 43 เซนติเมตร มหี นา ทเ่ี ปนศูนยกลางการควบคุมการทาํ งานของระบบตาง ๆ โดยแผงวงจรไฟฟา ประกอบไปดว ยอปุ กรณ 4 ชนิด ไดแ ก 1.1. เบรกเกอร (Breaker) DC ขนาด 200V 20A จํานวน 2 ตวั 1.2. โซลาร ชารจ เจอร คอนโทรลเลอร (Solar Charge Controller) 12/24 10A แบบ PWP จาํ นวน 1 ตวั 1.3. ไวไฟ คอนโทรล (Wifi Control) รุน Wi-Fi-RF + กลอ งพลาสตกิ จํานวน 2 ตัว 1.4. รีเลย (Relay) 12V 30A จาํ นวน 2 ตัว เบรกเกอร (Breaker) เปนอุปกรณท ท่ี ําหนา ที่ในการตดั วงจรไฟฟา แบบอัตโนมตั ิ เม่ือเกดิ ความผดิ ปกตใิ น ระบบ เพ่อื เปนการปองกนั ความเสียหายทจ่ี ะเกดิ ขึน้ กับสายไฟลดั วงจร โดยเบรกเกอร ตวั ท่ี 1 ทาํ หนา ท่ี เปด -ปด การรบั เขาพลังงานจากแผงโซลารเซลลเขาสโู ซลาร ชารจเจอร คอนโทรลเลอร และเบรกเกอร ตัวที่ 2 ทาํ หนาทีเ่ ปด-ปด การเขา พลังงานจากโซลาร ชารจ เจอร คอนโทรลเลอรมาเก็บทแี่ บตเตอรี่ โซลาร ชารจเจอร คอนโทรลเลอร (Solar Charge Controller) เปน อปุ กรณทีท่ ําหนาทคี่ วบคมุ การชารจ แบบ Pulse Width Modulation สําหรับระบบชารจ แบตเตอรี่ 12V หรอื 24V กระแสชารจสูงสดุ ไมเ กนิ 10A และมฟี ง กชน่ั Timer เพอื่ ตง้ั เวลาการ เปดปด อปุ กรณไ ฟฟก ระแสตรง) ไวไฟ คอนโทรล (Wifi Control) เปน อปุ กรณอ ิเล็กทรอนิกสทใ่ี ชก ันอยา งแพรห ลายในวงจรควบคุมอตั โนมัติ ทําหนาทีเ่ ปรยี บเสมอื นสวิตซไ ฟ ทใี่ ชแรงดันไฟฟา ในการเปดและปดอุปกรณไ ฟฟา เพอื่ ควบคุมวงจรตา ง ๆ แผงวงจรไฟฟา 2. แผงโซลินอยดวาลว (Solenoid Valve) ขนาด 6.5W 12VDC จาํ นวน 2 ตวั และปม นาํ้ จํานวน 1 ตวั นาํ มาตอ เขาดว ยกัน โซลินอยดว าลว (Solenoid Valve) คอื ระบบวาลว ที่ใชพ ลงั งานไฟฟา ในการควบคุมการเปด ปด วาลว โดยใชพ ลงั งานไฟฟา เขา ไปที่ขดลวด เพอื่ บงั คบั ควบคมุ แทง เหล็กทีท่ ําหนาที่เปนลน้ิ วาลว การเปดหรือปด เพือ่ ใหนาํ้ , อากาศ หรือกา ซ ไหลผา น

8 ปม นา้ํ คอื เครื่องมอื ที่ชว ยในการสงน้าํ ประกอบดวย mechanic และ Electricity / engine มี 2 สวน มหี วั ปม และมอเตอร มอเตอรท ําหนา ที่หมนุ ใหตัวปมเคล่อื นทีเ่ พื่อผลกั นาํ้ จากจดุ หนงึ่ ไปอีกจุดหน่งึ ไปโดยแรงดัน และปรมิ าณนํ้า ตามการออกแบบของแตละการใชง าน ชว ยเสริมนาํ้ ใหแ รงข้นึ ไปถึงอีกจดุ หนงึ่ ไดพ รอมกับ ปริมาณนํ้าท่เี พิ่มมากขน้ึ ปม นํา้  แผงโซลนิ อยดวาลว โซลินอยดวาลว (Solenoid Valve) 3. แบตเตอรี่ (Battery) รุน 574H28L ขนาด 12V 74Ah จํานวน 1 ตัว แบตเตอร่ี (Battery) เปน อุปกรณทาํ หนาทีใ่ นการเกบ็ แสไฟฟาสาํ รอง แบตเตอร่ี (Battery) 4. แผงโซลารเซลล (Solar cell) ขนาดกวาง 68 เซนตเิ มตร ยาว 102 เซนตเิ มตร ขนาด 100W 18.2V 5.49A จาํ นวน 1 ตวั แผงโซลารเซลล (Solar cell) มหี นา ทร่ี บั แสงแดด เปล่ยื นเปน พลังงานไฟฟา แผงโซลารเซลล (Solar cell) 5. รีเลย (relay) คืออุปกรณอ เิ ลก็ ทรอนกิ สท ใ่ี ชกันอยางแพรหลายในวงจรควบคมุ อตั โนมตั ิ ทาํ หนา ท่เี ปรียบเสมอื นสวิตชไฟ ท่ใี ชแรงดนั ไฟฟา ในการเปด และปด อปุ กรณไฟฟา เพอื่ ควบคุม วงจรตางๆ รีเลย (relay)

9 6. ฐานวางแผงโซลารเซลล มีลกั ษณะเอียง 30องศา เวลารับแสงแดดใหห นั ทางทศิ ใต เพื่อรับแสงแดด ขนาดกวา ง 68 เซนติเมตร ยาว 102 เซนตเิ มตร ดา นหนาสงู 118 เซนตเิ มตร ดานหลงั สูง 134 เซนตเิ มตร จาํ นวน 1 โครง ฐานวางแผงโซลารเซลล จดั ทําขนึ้ เพื่อปรบั วางตามองศาใหเ หมาะสมกบั ท่อี ยู ฐานวางแผงโซลารเ ซลล 7. แผงรดน้าํ ตนไมอตั โนมัติ ประกอบดวยทอPVC ขนาดทอ 20 มิลลเิ มตร (3/4 นิ้ว) ยาว 102 เซนตเิ มตร ขนาดกวา ง 106 เซนติเมตร สูง 66 เซนตเิ มตร จํานวน 2 ชดุ และ ขนาดสูง 107 เซนตเิ มตร จาํ นวน 2 อนั (สาํ หรบั ทําเสา) แผงรดน้ําตนไมอตั โนมตั ิ 8. ชดุ พนหมอก ประกอบดว ยอปุ กรณ 4 ชนิด ไดแ ก 8.1 หวั พน ละอองนํา้ ลอ มขอตอ สามทาง จาํ นวน 14 ชนิ้ 8.2 สายไมโคร 5/7 มลิ ลิเมตร ยาว 180 เซนตเิ มตร 8.3 ขอตอสายไมโคร จาํ นวน 14 ช้ิน 8.4 ตวั ปด สายไมโคร จํานวน 2 ชิน้ ชุดพน หมอก 9. ไฟเขียว 12V ขนาด 3 นว้ิ จาํ นวน 2 หลอด ไฟเขยี ว 12V แสดงสถานะการทาํ งานของแผงรดน้ําตนไมอัตโนมัติ

10 10. สามารถสั่งการเปด -ปดการทาํ งานของระบบผา นแอพพลิเคชันบนสมารท โฟน ข้นั ตอนวิธกี ารดาวนโหลดแอพพลิเคชนั eWeLink บนสมารท โฟน

11 บทที่ 3 อปุ กรณแ ละวธิ ีการศกึ ษา จากการที่ผูจัดทําไดสืบคนควาขอมูลตาง ๆ ท้ังจากรุนพี่ อินเตอรเน็ต และผูรู ที่ตองการ แกปญหาท่ีเกิดข้ึนใน กศน.ตําบลนาปา ซ่ึงเนนการแกปญหาใกลตัวในชีวิตประจําวัน โดยการนําพลังงาน ทดแทนมาประดิษฐเปนชิ้นงานเครื่องรดนํ้าตนไมอัตโนมัติ นั้น จึงทําใหเกิดแนวคิดการทําโครงงาน “แคใชน้ิวก็ฟนได รดนํ้างายงาย สไตลโซลารเซลล” ที่เปนเครื่องรดน้ําตนไมอัตโนมัติ สามารถออกแบบ และพัฒนานําไปใชงานไดจริง เปนการอนุรักษพลังงานไฟฟา ประหยัดพลังงานไฟฟาจาการใชพลังงาน แสงโซลารเซลล การทํางานของวงจรไฟฟา การทํางานของแผงโซลารเซลล กลไกการทํางานของการเก็บ กระแสไฟฟา อีกท้ัง ยังสามารถนําเครื่องสมารทโฟน มาอํานวยความสะดวกในการเปดปดนํ้ามาแกไข ปญ หาทางดา นเวลาและแรงงานคน และสามารถตอยอดเปนอาชพี เสริมได โดยเนนใชว สั ดเุ หลอื ใช เพอื่ เปน การประหยดั คา ใชจ า ย รวมท้งั ลดสภาวะโลกรอนไดอกี อุปกรณ เบรกเกอร (Breaker) โซลินอยดว าลว 6.5W 12VDC ไวไฟ คอนโทรล รนุ Wi-Fi-RF จาํ นวน 2 ตวั จาํ นวน 2 ตวั จํานวน 2 ตวั โซลาร ชารจ เจอร คอนโทรลเลอร . แผงโซลารเซลล 100W 18.2V 5.49A 12/24 10A แบบ PWP จํานวน 1 ตวั จาํ นวน 1 แผง

12 เหลก็ ทําฐานวางแผงโซลารเ ซลล กวาง 68 cm ยาว 102 cm แผงรดนา้ํ ตน ไมอตั โนมตั ิ กวาง 106 cm สงู 66 cm จํานวน 1 โครง จาํ นวน 2 ชดุ แบตเตอร่ี รนุ 574H28L 12V 74Ah ชดุ พนหมอก จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตวั - หวั พน ละอองนาํ้ ลอมขอตอ สามทาง - สายไมโคร 5/7 มิลลเิ มตร ยาว 180 cm - ขอตอ สายไมโคร จาํ นวน 14 ชน้ิ - ตวั ปดสายไมโคร จํานวน 2 ชิ้น ไฟเขียว 12V ขนาด 3 นว้ิ สายไฟ PV1-F (สดี าํ /สีแดง) ขนาด 6 mm2 ยาว 8 เมตร จํานวน 2 หลอด จาํ นวน 2 มวน ขอ งอ PVC จํานวน 12 อนั

ปม นา้ํ ขนาด 12 V 74 A 13 จํานวน 1 ตวั ถงั น้ํา ขนาด 50 ลติ ร จาํ นวน 1 ใบ กาวเชือ่ มทอ PVC จาํ นวน 1 กระปอ ง ลูกลอยตัดนํา้ อตั โนมัติ ขนาด ½ นว้ิ ขอ ตอ PVC 3 ทาง ชดุ บัดกรี จํานวน 1 อนั จาํ นวน 4 อนั จาํ นวน 1 ชดุ เครอ่ื งมัลติมเิ ตอร ครีมปอกสายไฟ ขั้ว MC4 ตอแผงเขาระบบวงจร จาํ นวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จาํ นวน 2 คู เลอ่ื ย ตลับเมตร ไขควงแฉก ไขควงแบน แปน กาวรัดสายเคเบ้ิลไทร ขนาด 21x21mm จาํ นวน 5 อัน สายยางใส ขนาด 2.7 ม. สายคบี แบตเตอร่ี คอ น จาํ นวน 2 เสน จาํ นวน 1 ชดุ

14 วิธกี ารดําเนนิ งาน 1. โครงงานนี้เรม่ิ ปฏบิ ตั ิงานเมอ่ื วนั ท่ี 1 มิถนุ ายน 2565 สิ้นสดุ การปฏบิ ตั ิงานวันที่ 10 กรกฎาคม 2565 2. ขั้นตอนการดําเนนิ งาน 2.1. จัดหากลมุ การดําเนินงาน เลือกเนอื้ หาและวเิ คราะหใหส อดคลอ งกบั วิชาทเ่ี รียน 2.2. ประชุมวางแผนการดําเนินงาน ศกึ ษา คนควา หาความรกู ารประดิษฐคิดคน การตอวงจรไฟฟา การใชพ ลงั งานทดแทน 2.3. จัดเตรยี มวัสดุอปุ กรณท ีใ่ ชใ นการทาํ โครงงาน “แคใ ชนวิ้ ก็ฟนได รดนาํ้ งา ยงา ย สไตลโ ซลารเซลล” 2.4. ลงมอื โครงงาน “แคใ ชนวิ้ กฟ็ น ได รดนา้ํ งา ยงา ย สไตลโซลารเ ซลล” 2.5. บันทกึ การปฏิบัตงิ าน 2.6. จัดทําเอกสารประกอบโครงงาน 2.7. สรปุ ผลการดาํ เนินงาน แผนการปฏิบตั ิงานมีดงั น้ี การดําเนนิ งาน ระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน ( สัปดาห ) 1. จัดหากลมุ การดาํ เนนิ งาน เลือก มิถนุ ายน 2565 กรกฎาคม 2565 เนอ้ื หาและวเิ คราะหใ หส อดคลองกบั 123 4 1 234 วชิ าที่เรยี น 2. ประชุมวางแผนการดาํ เนนิ งาน ศึกษา คน ควา หาความรกู ารประดษิ ฐคิดคน การตอวงจรไฟฟา การใชพ ลงั งาน ทดแทน 3. หาวสั ดุอุปกรณท ใ่ี ชใ นการทาํ โครงงาน “แคใชน ว้ิ กฟ็ น ได รดนํ้างา ยงาย สไตลโซลารเซลล” 4. ลงมอื ทาํ โครงงาน “แคใ ชนิว้ กฟ็ นได รดน้าํ งา ยงาย สไตลโซลารเซลล” 5. บันทึกการปฏบิ ัติงาน 6. จัดทาํ เอกสารประกอบโครงงาน 7. สรปุ ผลการดาํ เนินงาน

15 ขนั้ ตอนการทําโครงงาน “แคใ ชน ว้ิ ก็ฟน ได รดนาํ้ งา ยงาย สไตลโ ซลารเซลล” 1. นาํ วัสดุอุปกรณท ี่เตรียมไวเ อามารวมกันเพอ่ื ใหเราแนใจวา วสั ดุอุปกรณนน้ั ครบและสะดวกตอการ ประดษิ ฐช ิน้ งาน 2. นาํ เหลก็ ยาวประมาณ 6 เมตร จาํ นวน 3 เสน มาตัดแบง ตามขนาดใหม คี วามกวาง 68 เซนตเิ มตร ยาว 102 เซนตเิ มตร ดา นหนา สูง 118 เซนตเิ มตร ดา นหลังสูง 134 เซนตเิ มตร เพื่อทาํ ฐานวางแผง โซลารเ ซลล ใหมลี ักษณะเอียง 30องศา เวลารบั แสงแดดใหหันทางทศิ ใต เพอื่ รบั แสงแดด จํานวน 1 โครง 3. จากนั้นประกอบแผงวงจรไฟฟา มลี ักษณะเปน แผงวงจรไฟฟา มขี นาดกวา ง 30 เซนติเมตร ยาว 43 เซนตเิ มตร มหี นา ท่ีเปนศูนยกลางการควบคุมการทํางานของระบบตา ง ๆ โดยแผงวงจรไฟฟา ประกอบไปดวยอุปกรณ 4 ชนดิ ไดแก 3.1. เบรกเกอร (Breaker) DC ขนาด 200V 20A จํานวน 2 ตวั 3.2. โซลาร ชารจ เจอร คอนโทรลเลอร (Solar Charge Controller) 12/24 10A แบบ PWP จาํ นวน 1 ตวั 3.3. ไวไฟ คอนโทรล (Wifi Control) รุน Wi-Fi-RF + กลองพลาสตกิ จาํ นวน 2 ตวั 3.4. รีเลย (Relay) 12V 30A จํานวน 2 ตวั 4. จากนนั้ ประกอบแผงโซลนิ อยดว าลว คือ ระบบวาลว ทใี่ ชพ ลงั งานไฟฟา ในการควบคุมการเปดปดวาลว โดยใชพ ลงั งานไฟฟา เขาไปท่ขี ดลวด เพือ่ บังคบั ควบคุมแทง เหลก็ ที่ทําหนา ทเ่ี ปนลิ้นวาลว การเปดหรือปด เพ่ือใหน ้าํ , อากาศ หรอื กา ซ ไหลผาน ขนาดกวา ง 25 เซนติเมตร ยาว 32 เซนตเิ มตร โดยแผงโซลินอยดว าลว ประกอบไปดวยอปุ กรณ 2 ชนิด ไดแก โซลนิ อยดวาลว กับ ปม นาํ้

16 5. ประกอบแผงรดนาํ้ ตนไมอัตโนมัติ ประกอบดวยทอ PVC ขนาดทอ 20 มิลลิเมตร (3/4 นว้ิ ) ยาว 102 เซนติเมตร ขนาดกวา ง 106 เซนตเิ มตร สูง 66 เซนตเิ มตร จาํ นวน 2 ชดุ และ ขนาดสูง 107 เซนติเมตร จํานวน 2 อนั (สาํ หรบั ทาํ เสาเพ่อื ตอหลอดไฟเขยี ว 12V ขนาด 3 นวิ้ จํานวน 2 หลอด เพื่อแสดงสถานะการทาํ งานของแผงรดนาํ้ ตน ไมอตั โนมตั )ิ 6. ทําการทดสอบตวั แบตเตอรว่ี า มีกระแสไฟฟา จดั ก็บไวทแี่ บตเตอรีห่ รือไม โดยคา การแสดงผล จะแสดงคา ทีโ่ ซลาร ชารจเจอร คอนโทรลเลอร จากนนั้ ตวั ไวไฟ คอนโทรล ซ่งึ เปน อุปกรณ อิเล็กทรอนิกสค วบคมุ วงจรอตั โนมัติ สามารถเปดและปด อปุ กรณไฟฟา เพอื่ ควบคมุ วงจร ตา ง ๆ จะนาํ กระแสไฟฟา จากแบตเตอรี่ มาจา ยใหก บั อุปกรณต า ง ๆ ไดแ ก ปมนาํ้ โซลินอยดวาลว รีเลย และไฟแสดงสถานะ ทําใหป มนาํ้ สามารถจา ยนา้ํ ไปทโ่ี ซลนิ อยดว าลว จากน้นั ระบบวาลวทใ่ี ช พลงั งานไฟฟา ในการควบคมุ การเปด ปด วาลว โดยใชพลังงานไฟฟา เขา ไปทีข่ ดลวด เพ่อื บงั คบั ควบคุมแทง เหลก็ ทีท่ าํ หนาที่เปน ลิ้นวาลว การเปดหรือปด เพื่อใหน้าํ , อากาศ หรือกา ซ ไหลผา นแผงรดนํ้าตน ไมอตั โนมัติ 7. ทําการทดสอบส่ังการเปด -ปดระบบนา้ํ ผา นแอพพลเิ คชันบนสมารทโฟน เพ่ือหาคา ความเชอ่ื มั่น (ตอ งการเปด -ปดนา้ํ จากระยะไกล อยูท่ไี หนก็เปด -ปดได หรอื ตองการตงั้ เวลาเปด-ปด นํา้ กส็ ามารถสัง่ ไดตรงตามที่ตองการ) ทําการทดสอบตา งสถานท่ี และต้งั เวลาเปด-ปดนา้ํ ตามท่ีเราตองการ ไมวา จะเปน ในรูปแบบการหนวง เวลา ตงั้ เวลานบั ถอยหลงั และสามารถเลอื กตง้ั วนั และเวลาลว งหนา ได

17 ขนั้ ตอนการดําเนินการทดลอง การดําเนนิ การโครงงาน “แคใชน ้วิ ก็ฟนได รดน้ํางา ยงาย สไตลโ ซลารเ ซลล” เพ่ือ เปรียบเทยี บกับวัตถปุ ระสงคท ต่ี ้ังไวโ ดย สามารถแบง ข้ันตอนในการดาํ เนินการได 3 ข้นั ตอนดงั น้ี ตอนที่ 1 สรา งวงจรควบคมุ ระบบเปด-ปดน้ําอัตโนมัติ รว มกบั การตดิ ต้ังแผงโซลารเ ซลล ตอนที่ 2 ทดสอบระบบและปรบั ปรงุ ระบบ ตอนท่ี 3 นําแอปพลิเคชัน eWeLink (Smart Wifi) มาตดิ ต้งั เพอ่ื สั่งการเปด -ปด การทาํ งานของ ระบบนํ้าผานแอพพลิเคชันบนสมารท โฟน

18 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา หลังจากที่ดําเนินการสรางโครงงาน “แคใชน้ิวก็ฟนได รดน้ํางายงาย สไตล โซลารเซลล” เสรจ็ สมบรณู แลวตอ งมกี ารทดลอง เพ่ือท่จี ะศึกษาและเกบ็ ขอมูลทางดานตา งๆไวส ําหรับ การทดลองและตรวจสอบขอบกพรองของโครงการนแี้ ลว ไดนําผลการทดลองตางๆกลบั มาเปน แนวทาง ในการแกไขและพัฒนาโครงการน้ีใชไดดียิ่งขึ้นและสามารถใชงานในขอบเขตท่ีกวางขวางซ่ึงไดมีการ ทดลองดังนี้ การทดลองโครงงาน“แคใ ชน วิ้ ก็ฟน ได รดนํ้างายงาย สไตลโซลารเ ซลล” ไดจากการทดลองทํางานจริงของโครงงาน“แคใชนิ้วก็ฟนได รดนํ้างายงาย สไตล โซลารเซลล” น้ีสามารถท่ีจะทํางานปฏิบัติงานไดจริงโดยใชพลังงานโซลารเซลล เริ่มจากการเปด แผงวงจรไฟฟา แลวเชื่อมตอแอปพลิเคชันบนสมารทโฟนเขากับตัวไวไฟ คอนโทรล ท้ัง 2 เครื่อง (คอนโทรลตวั ท่ี 1 และ คอนโทรลตัวที่ 2) จากนั้นเครื่องสมารท โฟนจะแสดงผลหนา จอ วาระบบพรอ ม ออนไลน การทดลองมีจาํ นวน 3 ครงั้ และบนั ทึกเวลาในการทดลองแตคร้ัง ตารางผลการทดลองโครงงาน“แคใ ชน ้วิ ก็ฟน ได รดนํ้างา ยงาย สไตลโซลารเ ซลล” คร้ังท่ี ระยะทางในการทดสอบ สถานท่ีในการทดสอบระบบแอปพลเิ คชั่น ระยะเวลา การทดลอง ระบบแอปพลเิ คชั่นบน บนสมารท โฟน การตัง้ ระบบ สมารทโฟน เปด -ปด นํ้า (กโิ ลเมตร) (ผาน/ไมผ า น) 1 0.015 กศน.ตําบลนาปา อ.เมอื งชลบุรี จ.ชลบุรี 10 นาที / ผา น 2 1.300 วัดนาเขอ่ื น ต.นาปา อ.เมืองชลบรุ ี จ.ชลบรุ ี 20 นาที / ผาน 3 14.00 บานนักศึกษา (นางสาวเพ็ญภทั โคตรบตุ ร) 60 นาที / ผาน บานเลขท่ี 167/126 ต.เสม็ด อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบรุ ี ใบบันทึกแสดงผลการทดลองโครงงาน“แคใชน้ิวก็ฟนได รดน้ํางายงาย สไตล โซลารเซลล” โดยทําการทดลองเปด-ปดน้ําจากระยะใกล และระยะไกล ไมวาจะอยูท ่ีไหนกเ็ ปด-ปดได แคเ พยี งใชปลายนว้ิ สัมผัส สามารถตัง้ เวลาในการควบคมุ ระบบเปด -ปดนาํ้ สงู สุด ไมเ กิน 60 นาที ผลการทดลอง : การทํางานของโครงงาน“แคใชนิ้วก็ฟนได รดนํ้างายงาย สไตลโซลารเซลล” เปนการควบคุมระบบผานเครื่องสมารทโฟน โดยมีการทํางาน ผานไวไฟ คอนโทรลท้ังหมด มีดังน้ี 1. เคร่ืองรดน้ําตนไมอัตโนมัติ 2. เก็บพลังงานไฟฟาในการทํางานของโปรแกรมสามารถทําไดดี อุปกรณท่ีนํามาใชคือ 1) แผงวงจรไฟฟา 2) แผงโซลินอยดวาลว 3) แอปพลิเคชัน eWeLink (Smart Wifi)

19 บทท่ี 5 สรุปผลและอภปิ รายผล 1. สรปุ ผลและอภิปรายผล การทดลองเครอ่ื งรดน้าํ ตน ไมอัตโนมัติของโครงงาน“แคใ ชนิว้ กฟ็ นได รดนาํ้ งายงาย สไตลโ ซลารเ ซลล” โดยทําการทดสอบระบบแอปพลิเคช่ันบนสมารทโฟนวา สามารถสงั่ การควบคุมการเปด -ปด น้าํ ใหต รง ตามระยะทาง และเวลาทก่ี าํ หนด ผลการทดลองครัง้ ที่ 1 - กศน.ตาํ บลนาปา อ.เมืองชลบรุ ี จ.ชลบุรี ระยะทาง 15 เมตร - ตงั้ เวลาควบคมุ เปด -ปด 10 นาที สามารถส่ังการไดตรงตามทต่ี อ งการ ผลการทดลองครงั้ ท่ี 2 - วดั นาเขื่อน ต.นาปา อ.เมืองชลบรุ ี จ.ชลบรุ ี ระยะทาง 1.3 กิโลเมตร - ต้ังเวลาควบคมุ เปด-ปด 20 นาที สามารถส่งั การไดตรงตามทต่ี องการ ผลการทดลองคร้ังท่ี 3 - บานนักศึกษา (นางสาวเพ็ญภทั โคตรบุตร) บานเลขที่ 167/126 ต.เสม็ด อ.เมอื งชลบุรี จ.ชลบรุ ี ระยะทาง 14 กโิ ลเมตร - ตง้ั เวลาควบคุมเปด -ปด 60 นาที สามารถสง่ั การไดตรงตามทต่ี อ งการ จากผลการทดลองทัง้ 3 คร้งั สามารถสรปุ ผลการทดลองการเปด-ปดนา้ํ จากระยะใกล หรือระยะไกล ไมว า จะอยทู ีไ่ หนกเ็ ปด-ปดได แคเ พยี งใชป ลายนว้ิ สัมผสั สามารถตง้ั เวลาในการควบคุม ระบบเปด-ปดนํา้ สูงสุด ไมเ กนิ 60 นาที จากการประดษิ ฐโครงงาน“แคใชน ิ้วก็ฟน ได รดนํา้ งายงา ย สไตลโซลารเ ซลล” นนั้ ผูจัดทําโครงงาน สามารถเพ่ิมพูนความรู ทักษะ ประสบการณ ในการเลือกใชวัสดุ และการตอวงจรไฟฟาให เกิดประโยชนสูงสุดและแกไขปญหาไดตรงตามวัตถุประสงค ซ่ึงเนนการแกปญหาใกลตัวในชีวิตประจําวัน จึงคิดคนส่ิงประดิษฐโครงงานตามความสนใจ สามารถบูรณาการวิชาการใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวัน และวิชาโครงงานวิทยาศาสตร และนโยบายสถานศึกษา 3ดี มาใชในการดํารงชีวิต สามารถลดสภาวะโลก รอน ชวยอนุรักษพลังงานไฟฟาโดยใชพลังงานทดแทน ชวยลดการใชพลังงานไฟฟาทําใหเกิดการประหยัด คา ใชจ าย สามารถนําเทคโนโลยมี าแกไขปญ หา สรางนวตั กรรมเพื่ออํานวยความสะดวก พัฒนานวัตกรรมใหม สูการพัฒนาอาชีพในอนาคต โดยนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปลูกฝงการปฏิบัติตนตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสอดคลอ งกบั แนวทาง/กลยุทธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี คือ อัตลักษณ “กาวไปในยุคดิจิทัล” และเอกลักษณ “องคกรออนไลน” ทําให กศน.ตําบลนาปา มีทัศนียภาพสวยงาม เปนแหลงเรียนรูที่เหมาะสมในการเปน ศูนยเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบลนาปา เปนแหลงเผยแพร องคความรู ขยายผลการดําเนินงานและสรางเครือขายในชุมชน กิจกรรมการดําเนินงานขยายผลหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถอํานวยความ สะดวกใหกับนักศึกษา หรือใหผูท่ีช่ืนชอบในการจัดสวนหยอมหรือ เกษตรกรที่ตองการทําการเกษตรใน

20 ลักษณะ “สมารทฟารม ผานสมารทโฟน” เพื่อแกไขปญหาทางดานเวลาและแรงงานคน และสามารถ ลดรายจาย เพ่มิ รายได ตอ ยอดเปน อาชีพเสริมหรอื ประกอบเปนอาชีพได 2. ปญหาและอปุ สรรค ในการทําโครงงาน“แคใชน้ิวก็ฟนได รดน้ํางายงาย สไตลโซลารเซลล” การเลือกใช วัสดุ อุปกรณ ตองมีขนาดท่ีเหมาะสมกัน เชน การเลือกใชขนาดสายยางในการตอเขากับปมน้ําตองมี ขนาดท่ีเหมาะสมกับแรงดันของปมน้ํา และเวลาการตอระบบวงจรไฟฟา การจับคูเพ่ือตอขั้ว MC4 ของแผงโซลารเ ซลล หรือ การใชสายคีบแบตเตอร่ี ขั้วบวก/ขั้วลบ ตองทําดวยความระมัดระวัง เพราะ ถาตอผิดจะสง ผลใหก ดิ การลัดวงจรในระบบ ระบบไฟฟา ชอต และอุปกรณจ ะเกดิ ความเสยี หายได 3. ขอ เสนอแนะและแนวทางการพัฒนา 1. ใหร นุ นองศึกษาและพฒั นาตอไป 2. ใหผทู ่ีสนใจนําไปศกึ ษาและนําไปใชตอในสังคมและชมุ ชน 3. สามารถพัฒนาตอยอดและสรางอาชีพได

บรรณานุกรม CC SOLAR. (2564). “โซลารเ ซลล (Solar Cell) คอื อะไร?” (ระบบออนไลน) เขาถงึ ไดจาก : https://shorturl.asia/8hzOB. (วนั ที่คนขอมลู : 1 มถิ ุนายน 2565). HOME. (2564). “เปดปด นา้ํ ดว ยมือถอื ” (ระบบออนไลน) เขาถึงไดจาก : https://shorturl.asia/aCqjp. (วนั ทค่ี นขอมูล : 1 มถิ ุนายน 2565). SUNPRO-SOLAR. (2564). “โซลารชารจเจอรค ืออะไร? MPPT และแบบ PWM แลว ทาํ ไมตองใช” (ระบบออนไลน) เขา ถงึ ไดจาก : https://shorturl.asia/awmUk. (วันทีค่ น ขอมลู : 1 มถิ นุ ายน 2565).

ภาคผนวก

รูปภาพกิจกรรม วิธีการดําเนนิ งาน 1. โครงงานน้ีเร่ิมปฏิบัตงิ านเมือ่ วันที่ 1 มถิ นุ ายน 2565 ส้ินสดุ การปฏบิ ตั ิงานวนั ที่ 10 กรกฎาคม 2565 2. ขั้นตอนการดําเนินงาน 2.1. จัดหากลมุ การดําเนนิ งาน เลอื กเนอ้ื หาและวิเคราะหใ หส อดคลองกับวชิ าทเี่ รยี น - ผจู ดั ทาํ รวมกนั เลอื กเนื้อหาและวิเคราะหใหส อดคลองกบั วตั ถปุ ระสงคข องวิชาการใช พลังงานไฟฟา ในชวี ิตประจาํ วนั และวชิ าโครงงานวิทยาศาสตร ไดค ดิ คนสิง่ ประดิษฐโครงงานตามความ สนใจของผเู รียน ชมุ ชน และทอ งถน่ิ เพ่อื ใหมีความรูความเขาใจ ทกั ษะ และตระหนกั ถงึ ความจาํ เปน ของการใชพ ลงั งานไฟฟา ในชีวติ ประจาํ วนั 2.2. ประชุมวางแผนการดําเนินงาน ศึกษา คน ควา หาความรกู ารประดิษฐคิดคน การตอวงจรไฟฟา การใชพลังงานทดแทน ประชมุ วางแผนการดําเนนิ งาน ศกึ ษา คน ควา หาความรูก ารประดษิ ฐค ดิ คนการตอ วงจรไฟฟา การใชพ ลงั งานทดแทนจากอาจารยท ป่ี รึกษา รุนพ่ี อนิ เตอรเน็ต สื่อ แหลง เรยี นรู และผูร ู เปนตน

2.3. จัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณทีใ่ ชในการทาํ โครงงาน“แคใ ชนวิ้ ก็ฟนได รดนํา้ งายงา ย สไตลโ ซลารเ ซลล” 2.4. ลงมือโครงงาน“แคใชนิว้ กฟ็ นได รดนาํ้ งา ยงา ย สไตลโ ซลารเ ซลล”

2.5. บันทึกการปฏบิ ัติงาน ทําการทดสอบตา งสถานท่ี และตง้ั เวลาเปด-ปด นา้ํ ตามทีเ่ ราตอ งการ ไมว า จะเปน ในรูปแบบการหนว งเวลา ต้งั เวลานบั ถอยหลงั และสามารถเลอื กตั้งวัน และเวลาลวงหนาได สามารถตง้ั เวลาในการควบคุมระบบเปด -ปดนํา้ สงู สดุ ไมเ กิน 60 นาที สามารถส่ังการเปด-ปดนา้ํ ทงั้ ระยะใกล-ไกล ไดตรงตามทตี่ อ งการแคเพียงปลายนิ้วสมั ผสั 2.6. จดั ทําเอกสารประกอบโครงงาน - ผจู ดั ทําไดจ ดั ทําเอกสารประกอบโครงงาน “แคใ ชน ้วิ กฟ็ นได รดน้าํ งา ยงา ย สไตล โซลารเซลล” ในรปู แบบรปู เลมรายงานผลการดาํ เนนิ งาน จดั บอรดนิทรรศการ คลปิ วีดโี อผา นชองทาง YouTube QR Code และประชาสัมพันธข า วสารทางหนังสอื พมิ พทอ งถนิ่ 2.7. สรุปผลการดาํ เนินงาน - ผจู ดั ทาํ โครงงาน สามารถเพ่มิ พูนความรู ทกั ษะ ประสบการณ ในการเลือกใชว สั ดุ และ การตอวงจรไฟฟาใหเกดิ ประโยชนสูงสุดและแกไ ขปญหาไดต รงตามวัตถุประสงค ซ่งึ เนนการแกปญหา ใกลต วั ในชวี ติ ประจําวัน สามารถบรู ณาการวิชาการใชพ ลงั งานไฟฟา ในชวี ติ ประจําวัน และวชิ า โครงงานวิทยาศาสตร และนโยบายสถานศกึ ษา 3ดี มาใชใ นการดํารงชีวติ สามารถลดสภาวะโลกรอน ชวยอนรุ กั ษพ ลังงานไฟฟา โดยใชพ ลังงานทดแทน ชว ยลดการใชพ ลังงานไฟฟา ทําใหเ กิดการประหยัด คาใชจ า ย สามารถนาํ เทคโนโลยีมาแกไ ขปญ หา สรา งนวตั กรรมเพ่อื อํานวยความสะดวก พัฒนา นวตั กรรมใหมส ูการพฒั นาอาชพี ในอนาคตได รวมทั้งทําให กศน.ตําบลนาปา มที ศั นียภาพสวยงาม เปนแหลงเรยี นรูท่ีเหมาะสมในการเปน ศนู ยเ รยี นรูหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎี ใหมป ระจาํ ตาํ บลนาปา ผูจ ัดทาํ สามารถเพิ่มพนู ความรู ทักษะ ประสบการณ นาํ ไปตอ ยอด และขยายผล และเผยแพรใ หผ ูอ ่นื ได




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook