หลกั สูตรฐานสมรรถนะ ตลุ าคม ๒๕๖๔ @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts.
ปัญหาคุณภาพการศกึ ษาไทย 21/10/64 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 2
ขอ้ เท็จจริงเกย่ี วกบั การศกึ ษาไทย • การศึกษาไทยตกตา่ ลงทกุ ที ดไู ดจ้ ากทกุ สถิติ ทง้ั ในและนอกประเทศ • IMD จดั ความสามารถในการแขง่ ขันปี 2564 ดา้ นการศึกษา ไทยถกู จดั อยูใ่ นอนั ดบั ท่ี 56 จาก 64 เขต เศรษฐกิจท่ัวโลก • การศึกษาไมส่ ามารถพฒั นาเดก็ ไทยใหท้ ่างานเปน็ อยรู่ ่วมกับสงั คม เพราะขาดการฝกึ คิด ฝึกวเิ คราะห์ ฝึกทา่ • การปฏริ ูปการศกึ ษาไม่สามารถเกดิ ที่หอ้ งเรยี น ทา่ ใหเ้ ดก็ ขาดแรงจงู ใจในการเรยี น • แผนปฏริ ูปประเทศดา้ นการศกึ ษา : “การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ…จะสง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง ต่อประชาชนอยา่ งมนี ยั สา่ คญั (Big Rock)” • โรงเรยี นไทยใชห้ ลกั สตู รเดมิ ต้งั แต่ปีพ.ศ. 2551 – ขณะทีป่ ระเทศอื่นๆ พัฒนาคนให้ก้าวทันโลก จะเกิดอะไรขน้ึ ถ้าประเทศไทยไม่พฒั นาคน ? 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 3
ข้อเสนอของคณะกรรมการอสิ ระเพอื่ การปฏริ ูปการศกึ ษา คณะกรรมการฯ ได้ศกึ ษาขอ้ มูลอย่างรอบดา้ นเกย่ี วกับปญั หาการดอ้ ยผลสมั ฤทธ์ิ ของผเู้ รยี นและพบวา่ สาเหตุส่าคญั มาจาก “การที่ผู้เรยี นขาดสมรรถนะท่จี า่ เปน็ ” “ไม่สามารถนา่ ความรู้ทกั ษะและเจตคตไิ ปใช้ในการปฏบิ ตั งิ านต่างๆ ได้” จงึ ได้น่าเสนอแนวคดิ และแนวทางการจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะ พรอ้ มทัง้ ผล การศกึ ษาวิจยั ความเปน็ ไปไดใ้ นการจดั การศกึ ษาตามแนวคดิ ดงั กลา่ วตอ่ คณะรฐั มนตรี เมือ่ ปพี .ศ. 2562 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 4
ข้อจา่ กดั ของหลักสูตรฉบับเดมิ ๒๕๕๑ (ปรบั ปรุงปี ๒๕๖๐) เปน็ หลกั สูตร การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานที่ใชม้ า ๑๓ ปี พบประเด็นส่าคัญยง่ิ คอื หลกั สูตรไม่เอ้อื ใหส้ ังคมไทยเกดิ การพฒั นาและ ปรบั ตัวไดท้ ันตอ่ สภาวการณ์และการเปล่ยี นแปลงท่ีเกิดขน้ึ ในขณะน้ี เนอ่ื งจาก ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชวี้ ดั มจี า่ นวนมาก ซ้า่ ซอ้ น และอิงเน้อื หา ค่อนข้างมาก สง่ ผลให้การจัดการเรยี นรไู้ มห่ ลากหลาย เน้นการจา่ เนอ้ื หา ไปใชเ้ พื่อสอบมากกวา่ การสรา้ งทักษะสา่ คญั จา่ เปน็ ๒. การเรยี นร้ใู นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ หลักสูตรจดั ใหเ้ รยี น ๘ กลมุ่ สาระการ เรยี นรู้ เชน่ เดียวกับระดบั ชน้ั อื่น แทนทจี่ ะเนน้ ไปท่กี ารอ่าน การเขยี น และการคิด คา่ นวณ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 5
๓. การน่าหลักสตู รไปใช้ ไมท่ นั สมยั สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางวทิ ยาการและ เทคโนโลยี และไม่ช่วยใหผ้ ู้เรยี นมีสมรรถนะท่ีเพยี งพอในการใชค้ วามร้ใู นการเผชญิ ปญั หาสงั คมและเศรษฐกจิ ท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๔. ผลการสอบ PISA (Program for International Student Assessment) ท่ีดา่ เนนิ การ โดย OECD (The Organization for Economic Co-operation and Development) สะท้อนให้เห็นวา่ นกั เรียนไทยโดยเฉลยี่ มีความรู้และความสามารถในการใชค้ วามรตู้ ่า กวา่ เกณฑ์มาตรฐานนานาชาติ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 6
เหตุผลส่าคญั ทจ่ี า่ เป็นตอ้ งมีการปรับหลักสูตร การเรียนการสอน และการวัดประเมนิ ผล ให้อยู่บนฐานแนวคดิ เดยี วกัน เน่อื งจากหลกั สตู ร การเรยี นการสอน และการวดั ประเมนิ ผล เป็นองค์ประกอบ สา่ คัญของการจัดการศกึ ษาทมี่ คี วามสมั พนั ธ์กันอย่างเปน็ ระบบ หลกั สูตรตามแนวคิดใดๆ ก็ตาม ล้วนมีเปา้ หมายและจดุ เนน้ ตามแนวคดิ น้นั ๆ ซง่ึ เม่อื กา่ หนดแล้ว องคป์ ระกอบอีก 2 ดา้ น คอื การเรยี นการสอน และการวดั ประเมนิ ผล ก็จะต้องมคี วามสอดคลอ้ งไปในแนวเดยี วกนั จึงจะเออ้ื ใหเ้ กดิ ผลทสี่ มบรู ณ์ ตามเปา้ หมาย 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 7
?ทา่ ไมตอ้ งปฏริ ูปหลักสูตรทง้ั ระบบ หากปรับการเรียนการสอนเปน็ ฐานสมรรถนะ แตย่ งั ใช้หลกั สตู รเดมิ ซึ่งมเี ปา้ หมาย โครงสรา้ งทไ่ี มไ่ ดม้ งุ่ สจู่ ดุ เนน้ ทเี่ ปน็ สมรรถนะ แมว้ า่ จะสามารถท่าได้ แต่จะไดผ้ ลไม่มาก เท่าทค่ี วร เนื่องจากมีความจ่ากดั จากขอ้ ก่าหนดต่างๆ ซึง่ มีเปา้ หมายทแ่ี ตกตา่ งกนั ท่าให้ครมู ีความยากลา่ บากในการปฏบิ ตั ิและอาจทา่ ให้กลับไปสรู่ ะบบเดมิ ในท่สี ดุ การจดั หลกั สตู ร การเรยี นการสอน และการวดั ประเมนิ ผลให้สอดคลอ้ งในแนว เดยี วกนั จงึ เปน็ หลกั การทางการศึกษาใน ”ระดบั สากล” ทใี่ ชใ้ นการจดั การศกึ ษาเสมอมา ไม่วา่ จะเปน็ หลกั สตู รตามแนวคดิ ใด 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 8
จากสภาคณบดคี ณะครุศาสตร์ศกึ ษาศาสตร์ (ประธานสภาคณบดฯี รศ.ดร.สมบัติ นพรกั ) ในการประชมุ คณะกรรมการอา่ นวยการฯ • ผู้เรียนอา่ นไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ด้ ยงั เปน็ ปญั หาเร้อื รัง ทา่ ใหเ้ ด็กเรียนรตู้ ลอดหลกั สูตรอย่างไม่มี ความสุข • โครงสรา้ งของหลักสตู ร น่้าหนักเนื้อหาใหผ้ ้เู รียน ไม่สอดคล้องเหมาะสมกับวยั และพฒั นาการ ผเู้ รยี น เดก็ ประถมฯ ปที่ ่ี 1 เรียน 8 สาระการเรียนรเู้ ท่ากับ เด็กมธั ยมฯ ปีที่ 6 • สภาคณบดี เรากา่ ลงั ดา่ เนนิ การ Big Rock การพัฒนาหลกั สูตร โดย รศ.ดร.ศิรเิ ดช คณบดี คณะครุศาสตรจ์ ฬุ าลงกรณ์ เป็นประธาน • นโยบายกระทรวงอดุ มศกึ ษา : ปรบั หลกั สตู รผลิตครู (ให้ นศ.ครู ทกุ สาขาเรยี น วชิ าการสอน ภาษาไทยเบ้ืองต้นทกุ คน / ออกแบบให้เปน็ ศาสตร์คู่ วิชาเอกคู่ และวิชาเอกโท หลกั สูตรและการ จัดการเรียนรู้ เนน้ การเรียนการสอนแบบบรู ณาการ Multidisciplinary Curriculum และการ จดั การเรยี นรทู้ ่ีมงุ่ สมรรถนะใหม้ ากขึ้น) 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 9
ขอ้ กา่ หนดของรฐั ธรรมนญู รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ ก่าหนดให้ รัฐตอ้ งด่าเนนิ การใหป้ ระชาชนได้รับการศึกษาตามความตอ้ งการในระบบต่างๆ รวมท้งั สง่ เสริมใหม้ กี ารเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตและจัดให้มกี ารร่วมมอื ระหว่างรฐั องคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถิ่น และภาคเอกชน ในการจดั การศกึ ษาทกุ ระดับ โดยรัฐมหี นาท่ดี า่ เนินการ ก่ากบั สง่ เสริม และสนับสนนุ ให้การจดั การศกึ ษามคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐานสากลและ มาตรา ๗๑ ก่าหนดให้รฐั พงึ ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ให้เป็นพลเมอื งท่ดี ี มี คุณภาพและความสามารถสงู ขน้ึ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 10
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก้ ่าหนดมาตรฐานการศกึ ษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ ในรปู แบบของผลลพั ธ์ท่ีพงึ ประสงค์ (Desired Outcomes of Education: DOE) คือ ๑) การเปน็ ผ้เู รยี นรู้ ๒) การเปน็ ผู้รว่ มสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม และ ๓) การเป็นพลเมอื งทเี่ ขม้ แข็ง โดยมคี า่ นยิ มรว่ มคอื ความเพียรอันบริสทุ ธ์ิ ความพอเพยี ง วิถปี ระชาธปิ ไตย ความเทา่ เทียมเสมอภาค และให้มลี กั ษณะนิสยั และคณุ ธรรมพ้นื ฐานที่ดงี าม เช่น ความมีวนิ ัย ความขยัน ความซอ่ื สัตย์ ความรับผิดชอบ เป็นตน้ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 11
ความจา่ เป็นตอ้ งปรบั หลักสูตร เหตุผลความสา่ คญั จา่ เปน็ ทตี่ อ้ งพฒั นาหลกั สตู ร ๓ ข้อ ๑. ความเจริญกา้ วหน้าของวทิ ยาการด้านต่างๆ ของโลกปัจจุบัน โดยเฉพาะการ เปลย่ี นแปลงความรแู้ ละเทคโนโลยอี ย่างกา้ วกระโดด ที่นา่ ไปสู่การเป็นสงั คมดจิ ทิ ลั อยา่ ง รวดเร็ว ๒. ประเทศไทยเกิดการเปลย่ี นแปลงทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกจิ ท่กี ระทบวถิ ีชีวิต ของผู้คนอยา่ งไมห่ ยุดย้งั เกิดปญั หาความเหลอ่ื มล้่าทางเศรษฐกจิ และสังคมชัดเจนขนึ้ เร่ือยๆ ๓. ผลสมั ฤทธท์ิ างการศึกษายังไมส่ ะท้อนถึงศกั ยภาพของผู้เรยี นทสี่ ามารถออกไปสู่ สังคมและโลกของการท่างานในอนาคตได้อย่างชดั เจน 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 12 ท่มี า: (รา่ ง) กรอบหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ….
ความจริงเก่ยี วกบั หลักสูตรฐานสมรรถนะ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 13
หลักสูตรสมรรถนะ : เปลยี่ นแปลงอะไรบา้ ง • ปลดลอ็ กตวั ชวี้ ดั ลดชว่ั โมงเรียนในระดบั ประถม ลดจ่านวนสาระในชว่ งชนั้ ตน้ ๆ ลดความ ซา่้ ซอ้ น • เปลย่ี นเปา้ หมายการจดั การเรียนเนน้ สมรรถนะ K S A (Knowledge Skills Attitude) มากกวา่ K (Knowledge) ตวั เดยี ว • เปลย่ี นกระบวนการเปน็ การเรยี นร้เู ชงิ รุก บรู ณาการข้ามศาสตร์มากขน้ึ (Multidisciplinary) และเนน้ ปฎบิ ตั ิ บนฐานของความเชอื่ มโยงกบั สถานการณต์ า่ งๆ ในชีวิตจริง • เปล่ยี นการวดั และประเมนิ ผลจากองิ มาตรฐานตวั ชวี้ ัด เป็นอิงสมรรถนะผู้เรียนรายบคุ คล • หลักสตู รมคี วามยดื หยนุ่ ข้ึน ใหค้ วามสา่ คญั กับบรบิ ทแวดลอ้ ม ใหผ้ ู้เรียนไดร้ บั การพฒั นา ศกั ยภาพเปน็ รายบุคคล 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 14
มาตรฐานการศกึ ษาสากล 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 15
ทา่ ไมโลกจงึ เปลย่ี นไปใชห้ ลกั สตู รสมรรถนะ ▪ ความรมู้ หี ลากหลาย เปล่ียนแปลงเรว็ โลกซบั ซอ้ นขน้ึ เต็มไปดว้ ยความไมแ่ นน่ อน คาดเดาไมไ่ ด้ (VUCA) ▪ ขอ้ เทจ็ จรงิ : การว่างงานสงู ขึ้น…ภาคธุรกจิ พบวา่ เดก็ จบการศกึ ษาแลว้ ทา่ งานไมเ่ ปน็ อยู่รว่ มกบั สงั คมไมไ่ ด้ ▪ หลายประเทศเหน็ ว่าการจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะเนน้ ดแู ลเด็กเปน็ รายบคุ คล จะชว่ ยแกป้ ญั หาให้เดก็ ออก กลางคนั ได้ • การศกึ ษาควรพฒั นาเยาวชนให้มีเคร่อื งมอื เรยี นรู้ตลอดชวี ติ เพอ่ื ปรบั ใชใ้ นสถานการณต์ า่ งๆ ใชด้ ่ารงชวี ติ และท่างานได้ • หลกั สูตรองิ สมรรถนะ เน้นส่งิ ทผี่ เู้ รยี นควรเรยี นรู้ ใหท้ า่ เปน็ มพี ฤตกิ รรมทางอารมณเ์ หมาะสม ความคดิ รเิ ริม่ และสร้างสรรค์ มากกวา่ เนน้ การกา่ หนดว่าตอ้ งเรยี นเนอ้ื หาอะไร • ให้การเรยี นรูม้ คี วามหมายและมคี ณุ คา่ บนความเปน็ จริง 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 16
ประเทศตา่ งๆ ท่วั โลกใชก้ รอบหลักสตู รการศกึ ษาฐานสมรรถนะ (CBE) • เบลเยยี ม /แคนาดา (รัฐควเี บค) พ.ศ. 2541 • ในแคนาดา จากรฐั ควีเบค … รฐั อน่ื ๆประกาศใช้ CBE ตาม จนท่ัว • ฝรง่ั เศส 2548 • ในยโุ รป พ.ศ. 2549 คณะมนตรแี ห่งสหภาพยุโรปประกาศ • แทนเซเนยี 2548 วา่ พลเมอื งของสหภาพยุโรปควรได้รบั การพัฒนาใหม้ ี สมรรถนะหลกั ส่าหรบั การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ 8 ดา้ นท่าให้ • สาธารณรฐั อาฟรกิ าใต้ 2553 ประเทศอียใู ชห้ ลักสตู รสมรรถนะจนทั่ว ด้วยแรงผลักดัน จากภาคเอกชน และดว้ ยสถิตคิ นหนุ่มสาววา่ งงานสงู ขึน้ ๆ • สงิ คโปร์ 2555 • ประเทศในอาฟรกิ ามากกวา่ คร่ึงทวปี นยิ มใชห้ ลักสูตรฐาน • เกาหลีใต้ 2555 สมรรถนะ เพราะตอ้ งการแกป้ ัญหาความ • ญป่ี ุ่น 2556 เหลือ่ มล้่า และใหเ้ ด็กซึ่งออกจากโรงเรียนกลางคนั มี • ออสเตรเลยี 2557 สมรรถนะทา่ งานได้ • นิวซแี ลนด์ 2558 • ขอ้ สังเกต: ประเทศทไี่ มใ่ ชห้ ลกั สูตรสมรรถนะมกั เป็น ประเทศขนาดใหญ่ (เชน่ อนิ เดยี รสั เซยี ) หรอื ใช้เปน็ • ฟนิ แลนด์ 2559 บางส่วนหรอื ใช้ในลกั ษณะไม่สม่าเสมอเช่น จนี หรือ สหรัฐอเมรกิ า • เวยี ตนาม 2558-2560 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 17
67 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 18
องค์กรเพ่อื ความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ และการพฒั นา (Organization for Economic Co-operation and Development) หรอื OECD ได้อธิบายการเกิดสมรรถนะดว้ ยรปู ภาพ ดงั นี้ ที่มา: OECD ๒๐๑๖ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 19 ท่มี า: (รา่ ง) กรอบหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ….
องคป์ ระกอบสา่ คัญของสมรรถนะ (จากแผนภาพ) ประกอบดว้ ย ความรู้ (Knowledge) เป็นสิ่งทบ่ี คุ คลรู้ ในด้านความร้เู ฉพาะศาสตร์เฉพาะวิชา (Disciplinary knowledge) ความรู้แบบสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary knowledge) และความรดู้ ้านการปฏิบัตใิ น การนา่ ความรูไ้ ปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ งๆ (Practical knowledge) ทักษะ (Skills) เป็นการทา่ บางส่ิงให้ดี เป็นความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคนคิ ทเ่ี หมาะสมในเวลาที่ เหมาะสม ทัง้ ที่เป็นทักษะทางปญั ญาและอภิปญั ญา (Cognitive and meta-cognitive skills) ทง้ั ดา้ น อารมณแ์ ละสงั คม (Social and emotional skills) และทกั ษะทางร่างกายและการปฏิบัติ เจตคติ (Attitudes) เจตคติเป็นสง่ิ ทเี่ กดิ จากความเชอื่ และคา่ นิยมทสี่ ะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงนสิ ัย ชอบท่จี ะ ตอบสนองบางสิ่งหรือบางคนในเชิงบวกหรือเชิงลบ และเจตคติอาจแตกต่างกนั ไปตามสถานการณ์ บริบทเฉพาะ คณุ คา่ แหง่ ความเปน็ มนษุ ย์ (Human Core Values) เป็นหลักชีน้ ่าทสี่ นบั สนุนสงิ่ ท่ีผู้คนเชื่อวา่ มี ความสา่ คญั ในการตัดสนิ ใจในทุกดา้ นของชีวติ สว่ นตวั และในท่สี าธารณะ ซงึ่ เปน็ ตัวกา่ หนดส่ิงที่บคุ คล ให้ความส่าคญั ในการตัดสนิ และสิ่งทบ่ี ุคคลแสวงหาในการปรับปรุงให้ดขี ้ึน 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 20 ที่มา: (รา่ ง) กรอบหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ….
OECD : 3 สมรรถนะเพื่อเผชิญกับความเปลย่ี นแปลงในปี 2030 ปี พ.ศ. 2559 OECD เผยแพร่ “3 Transformative competencies for 2030” เพอ่ื การใช้ ชวี ิตในโลกซงึ่ เตม็ ไปดว้ ยความไมแ่ น่นอน ซบั ซอ้ น เปล่ียนแปลงรวดเรว็ คาดเดาไม่ได้ (VUCA) ผเู้ รยี นตอ้ งมีสมรรถนะสา่ คญั คือ • สรา้ งสรรค์คณุ คา่ ใหม่ : ตั้งค่าถาม ทา่ งานร่วมกับผู้อน่ื คิดออกนอกกรอบเพ่ือหาทางออกใหป้ ัญหา สร้างชวี ติ ท่ีมีความหมายด้วยนวตั กรรมและความคิดสร้างสรรค์ • จัดการกบั ภาวะตึงเครียดและตอ้ งเลอื กระหว่างสองทางแพร่ง : ทศั นคตปิ ระนีประนอม สามารถจัดการ กบั ความขดั แยง้ ยอมรบั และเขา้ ใจมมุ มองหลากหลายแตกต่างทางความคิด • มคี วามรบั ผดิ ชอบ : คดิ ไตร่ตรองการกระทา่ และเป้าหมายระหวา่ งส่วนบคุ คลกับสว่ นรวม สามารถ ควบคุมตนเอง มีจรยิ ธรรม เมตตากรุณาและเคารพผู้อื่น 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 21
“สมรรถนะเปน็ ตวั ช้ีวดั ความสา่ เรจ็ ของการท่างานทีด่ กี วา่ เชาว์ปัญญา (Intelligence) ทจี่ ะเหน็ ไดว้ า่ ผ้เู รยี นทเี่ รยี นเกง่ อาจไม่ประสบความสา่ เรจ็ ในการทา่ งานเสมอไป แต่ผ้ทู ม่ี ีสมรรถนะหลากหลาย มกั ประสบความส่าเรจ็ สูงในการท่างาน เน่ืองจากสามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การ วธิ ีการ ทกั ษะ และคุณลกั ษณะต่างๆ ที่ตนมีอยู่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ งานทท่ี า่ ” - David C. McClelland แหง่ มหาวิทยาลัยฮารว์ ารด์ - 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 22 ทีม่ า: รายงานเฉพาะเรอ่ื งที่ ๑๒ หลกั สูตรและการเรนี การสอนฐานสมรรถนะ
6 สมรรถนะในหลกั สตู รไทย 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 23 ท่มี า: (รา่ ง) กรอบหลักสตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ….
การจัดการตนเอง 1 การรูจ้ ัก รกั เห็นคุณคา่ ในตนเองและผู้อ่นื การพัฒนาปัญญาภายใน ตัง้ เปา้ หมายในชวี ติ และก่ากบั ตนเองในการ เรียนร้แู ละใชช้ วี ติ การจัดการอารมณ์และความเครยี ด รวมถงึ การจดั การปญั หาและภาวะวกิ ฤตสามารถฟนื้ คืนสู่ สภาวะสมดุล (resilience) เพื่อไปสู่ความส่าเรจ็ ของเปา้ หมายในชวี ิต มีสขุ ภาวะท่ดี ีและมสี มั พนั ธภาพกบั ผู้อ่นื ไดด้ ี การคิดขนั้ สงู 2 สามารถคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะหแ์ ละตัดสนิ ใจอย่างมวี จิ ารญาณบนหลักเหตผุ ลอย่างรอบด้าน โดยใชค้ ณุ ธรรมกา่ กบั การตัดสนิ ใจไดอ้ ยา่ งมวี จิ ารณญาณ มคี วามสามารถคิดอยา่ งเป็นเหตุเปน็ ผลดว้ ยความเข้าใจถงึ ความเชอ่ื มโยงของ สรรพส่งิ ท่อี ยู่รว่ มกันอย่างเปน็ ระบบ ใช้จินตนาการและความรูส้ รา้ งทางเลอื กใหม่เพื่อแก้ปัญหาท่ซี บั ซ้อนได้ อยา่ งมี เป้าหมาย การสอื่ สาร 3 มีความสามารถรับรู้ รบั ฟงั ตคี วาม และสง่ สารด้วยภาษาตา่ ง ๆ ทั้งวจั นภาษา และอวัจนภาษา โดยใชก้ ระบวนการ คดิ ซ่ึงจะน่าไปส่กู ารเรยี นรู้ ความเข้าใจ ใน ระบบคณุ คา่ การแก้ปญั หาร่วมกนั ผา่ นกลวิธกี ารสื่อสารอยา่ งฉลาดรู้ สร้างสรรค์ มี พลัง โดยค่านงึ ถงึ ความรบั ผิดชอบต่อสังคม 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 24 ทมี่ า: (รา่ ง) กรอบหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ….
การรวมพลังทา่ งานเปน็ ทีม สามารถจัดระบบและกระบวนการทา่ งาน กจิ การ และการประกอบการใดๆ ทงั้ ของตนเองและรว่ มกับผู้อ่นื โดยใช้ 4 การรวมพลังท่างานเปน็ ทมี มีแผน ข้นั ตอน ให้ บรรลุผลส่าเรจ็ ตามเป้าหมาย มีภาวะผ้นู ่า มคี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ มีการ ประสานความคิดเห็นท่แี ตกตา่ งสกู่ ารตัดสินใจและแก้ปญั หาเปน็ ทมี อยา่ ง รบั ผิดชอบร่วมกัน สร้างความสมั พนั ธท์ ่ีดแี ละจดั การความขดั แยง้ ภายใต้ สถานการณท์ ่ียุ่งยาก การเปน็ พลเมอื งที่เขม้ แขง็ การปฏบิ ตั ติ นอยา่ งรบั ผิดชอบ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ในฐานะพลเมอื งไทย และพล โลก รเู้ คารพสิทธิเสรภี าพ 5 ของตนเองและผอู้ ื่น เคารพในกฎกตกิ าและกฎหมาย มี ส่วนรว่ มทางสังคมอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อยู่รว่ มกับผูอ้ นื่ ท่ามกลางความแตกต่าง หลากหลายเห็นคณุ คา่ ของศกั ดศิ์ รีความเป็นมนษุ ย์ รู้คุณค่าของประวตั ศิ าสตร์ ร้เู ท่าทัน การเปล่ียนแปลงของสถานการณใ์ นประเทศและโลก มบี ทบาทในการ ตัดสนิ ใจและสร้างการเปลยี่ นแปลงในชมุ ชน สงั คม และประชาคมโลก โดยยึดมัน่ ความเป็นไทย ความเท่าเทียมและเปน็ ธรรม คา่ นิยมประชาธปิ ไตย และสนั ตวิ ิธี การอยรู่ ่วมกบั ธรรมชาตแิ ละวทิ ยาการอยา่ งยง่ั ยืน 6 มีความเข้าใจพนื้ ฐานเก่ยี วกบั ปรากฏการณ์ของโลกและเอกภพ และความสมั พันธ์ ของคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และธรรมชาติในชวี ติ ประจา่ วนั ใชแ้ ละรเู้ ทา่ ทัน วิทยาการเทคโนโลยี มคี วามอยากรู้ อยากเห็น ชา่ งสังเกต เหน็ คณุ ค่า สามารถ แกป้ ญั หา หรือสรา้ งสรรค์นวตั กรรมได้เพื่อการด่ารงชีวิตและอย่รู ว่ มกบั ธรรมชาติ อย่างยั่งยืน 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 25 ทีม่ า: (ร่าง) กรอบหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ….
หลกั การของหลกั สูตรสมรรถนะ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 26
หลักการของหลกั สตู ร (รา่ ง)กรอบหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช…….. ก่าหนดหลกั การส่าคญั ของหลักสูตร ไวด้ ังน้ี ๑. เปน็ หลักสตู รทม่ี เี ป้าหมายในการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรยี นทเ่ี หมาะสมตามชว่ งวยั เนน้ การพฒั นา ผ้เู รียนรายบคุ คล (Personalization) อยา่ งเปน็ องคร์ วม (Holistic Development) เพอ่ื การเปน็ เจ้าของ การเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง (Life-Long Learning) ๒. เปน็ หลักสูตรที่เชอ่ื มโยงระหว่างสมรรถนะและสาระการเรยี นรทู้ ี่มุ่งเนน้ การบรรลผุ ลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ (Learning Outcome) เพ่ือการพฒั นาผู้เรียนใหส้ ามารถนา่ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตและการทา่ งาน ๓. เปน็ หลักสูตรที่จัดสภาพแวดล้อมและเส้นทางการเรยี นรู้ (Learning Pathway) ทีห่ ลากหลาย และระบบ สนบั สนนุ การเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั พหปุ ัญญาและธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น ๔. เปน็ หลักสตู รท่ีมกี ระบวนการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) การใชส้ ่ือและสถานการณ์ การเรยี นรรู้ ว่ มสมยั มีความหลากหลายและมคี วามยืดหยุ่น ตามความสนใจความถนดั ของผเู้ รยี น (Differentiated Instruction) บริบท จุดเน้นสถานศกึ ษา และชมุ ชนแวดลอ้ ม ๕. เป็นหลกั สตู รท่ีมุ่งใชก้ ารประเมนิ เพอื่ การพฒั นาและสะทอ้ นสมรรถนะของผ้เู รียนตามเกณฑก์ ารปฏบิ ัติ (Performance) ที่เปน็ ธรรม เช่อื ถือได้ เอ้อื ตอ่ การถา่ ยโยงการเรยี นร้แู ละพฒั นาในระดบั ท่ีสูงขึ้นตามระดับ ความสามารถ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 27 ท่มี า: (ร่าง) กรอบหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ….
จดุ หมายของหลกั สตู ร การพฒั นาผู้เรียนตาม (รา่ ง) กรอบหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช …. มจี ดุ หมายเพอ่ื พฒั นาใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะและเจตคตทิ ีจ่ า่ เปน็ ตอ่ การดา่ เนนิ ชีวติ และมคี วามสามารถ ดงั นี้ ๑. ร้จู กั รัก เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน จัดการอารมณแ์ ละความเครยี ด ปญั หา และภาวะวิกฤติ สามารถฟื้นฟูคืนส่สู ภาวะสมดลุ (Resilience) และมสี ุขภาวะและ สมั พันธภาพทด่ี กี บั ผู้อืน่ ๒. มีทกั ษะการคิดขัน้ สูงอยา่ งมคี ุณธรรม มีความสามารถในการนา่ และกา่ กบั การเรียนรู้ของตนเองอยา่ งมเี ปา้ หมาย ๓. สอ่ื สารอย่างฉลาดรู้ สรา้ งสรรค์ มีพลงั ด้วยความรับผิดชอบต่อตนเองและสงั คม ๔. จัดระบบและกระบวนการทา่ งานให้บรรลุส่าเร็จตามเปา้ หมาย มคี วามเป็น ผูป้ ระกอบการ ภาวะผ้นู ่า และจดั การความขัดแยง้ ภายใตส้ ถานการณท์ ่มี คี วาม ซบั ซอ้ น ๕. ปฏิบตั ติ นอยา่ งรบั ผิดชอบ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ในฐานะพลเมืองไทยและ พลเมืองโลก ๖. เข้าใจพน้ื ฐานเกยี่ วกบั ปรากฏการณข์ องโลกและจกั รวาล เข้าถงึ และรเู้ ท่าทนั วทิ ยาการเทคโนโลยี เพื่อการดา่ รงชีวิตและอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาติอยา่ งย่ังยนื 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 28 ทมี่ า: (รา่ ง) กรอบหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ….
การประเมนิ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของผ้เู รยี น • จุดมงุ่ หมายหลกั เปน็ การประเมินเพอื่ พัฒนาผเู้ รยี น (Formative Assessment) ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ตลอดกระบวนการ • กระบวนการประเมนิ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ เน้นการรวบรวมหลกั ฐานรอ่ งรอยการเรยี นรู้ เพอ่ื ใหไ้ ดส้ ารสนเทศเกยี่ วกบั พัฒนาการของผู้เรยี น ทั้งดา้ นสมรรถนะเฉพาะและสมรรถนะหลกั ประเมนิ เพอื่ พฒั นาและการประเมนิ เพ่อื สรปุ ผล ดว้ ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย และสอดคล้องกบั วยั และความตอ้ งการจา่ เปน็ ของผเู้ รยี น และธรรมชาตขิ องศาสตร์ • ประเมนิ การพัฒนาสมรรถนะตามเกณฑก์ ารปฏบิ ัติ (อิงเกณฑ์) • ประเมินความก้าวหน้าตามอัตราตนเอง 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 29 ทีม่ า: (ร่าง) กรอบหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ….
แผนการนา่ หลกั สตู รฐานสมรรถนะไปใช้ 2562 - 2563 คณะกรรมการอิสระเพือ่ การปฏิรูปการศึกษา(รศ.ดร.ทศิ นา แขมณี ปธ.คณะท่างาน)นา่ เสนอการใช้หลักสูตรฐาน สมรรถนะ 7 ม.ค. 2563 รมว.ศธ (ณฐั พล ทปี สุวรรณ) ประกาศใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะปีการศึกษา 2565 โดยน่ารอ่ งในพน้ื ที่นวตั กรรม 6 จว. ต.ค. 2563 รมว.ศธ (ณฐั พล ทปี สวุ รรณ) ขอทบทวนแนวทางในการจัดทา่ หลักสูตรฯ 23 ก.พ. 2564 ประกาศแผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบับปรบั ปรงุ )ในราชกจิ จานุเบกษา โดยมกี จิ กรรมปฏริ ปู ประเทศ 5 ด้าน ที่จะส่งผลให้เกิด การเปลย่ี นแปลงตอ่ ประชาชนอย่างมนี ยั สา่ คัญ หนง่ึ ในกจิ กรรมนนั้ คอื การพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนสกู่ ารเรยี นรู้ ฐานสมรรถนะ เพอื่ ตอบสนองการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 พ.ค. 2564 รมว.ศธ.ตรนี ชุ เทียนทอง ตง้ั คณะกรรมการอา่ นวยการปรบั ปรงุ หลักสตู รฯ 13 ส.ค. 2564 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานเหน็ ชอบแผนการน่าหลักสูตรฐานสมรรถนะไปใชแ้ ละการก่าหนดให้มี 6 สมรรถนะ ส.ค. 2564 โรงเรียน 265 โรง สมัครร่วมโครงการน่ารอ่ งใช้หลกั สูตรในเขตพื้นทีน่ วัตกรรมการศึกษา 8 จังหวดั ก.ย. 2564 – ก.พ. 2565 รับฟังความคิดเห็น 3 ทาง : ผลการวจิ ยั เวทีรบั ฟังความคิดเห็น และ แบบสอบถามใน www.cbethailand.com 9 ก.ย. 2564 คณะกรรมการอา่ นวยการฯเหน็ ชอบรา่ งกรอบหลักสตู รฐานสมรรถนะฯ ช่วงชนั้ ท่ี 1 ใหใ้ ช้ทดลองในโรงเรยี นนา่ รอ่ ง 11 ต.ค. 2564 รมว.ตรนี ชุ ประกาศโครงการน่ารอ่ งใชร้ า่ งกรอบหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานฯ ฐานสมรรถนะชว่ งชนั้ ท่ี 1 และเปิดตวั www.cbethailand.com 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 30
แผนการนา่ หลกั สตู รฐานสมรรถนะไปใช้ (2564-2567) พ.ย. 2564 – ม.ค. 2565 รับสมคั รโรงเรยี นทมี่ คี วามพรอ้ มใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะ ม.ค. 2565 สรปุ ผลวิจัยและการรบั ฟงั ความคิดเห็น และนา่ ไปปรับเอกสารหลักสตู ร 14 ก.พ. 2565 ประกาศรายช่ือโรงเรียนท่ีจะใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะในเดอื นพ.ค. 2565 พ.ค. 2565 ใช้หลกั สตู รฐานสมรรถนะในโรงเรยี นทม่ี คี วามพรอ้ มระดบั ประถม พ.ค. 2566 ใชห้ ลักสตู รฐานสมรรถนะในโรงเรยี นทีม่ ีความพรอ้ มระดับมัธยมและโรงเรียนประถมท่เี หลอื พ.ค. 2567 ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะทกุ โรงเรียน ศธ. จดั ท่าระบบสนบั สนุน เช่น ตวั อย่างการจดั หลกั สตู รสถานศกึ ษา/ การวัดและประเมินผล/ การอบรม ฯลฯ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 31
การนา่ กรอบหลกั สตู รไปใชท้ ส่ี ถานศกึ ษา • แต่งตง้ั คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา • จัดทา่ ข้อมูลตามบรบิ ทของสถานศึกษา ชมุ ชน ท้องถ่นิ และสถานการณ์ • ศึกษาการจัดการศกึ ษาฐานสมรรถนะใน 3 องคป์ ระกอบ (1. หลกั สตู รฐานสมรรถนะ 2. การจดั การเรยี นรู้ 3. การวดั และประเมนิ ผล) • ศึกษาองคป์ ระกอบรา่ งกรอบหลักสตู รฯ (วสิ ัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะหลัก 6 ดา้ น และสาระการเรียนรู้ ซึ่ง ช่วงชั้นท่ี 1 มี 7 สาระการเรยี นรู้) 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 32
ขน้ั ตอนการนา่ หลกั สตู รสถานศกึ ษาฐานสมรรถนะไปใช้ • จดั ทา่ โครงสร้างรายวชิ า ออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และจดั การ เรียนรู้ เพ่อื พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี ณุ ภาพตามเปา้ หมาย • จดั ทา่ หน่วยการเรยี นรู้ โดยพจิ ารณาผลลัพธ์การเรยี นรู้ในรายวิชา สมรรถนะหลัก และเน้อื หาสาระ ท้ังดา้ นความรู้ ทักษะ และเจตคติ/ คา่ นิยม ทมี่ คี วามสัมพนั ธเ์ ชื่อมโยงและเก่ียวขอ้ งเป็นเรื่องเดียวกนั มาบรู ณาการเปน็ หนว่ ยการเรียนรู้ และจัดการเรยี นการสอนในลกั ษณะองค์รวม เพอ่ื พฒั นาผู้เรียน ใหม้ ี สมรรถนะ • กา่ หนดเวลาเรยี นของแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรจู้ ากเวลา และความเขม้ ข้นของผลลพั ธ์การเรยี นรู้ เชงิ สมรรถนะ ต้ังชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ตามเนอื้ หาสาระของหนว่ ยการเรยี นรู้น้นั ๆ • จดั ล่าดับหนว่ ยการเรยี นรจู้ าก ล่าดับของการพฒั นาสมรรถนะหลัก ให้ต่อเนื่อง จากงา่ ยไปยาก จากใกลต้ วั ไปไกลตัว โดยสามารถศกึ ษาจาก “ตัวอยา่ งสถานการณ์ กิจกรรม และเครือ่ งมือท่ใี ช้ ส่าหรับนักเรียน” • การวัดและประเมินผล 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 33
การตดั สนิ ผลการเรยี น 1. ตามผลลัพธ์การเรยี นรโู้ ดยกา่ หนดเป็นระดบั ผลการเรยี นซ่งึ สะท้อน ถึงความกา้ วหน้าของผเู้ รยี น เช่น กา่ หนดเปน็ ระบบสญั ลักษณ์ ระบบตัวอักษร ฯลฯ 2. จากการพัฒนาสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น ตามระดบั ความสามารถ (ระดบั ตน้ กา่ ลงั พัฒนา สามารถ และเหนอื ความคาดหวงั ) ซ่ึงพิจารณาจากข้อมูลหรอื หลักฐานทเ่ี ปน็ ผลจากการเรยี นรู้ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 34
่ีทมา: ่คูมือการใช้กรอบห ัลกสูตรฯ ช่วงชั้น ่ที 1 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 35
่ีทมา: ่คูมือการใช้กรอบห ัลกสูตรฯ ช่วงชั้น ่ที 1 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 36
ความแตกตา่ งของ ๒ หลกั สูตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั ส่วน (ร่าง) กรอบหลักสตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลกั สตู ร พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ….. นั้นมลี กั ษณะเปน็ หลกั สูตร อิงมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั มุง่ พัฒนาผเู้ รยี น ฐานสมรรถนะ มุ่งพัฒนาผเู้ รยี นทุกคนใหม้ สี มรรถนะ ทกุ คนใหม้ ีคุณภาพอย่างนอ้ ยตามที่ หลักท่ีส่าคญั จา่ เปน็ ตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล มาตรฐานกา่ หนด ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดรูปแบบหลักสูตรสถานศึกษาที่ 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. ยืดหยุน่ และหลากหลาย มีความเฉพาะเจาะจงในการ พัฒนาผเู้ รยี นตามบริบทของสถานศกึ ษา ชมุ ชน และ ความต้องการทแ่ี ตกตา่ งกนั ของผู้เรียน ปรับแนวคดิ และมุมมองในการออกแบบและ จัดการเรียนรจู้ ากการเนน้ ทีเ่ น้อื หาสาระมาเน้น สมรรถนะ ลดการม่งุ การสอนเนอื้ ความรู้จ่านวนมาก ลดภาระและเวลาในการสอบตามตวั ชีว้ ดั จา่ นวนมาก 37 ที่มา: (รา่ ง) กรอบหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ….
จัดทา่ โดย คณะกรรมการอา่ นวยการพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. …. (ฐานสมรรถนะ) วนั ที่ 20 ตลุ าคม 2564 21/10/64 @2021 All Rights Reserved. Arsom Silp Institute of the Arts. 38
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: