Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัฐสภาสารฉบับเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2563

รัฐสภาสารฉบับเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2563

Published by sapasarn2019, 2020-07-29 00:04:36

Description: รัฐสภาสารฉบับเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2563

Search

Read the Text Version

พระราชกฤษฎกี าวา ดวยหลกั เกณฑแ ละวิธีการบริหารกจิ การบา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔๙ กาวสําคัญของการกาํ หนดแนวทางการปฏิบัติราชการสมยั ใหม มาตรา ๕๒ ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดทําหลักเกณฑการบริหารกิจการ บานเมืองที่ดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกาน้ี โดยอยางนอยตองมีหลักเกณฑเกี่ยวกับ การลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน และการอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการ ของประชาชนที่สอดคลอ งกับบทบัญญตั ใิ นหมวด ๕ และหมวด ๗ ใหเปนหนาที่ของกระทรวงมหาดไทยดูแล และใหความชวยเหลือองคกรปกครอง สว นทอ งถนิ่ ในการจัดทําหลักเกณฑต ามวรรคหนง่ึ มาตรา ๕๓ ใหองคการมหาชนและรัฐวิสาหกิจ จัดใหมีหลักเกณฑการบริหาร กจิ การบานเมืองทดี่ ีตามแนวทางของพระราชกฤษฎกี านี้ ในกรณีที่ ก.พ.ร. เห็นวาองคการมหาชนหรือรัฐวิสาหกิจใดไมจัดใหมีหลักเกณฑ ตามวรรคหนึ่ง หรือมีแตไมสอดคลองกับพระราชกฤษฎีกาน้ีใหแจงรัฐมนตรีซึ่งมีหนาท่ีกํากับ ดูแลองคก ารมหาชนหรอื รัฐวิสาหกจิ เพ่ือพจิ ารณาส่ังการใหองคก ารมหาชนหรือรฐั วสิ าหกิจนั้น ดาํ เนินการใหถ กู ตอ งตอ ไป สําหรับรฐั วิสาหกจิ องคก ารมหาชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ซง่ึ ปกติตาม กฎหมายจัดต้ังองคกรเหลาน้ีจะใหอํานาจอิสระในการบริหารงานขององคกร จึงไมอาจนําการ ปฏิบัติงานราชการตามหลักธรรมาภิบาลนี้ไปใชบังคับกับองคกรเหลานั้นทันทีได แตอยางไร ก็ตามเน่ืองจากการปฏิบัติงานขององคการเหลาน้ันมีสวนใกลชิดตอการใหบริการประชาชน โดยตรง ในการปฏิบัติภารกิจจึงควรนําหลักการตามพระราชกฤษฏีกาน้ีไปใชดวย โดยเฉพาะ อยางย่ิงในสวนที่เก่ียวกับผลสัมฤทธิ์ ทั้งน้ี เพื่อใหเกิดประโยชนแกประชาชนและเพื่อการให บรหิ ารงานภาครฐั เปน ไปในแนวทางเดยี วกนั ในพระราชกฤษฏกี านจี้ งึ กาํ หนดใหอ งคก รเหลา นนั้ ตองไปกําหนดเกณฑของแตละองคกรขึ้นโดยใหมีแนวทางสอดคลองกับหลักเกณฑ ของแตละองคกรขึ้นโดยใหมีแนวทางสอดคลองกับหลักเกณฑตามพระราชกฤษฏีกานี้โดยให หนวยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลองคกรเหลาน้ันตามกฎหมายมีหนาที่ดูแลใหมีการกําหนด แนวทางบรหิ ารงานใหเ ปนไปตามพระราชกฤษฎกี านด้ี วย อนง่ึ ในขณะนพี้ ระราชบญั ญตั อิ งคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั ฯ พระราชบญั ญตั เิ ทศบาลฯ และพระราชบัญญัติองคการบริหารสวนตําบลฯ ท่ีไดมีการแกไขเพ่ิมเติมคร้ังสุดทาย ไดนํา หลักการเรื่องการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีไปบัญญัติไวดวยแลวโดยรายละเอียดการปฏิบัติ ใหเปนไปตามท่ีกระทรวงมหาดไทยกําหนด ซ่ึงเทากับวา แนวทางการปฏิบัติตามหลักเกณฑ ของพระราชกฤษฏีกานี้จะไดรับปฏิบัติที่สอดคลองกันทั้งราชการบริหารสวนกลางราชการ บรหิ ารสว นภูมิภาค และราชการบรหิ ารสว นทอ งถิ่น

๕๐ รฐั สภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓. สาระสําคญั ของพระราชกฤษฎกี าฯ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี จะประกอบดวยบทบญั ญตั ติ า ง ๆ ท่มี เี นือ้ หากาํ หนดแนวทางใหส วนราชการปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั หมด ๙ หมวด ซง่ึ ในหมวดท่ี ๙ นนั้ ไดน าํ ไปกลา วไวใ นหวั ขอ ขอบเขตการใชบ งั คบั ของพระราชกฤษฏกี า แลว แนวทางท่ีกําหนดใหสวนราชการตองนําไปปฏิบัติจึงอยูในหมวดท่ี ๑ ถึงหมวดที่ ๘ โดยแตล ะหมวดจะมสี าระสําคญั ดงั ตอไปน้ี หมวด ๑ : การบรหิ ารกิจการบานเมืองทีด่ ี บทบัญญัติในหมวดน้ีเปนการกําหนดขอบเขตความหมายของคําวา “การบริหาร กจิ การบานเมอื งที่ดี” โดยมีลกั ษณะเปน คาํ นยิ ามของการบรหิ ารกจิ การบานเมืองทีด่ ใี นภาพรวม ซ่งึ จะเปน การชใ้ี หเหน็ วตั ถุประสงคของการบรหิ ารราชการท่ีกาํ หนดในพระราชกฤษฎกี านี้ และ เปนแนวทางในการปฏิบัติราชการของทุกสวนราชการในการกระทําภารกิจใดภารกิจหน่ึงวา เมอ่ื จะตอ งปฏบิ ัติราชการใหเกดิ การบริหารกิจการบานเมืองทด่ี ี หมายถงึ การปฏบิ ตั ริ าชการทีม่ ี ความมงุ หมายใหบรรลุเปาหมายตามท่มี าตรา ๖ บัญญตั ิไว คือ มาตรา 6 การบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี ี ไดแ ก การบรหิ ารราชการเพอ่ื บรรลเุ ปา หมาย ดังตอไปน้ี ๑. เกิดประโยชนสุขของประชาชน ๒. เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิตอ ภารกิจของรฐั ๓. มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรฐั ๔. ไมม ขี ้นั ตอนการปฏิบตั งิ านเกนิ ความจาํ เปน ๕. มีการปรบั ปรงุ ภารกจิ ของสวนราชการใหทันตอเหตุการณ ๖. ประชาชนไดร บั การอํานวยความสะดวกและไดรบั การตอบสนองความตองการ ๗. มีการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการอยา งสมํา่ เสมอ การกําหนดเปา หมายแตล ะหัวขอ มีความหมายดงั น๑ี้ ๑ ๑. เกดิ ประโยชนส ขุ ของประชาชน ไดแ ก การบรหิ ารราชการทส่ี ามารถตอบสนอง ๑๑สรปุ จากเอกสารของสาํ นกั งาน ก.พ.ร. ทเ่ี สนอตอ คณะอนกุ รรมการพฒั นาระบบราชการเกยี่ วกบั การตีความและวนิ ิจฉัยปญหาในการบริหารราชการแผนดนิ ประกอบการยกรางพระราชกฤษฎีกานี้

พระราชกฤษฎกี าวา ดวยหลักเกณฑและวิธีการบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๕๑ กาวสําคญั ของการกําหนดแนวทางการปฏบิ ัตริ าชการสมยั ใหม (responsiveness) ตอความตองการของประชาชนและพยายามมุงใหเกิดผลกระทบในเชิงบวก (positive impact) ตอการพฒั นาชวี ิตของประชาชน ๒. เกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ไดแก การบริหารเพื่อใหไดรับผลลัพธ (outcome) ตรงตามวัตถุประสงค (objective) ท่ีวางไวโดยมกี ารบรหิ ารแบบมงุ เนน ผลสัมฤทธ์ิ (result-based management) และการจดั ทําขอตกลงวาดวยผลงาน (performance agreement) ในทกุ ระดบั ๓. มีประสิทธิภาพและเกดิ ความคุมคา ในเชงิ ภารกจิ ของรัฐ ไดแ ก การบริหาร ทจ่ี ะตอ งพจิ ารณาในเชงิ เปรยี บเทยี บระหวา งปจ จยั นาํ เขา (input) กบั ผลลพั ธ (outcome) ทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยมีการทาํ cost/benefit analysis ใหสามารถวเิ คราะหค วามเปนไปได และความคมุ คา องแผน งานหรือโครงการตาง ๆ เทียบกับประโยชนที่ไดรับ รวมท้ังจัดระบบการวางเปาหมาย การทํางานและวัดผลของแตละบุคคล (individual scorecards) ท่ีเช่ือมโยงกับระดังองคการ (organization scorecards) ๔. ไมมีข้ันตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน ไดแก การกําหนดระยะเวลา ในการปฏิบัติงานและการลดข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน (process simplification) และจัดใหมีการ กระจายอํานาจการตัดสนิ ใจ (empowerment) เพอื่ ใหก ารปฏบิ ตั ิงานเสร็จสนิ้ ที่จุดบริการใกลตวั กับประชาชน รวมทงั้ การปฏบิ ัติงานในรูป one-stop service ๕. มกี ารปรบั ปรงุ ภารกจิ ของสว นราชการใหท นั ตอ เหตกุ ารณ ไดแ ก การทบทวน และปรับปรุงกระบวนการ และขัน้ ตอนทํางานใหมอยเู สมอ (process redesign) ซงึ่ จําเปน ตอ ง ทบทวนลาํ ดบั ความสาํ คญั และความจาํ เปน ของแผนงานและโครงการทกุ ระยะ (program evaluation) การยุบเลกิ สว นราชการท่ไี มจ าํ เปน และการปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎระเบยี บตา ง ๆ ใหเหมาะสม กับสภาวการณอ ยเู สมอ ๖. ประชาชนไดร บั การอาํ นวยความสะดวกและไดร บั การตอบสนองความตอ งการ ไดแ ก การปฏิบัติราชการทีม่ งุ เนน ถึงความตอ งการและความพึงพอใจของประชาชนผูรบั บรกิ าร เปน หลกั โดยมกี ารสาํ รวจความตอ งการของประชาชน (citizen survey) และความพึงพอใจของ ผรู ับบริการ (customer survey) ในหลากหลายวิธีและเปน ไปอยา งสมํ่าเสมอเพื่อนํามาปรบั ปรุง การปฏบิ ัติราชการตอไป ๗. มกี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านอยา งสมาํ่ เสมอ ไดแ ก การตรวจสอบ และ วัดผลการปฏบิ ัตงิ าน เพือ่ ใหเ กดิ ระบบการควบคมุ ตนเอง (internal control) ซึง่ จะทาํ ใหส ามารถ ผลกั ดนั การปฏิบัติงานขององคกรใหบ รรลุเปาหมายไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

๕๒ รัฐสภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ หลักการดังกลาวขางตน เปนหัวขอสําคัญในการกําหนดความหมายของการ บริหารกิจการบานเมืองท่ีดีที่พึงประสงคตามแนวทางท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติระเบียบ บรหิ ารราชการแผน ดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ซงึ่ ในพระราชกฤษฎกี านกี้ ารกาํ หนดบทบญั ญตั ิ ในมาตรา ๖ ขนึ้ มีความประสงคเ ปนเพยี งการแสดงความหมายของคาํ วา “การบริหารกจิ การ บานเมืองท่ีดี” วาครอบคลุมกรณีใดบางสวนรายละเอียดวิธีการปฏิบัติในแตละหัวขอนั้น ในพระราชกฤษฏีกาน้ีไดแยกบัญญัติขยายความหมายไวในแตละหมวดตอไปต้ังแตหมวดที่ ๒ ถงึ หมวดที่ ๘ หมวดที่ ๒ : การบรหิ ารราชการเพอ่ื ใหเกิดประโยชนส ขุ ของประชาชน บทบัญญัติในหมวดนี้เปนการกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการในความหมาย ของการบริหารราชการใหเกิดประโยชนสุขของประชาชนวาตองอยูในแนวทางที่ถือวา ประชาชนเปนศูนยกลางในการไดรับบริการจากรัฐ โดยไดบัญญัติความหมายของการบริหาร ราชการเพ่ือประโยชนสุขของประชาชนไวใ นมาตรา ๗ ดงั ตอไปน้ี มาตรา ๗ การบรหิ ารราชการเพือ่ ประโยชนส ขุ ของประชาชนหมายถงึ การปฏิบตั ิ ราชการทมี่ ีเปา หมายเพื่อใหเกดิ ความผาสกุ และความเปน อยูท่ีดีของประชาชน ความสงบและ ปลอดภัยของสงั คมสวนรวมตลอดจนประโยชนสงู สุดของประเทศ การกําหนดความหมายของการบริหารราชการเพ่ือประโยชนสุขของประชาชนโดย ใหมีเปาหมาย ๓ ประการคือ (๑) ใหเกิดความผาสุกและความเปนอยูท่ีดีของประชาชน (๒) ความสงบและความปลอดภัยของสังคมสวนรวม (๓) ประโยชนสูงสุดของประเทศนั้น หมายความวา ในการปฏบิ ัติราชการจะตอ งมกี ารช่ังน้าํ หนักภารกิจที่จะกระทําใหม ีความสมดุล ทงั้ ประโยชนข องปจ เจกบคุ คล และประโยชนส าธารณะในลกั ษณะทเี่ หมาะสมมใิ หเ กดิ ความเสยี หาย ในดา นใดดานหนง่ึ สําหรับวิธีดําเนินการเพื่อใหเกิดการบริหารราชการท่ีจะถือไดวาเปนการกระทํา เพ่อื ใหเ กดิ ประโยชนสขุ แกป ระชาชนไดก าํ หนดไวใ นมาตรา ๘ ซ่งึ สรปุ เปน แนวทางดําเนนิ การ ไดด งั ตอ ไปนี้

พระราชกฤษฎกี าวา ดวยหลกั เกณฑและวิธีการบรหิ ารกิจการบา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๕๓ กาวสาํ คัญของการกําหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิราชการสมัยใหม ๑. การกาํ หนดภารกจิ แตล ะเรอ่ื ง รฐั และสว นราชการมหี นา ทตี่ อ งกาํ หนดใหอ ยใู นกรอบ ท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือใหบรรลุเปาหมายใหเกิดประโยชนสูงสุดของประเทศ ความสงบ และ ปลอดภัยของสงั คมสว นรวม และความผาสกุ และความเปน อยูท่ีดีของประชาชนโดยทั่วไป และ สอดคลอ งกับแนวนโยบายแหง รัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี ๒. ตองจัดวางระบบเพ่ือใหมีการปฏิบัติราชการเปนไปโดยมีความซื่อสัตยสุจริต สามารถตรวจสอบได และมุงไดเ กดิ ประโยชนแกป ระชาชนในภาพรวม ๓. กอนเริ่มดําเนินการในภารกิจใด ตองมีการศึกษาวิเคราะหผลดี และผลเสีย ใหครบถวนทุกดาน มีการวางกลไกการทํางานท่ีชัดเจนทุกข้ันตอนและโปรงใส ในกรณีที่มี ผลกระทบตอ ประชาชนตอ งมกี ารรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของประชาชนหรอื มกี ารชแี้ จงทาํ ความเขา ใจ กบั ประชาชนใหไดทราบถึงประโยชนทีส่ ว นรวมจะไดร ับจากภารกิจนน้ั ๔. เม่ืออยูในระหวางการดําเนินการตามภารกิจใด ตองรับฟงความคิดเห็นและ สาํ รวจความพงึ พอใจของสงั คมโดยรวม เพื่อปรบั ปรงุ แกไขใหเ หมาะสมอยูเสมอ ๕. ในกรณีที่พบปญหาอุปสรรคตองจัดใหมีการแกไขปญหาน้ันโดยเร็วและถาเปน ปญหาจากสว นราชการอ่นื ตอ งแจง ใหส วนราชการทีเ่ กีย่ วของแกไขปรบั ปรุงโดยเรว็ การกําหนดหลักการในหมวดน้มี งุ ประสงคจ ะกาํ หนดเปน หลกั ท่วั ไป เพอ่ื ใหทุกสว น ราชการนาํ ไปเปน แนวทางในการปรับใชกับการปฏิบตั ิภารกจิ ตา ง ๆ ซงึ่ จะตองตอบคําถามใหไ ด วาภารกิจน้ันตอบสนองตอประโยชนสุขของประชาชนจริงหรือไม เพื่อการวิเคราะหวาสมควร ดําเนินภารกิจนั้นอยางไร และสวนราชการไดกําหนดกลไกเพ่ือการตรวจสอบการดําเนินการ ในทกุ ระยะ เพื่อทราบผลกระทบตอประชาชนเพียงใด โดยมกี ารปรบั ปรุงใหสามารถสนองตอบ ตอความตอ งการของประชาชนตอ ไป การดําเนินการของสวนราชการที่จะตองปฏิบัติตามหมวดนี้ สวนราชการจะตอง คาํ นงึ ถงึ การใหป ระชาชนเปน ศนู ยก ลางในการไดร บั การบรกิ ารจากรฐั เปน หลกั สาํ คญั ฉะนน้ั ในการกําหนดภารกิจแตละเร่ืองจะตองมีตัวดัชนีชี้วัดท่ีแสดงผลลัพธใหเห็นโดยชัดแจงวา ประชาชนไดรับประโยชนจากภารกิจนั้นตรงตอความตองการของประชาชน หรือเกิดผลตอ การพฒั นาชวี ติ ความเห็นอยแู ละยกระดบั คุณภาพชีวิตของประชาชนอยางย่ังยืน ทง้ั น้ี โดยตอ ง คํานึงถึงประโยชนของประชาชนสวนรวมและประโยชนของประชาชนแตละรายควบคูกัน และ เนื่องจากแนวนโยบายของรัฐที่กําหนดขึ้นในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และนโยบาย ของคณะรัฐมนตรีซึ่งตองกําหนดข้ึนภายใตกรอบของแนวนโยบายของรัฐตามรัฐธรรมนูญน้ัน

๕๔ รัฐสภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ยอมตองถือวาเปนการกําหนด เพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชนเปนสําคัญ ฉะนั้น สวนราชการจึงมีหนาทีกําหนดภารกิจใหสอดคลองกับแนวนโยบายของรัฐและนโยบายของ คณะรัฐมนตรี เปนพนื้ ฐาน และนาํ มาปรับแนวทางปฏิบตั ใิ หเ กดิ ผลลพั ธทจ่ี ะทาํ ใหเกดิ ประโยชน สุขแกประชาชน การดาํ เนนิ การใหม คี วามโปรง ใสนนั้ หมายถงึ การดาํ เนนิ งานและการตดั สนิ ใจท่ี เปด เผย เพอื่ สรา งความไวว างใจซงึ่ กนั และกนั ของบคุ คลในชาติ หลกั ความโปรง ใสจะเกดิ ขน้ึ ได เมื่อสวนราชการเปดเผยขอมูลทุกข้ันตอนในการปฏิบัติภารกิจ เพื่อใหประชาชนรูและเขาใจได วา สว นราชการมีแนวทางหรอื โครงการจะทําสงิ่ ใดวิธกี ารดําเนนิ งานแตละขน้ั ตอนมีอยอู ยางไร การวิเคราะหขอดีขอเสียและแนวทางการตัดสินใจ รวมทั้งเหตุผลในการวินิจฉัยเปนอยางไร กรณีเหลานี้สวนราชการจําเปนตองเปดเผยใหเปนที่ทราบท่ัวไป ซึ่งในปจจุบันไดมีพระราช บญั ญตั ิขอมูลขา วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ สนับสนนุ ทางการดาํ เนินการที่โปรงใสอยูแลว จึงควรจะเปนสิง่ ทยี่ ึดถอื ปฏิบตั ติ ามโดยใชห ลกั การเปดเผยขอ มูลใหมากทสี่ ดุ มใิ ชอ า งเหตขุ อ ยกเวนไมเปดเผยเปนหลัก การขจัดความทุจริตในวงราชการเปนหัวใจหลักในการบริหาร ราชการ สวนราชการจึงควรตองสรางกลไกการตรวจสอบการปฏิบัติงานตามภารกิจท่ีจะแสดง ใหเห็นวาไมมีชองทางที่จะเกิดการทุจริตได ส่ิงเหลาน้ีจะเกิดขึ้นไดเมื่อสวนราชการไดสราง หลกั เกณฑการปฏิบัตใิ นแตละเรื่องขน้ึ ไวใ หชดั เจนและตรวจสอบไดในทุกข้ันตอน การมสี ว นรว มของประชาชน หมายถงึ การเปด โอกาสใหป ระชาชนไดร บั รขู อ มลู เกย่ี วกบั ภารกจิ หรอื โครงการทสี่ ว นราชการจะดาํ เนนิ การ ซง่ึ มผี ลกระทบตอ ชวี ติ ความเปน อยู โดยปกตขิ องประชนในชมุ ชนนนั้ การทาํ ความเขา ใจถงึ ผลกระทบและแนวทางแกไ ขปญ หา ทสี่ ว นราชการจะดาํ เนนิ การ และการปรกึ ษาหารอื รว มกนั ระหวา งภาครฐั และภาคประชาชน โดยใหป ระชาชนไดแ สดงความคดิ เหน็ และรฐั ตอ งรบั ฟง และแกไ ขปญ หาจนประชาชนเกดิ ความ พงึ พอใจ และมสี ว นรว มในการผลกั ดนั ใหภ ารกจิ หรอื โครงการนน้ั เกดิ ผลสาํ เรจ็ เพราะเหน็ วา จะ เกดิ ประโยชนส ขุ แกป ระชาชน การจดั ใหประชาชนมีสว นรวมในการพิจารณาอาจจดั ทาํ ไดหลาย รปู แบบ เชน การจัดประชุม การพูดคยุ เปน กลมุ การชี้แจงใหค วามรูความเขา ใจและตอบคาํ ถาม ตลอดจนการจัดทําประชาพิจารณโดยหลักสําคัญนั้นสวนราชการตองกระทําไปเพื่อมุงหวังที่จะ รับฟงปญหาของประชาชนใหไดมากที่สุด และทําความเขาใจหรือแกไขปญหาใหลุลวงจนเกิด ความพอใจ มใิ ชเ ปนการดาํ เนินการเพยี งในรปู แบบเพ่ือแสดงวารบั ฟง ความคดิ เห็นแลว เพราะ สิ่งที่ไดจ ากการรับฟง ความคิดเหน็ ท้งั ทไี่ ดด าํ เนนิ การกอ นเรมิ่ โครงการหรือภารกจิ การรบั ฟงใน ขณะดําเนินการและการสํารวจความพึงพอใจในการไดรับบริการจะเปนขอมูลสําคัญของ

พระราชกฤษฎกี าวา ดวยหลักเกณฑและวธิ ีการบรหิ ารกิจการบา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๕๕ กาวสําคญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ัติราชการสมยั ใหม สวนราชการและรัฐบาล ท่ีจะนํามาวิเคราะหความจําเปนของภารกิจและแนวทางการปรับปรุง ภารกิจใหเปนประโยชนแกประชาชนตอไป การรับฟงความคิดเห็นน้ีสวนราชการมีหนาที่ตอง กระทําตั้งแตกอนเร่ิมโครงการ และเมื่อดําเนินการแลวยังตองมีหนาที่ติดตามรับฟงความคิด เห็นจกประชาชน เพ่ือนํามาใชเปน ขอพจิ ารณา ปรับปรุงการดําเนินการใหเปน ประโยชนแก ประชาชนอยางแทจริงเพ่ือใหเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมายในสวนน้ี สวนราชการจึง จําเปนตองกําหนดหลักเกณฑการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในแตละภารกิจข้ึนไวให ชดั เจน หมวด ๓ : การบรหิ ารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธติ์ อภารกจิ ของรัฐ การบริหารราชการแบบมุงผลสัมฤทธ์ิมีสวนเช่ือมโยงโดยตรงกับการบริหารผลการ ปฏิบัติงานภาครัฐ และครอบคลุมเทคนิคในดานการบริหารหลายเร่ือง เริ่มตนต้ังแตการ วางแผนกลยุทธเพื่อกาํ หนดวสิ ยั ทศั นและการกําหนดแผนงานในระยะยาว (strategic planning) การวางแผนปฏิบัติการ (operational planning) ซงึ่ เปนการนํากลยุทธมากาํ หนดเปน กิจกรรม เพ่ือใหเกิดผลสําเร็จ โดยมีเปาหมายท่ีแสดงถึงผลผลิตและผลลัพธ และจะเช่ือมโยงกับการ จดั สรรงบประมาณแบบมุงเนนผลการปฏบิ ตั งิ าน (performance based budgeting) โดยมีผรู ับ ผิดชอบตอผลการปฏิบัติงานท่ีชัดเจนและมีเปาหมายการทํางานท่ีกําหนดไดดวยการทําขอ ตกลงในการปฏิบตั ิงาน (performance agreement) ตลอดจนมตี ัวชว้ี ดั ผลการดําเนนิ งานหลกั (key performance indicators) ทแ่ี สดงประสทิ ธภิ าพ (efficiency) และประสทิ ธผิ ล (effectiveness) และจะนําไปสูการวัดผลการปฏิบัติงาน (performance measurement) ซึ่งจะทําใหสามารถป รับปรุงใหเ กิดผลงานทด่ี ีขน้ึ ได โดยมีการเทียบงาน (benchmarking) เปน การปรับปรุงผลสมั ฤทธ์ิ ของงานและกระบวนการทาํ งานโดยเทียบวิธีการปฏบิ ัติทีด่ ีทสี่ ุด (best practices) คณุ ภาพการ ใหบรกิ าร (service quality) เปน การยกระดับคณุ ภาพของบริการใหผูรบั บริการพอใจ การตรวจ สอบผลการปฏิบัติงาน (performance auditing) เพ่ือสรางความเชื่อม่ันในความถูกตองของ ขอมูล การมอบอํานาจและใหอิสระในการทํางาน (devolution and autonomy) เปนการเปด โอกาสใหผ บู ริหารระดับกลางและตน ทาํ งานไดเตม็ ศักยภาพและแกไขป ญหาไดอยางทันเวลา แนวความคิดในทางทฤษฏีเก่ียวกับการบริหารแบบมุงผลสัมฤทธ์ิไดนํามาแปลง ใหเปนไปในรูปของกฎหมายโดยมีเนื้อหาสาระอยูในหลายหมวดของพระราชกฤษฎีกาน้ี ซงึ่ เปน การกาํ หนดหลกั เกณฑใ หส ว นราชการปฏบิ ตั ใิ หเ ปน ผลขนึ้ สาํ หรบั บทบญั ญตั ใิ นหมวด ๓ นี้ เปนการกําหนดวิธีการปฏิบัติราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ซ่ึงจะวาดวยการกําหนดแผน การทาํ งานทม่ี ีวัตถปุ ระสงคท่ีจะชีว้ ัดผลลพั ธข องงานตอ ไป ดงั นี้

๕๖ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. การปฏบิ ตั ขิ องสว นราชการตอ งสามารถวดั ผลสมั ฤทธข์ิ องภารกจิ ทกี่ ระทาํ ได อยางชัดเจน โดยตองปฏิบตั ิตามแนวทางทีบ่ ญั ญตั ไิ วในมาตรา ๙ ซ่งึ สาระสาํ คญั ตอไปน้ี ๑. ในการจัดทําภารกิจตางๆสวนราชการตองมีแผนปฎิบัติงานขึ้นไวลวงหนา กอ นลงมอื ดําเนินการ หมายถึง เปน การกาํ หนดวิธีปฎบิ ตั ิราชการในระยะตอไปวา การปฎบิ ัติ ราชการในแตละภารกิจ สวนราชการจําเปนตองมีแผนปฎิบัติงานเปนเครื่องมือกํากับ การทํางานข้ึนไวโดยชัดเจนกอนที่จะเริ่มลงมือทํางาน ซึ่งจะมีผลทําใหทราบไดวาเปาหมาย ของภารกิจน้ันคือส่ิงใด และเจาหนาที่ทุกฝายรวมท้ังบุคคลทั่วไปไดทราบวาในระยะเวลาใด สว นราชการจะดาํ เนนิ การในเรอ่ื งใดและจะแลวเสร็จเมือ่ ใด ๒. แผนปฏบิ ตั งิ านตอ งมรี ายละเอยี ดทแี่ สดงใหเ หน็ ถงึ ขน้ั ตอนระยะเวลาและงบประมาณ ท่ีจะตองใช เปาหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธข์ิ องภารกจิ และตัวชว้ี ดั ความสําเร็จของภาระกิจ ความในขอ นี้เปน การขยายรายละเอยี ดวาแผนปฏบิ ัตงิ านในแตละภารกจิ น้นั อยา งนอ ยตองมี หัวขอตามท่ีระบุไวเปนพื้นฐานแสดงรายละเอียดใหเห็นไวในแผน ซึ่งจะเปนการช้ีใหเห็นถึง ผลลัพธแ ละความคมุ คาของงานในภารกจิ นน้ั อยา งไรกต็ าม ในหลายภารกจิ อาจมีหัวขอ เพอ่ื กํากับการปฎิบัติเพ่ิมช้ึน เพื่อใหสามารถติดตามงานไดอยางมีประสิทธิภาพ สวนราชการ ก็สามารถกําหนดเพิ่มขึ้นตามภารกิจทจี่ ะกระทําก็ได ๓. ตอ งมรี ะบบการตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามแผนปฏบิ ตั งิ านนนั้ ทงั้ นี้ เพ่ือใหไดทราบวาการปฎิบัติงานตามแผนนั้นสําเร็จลุลวงตามระยะเวลาการรายงานผล การวัดผลปฏิบัติงานตามชวงเวลา ซ่ึงหลักเกณฑเหลานี้สวนราชการเปนผูกําหนดขึ้นเอง แตถา ก.พ.ร. มีการกําหนดมาตรฐานกลางเกี่ยวกับการติดตามขึ้นเม่ือใดแลว หลักเกณฑ ทส่ี วนราชการจะกําหนดขึ้น จะตอ งสอดคลองกับมาตรฐานกลางนนั้ ดวย ๔. ในกรณที ม่ี ผี ลกระทบตอ ประชาชน สว นราชการตอ งแกไ ขหรอื บรรเทาผลกระทบ หรือเปล่ยี นแปลงแผนใหเหมาะสม โดยท่ีการกิจของสวนราชการนน้ั จะตอ งมุง ใหเกิดประโยชน สุขแกประชาชน ฉะนั้น ในการปฏิบัติตามแผนทีส่ ว นราชการกาํ หนดใหมขี ึ้น จงึ ตอ งตดิ ตามและ รบั ฟง ผลกระทบทมี่ ตี อ ประชาชนตลอดเวลา ซงึ่ กระทาํ ไดโ ดยการสาํ รวจความเหน็ หรอื เปด รบั ฟง ขอรองเรียนหรือขอเสนอแนะ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลนําไปปรับปรุงแผนปฏิบัติงานใหภารกิจ ทกี่ ระทาํ ขึ้นเกิดประโยชนแกป ระชาชนอยางแทจ รงิ

พระราชกฤษฎีกาวา ดวยหลักเกณฑแ ละวิธกี ารบรหิ ารกิจการบานเมอื งท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๕๗ กาวสาํ คญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏิบตั ิราชการสมัยใหม ๒. การบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการ การบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการ คอื การรว มมอื กนั ในระหวา งสว นราชการ ทเ่ี กย่ี วขอ ง เพอื่ ใหม กี ารปฏบิ ตั งิ านรว มกนั หรอื มแี ผนการดาํ เนนิ งานทส่ี อดคลอ งไปในทศิ ทาง เดยี วกนั ซึ่งจะใหภารกิจท่ีสําคัญของรัฐในแตละดานเกิดผลสําเร็จเปนประโยชนแกประชาชน สวนรวมและมีความประหยดั โดยใชทรัพยากรรว มกนั ใหเกดิ ประโยชนสูงสดุ รวมทง้ั สามารถลด ข้ันตอนการปฏิบัติราชการใหเกิดความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพจากการรวมมือปฏิบัติงาน ของทกุ ฝายทเี่ กีย่ วขอ ง ซึ่งในพระราชกฤษฎีกาน้มี แี นวทางไวใ นมาตรา ๑๐ ดงั ตอไปนี้ (๑) การบรู ณาการระหวา งสว นราชการ ในกรณที ภ่ี ารกจิ ใดมคี วามเกยี่ วขอ งกบั หลายสว นราชการ หรอื เปน ภารกจิ ทใ่ี กลเ คยี ง หรือตอเน่ืองกัน ใหสวนราชการที่เกี่ยวของน้ันกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการเพื่อใหเกิด การบริหารราชการแบบบูรณาการ รวมกันโดยมุงใหเกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ (มาตรา ๑๐วรรคหนงึ่ ) ในกรณสี ว นราชการหลายแหง มภี ารกจิ ใดทเ่ี กยี่ วขอ งสมั พนั ธก นั ใหส ว นราชการทกุ แหง ท่ีมีภาระกิจเกี่ยวของกันน้ันกําหนดแนวทางปฏิบัติราชการเพื่อใหมีการบริหารจัดการท้ังในดาน การวางแผน การใชท รพั ยากร และการดําเนินการรว มกนั โดยกาํ หนดเปาหมายใหเ กดิ ผลสาํ เร็จ ในภารกิจนั้นเปนเอกภาพเดียวกัน ในการดําเนินการเพื่อใหเกิดการบูรณาการน้ันอาจริเริ่มมา จากนโยบายของรัฐบาลโดยตรง ซ่ึงกรณีเชนนี้สวนราชการท่ีเก่ียวของท่ีจะตองปฏิบัติตาม นโยบายของรัฐบาลนั้นจะตองรวมมือดําเนินการโดยผสานอํานาจหนาท่ีของแตละสวนราชการ เขาดวยกัน เพ่ือบรรลุเปาหมายใหมีความสําเร็จเกิดขึ้น ตัวอยางท่ีเห็นไดชัดเจนสําหรับการ บริหารงานแบบบูรณาการคือการดําเนินการตามนโยบายการปราบปรามยาเสพติดท่ีไดมีการ รว มมอื กันทกุ หนว ยงานท่เี ก่ียวของท้ังสาํ นกั งาน ป.ป.ส. ตาํ รวจ ทหาร กรมราชทัณฑ กระทรวง มหาดไทย กระทรวงศึกษาธกิ าร และหนว ยงานตา ง ๆ ท่ีมกี ารวางแผนรวมกนั ในการปอ งกนั ปราบปรามบาํ บัดรกั ษาและการติดตามผล (๒) การบรู ณาการในจังหวัดและในตางประเทศ ใหสวนราชการมีหนาที่สนับสนุนการปฏิบัติราชการของผูวาราชการจังหวัดหรือ หวั หนา คณะผูแทนในตางประเทศ เพ่อื ใหการบริหารราชการแบบบูรณาการในจังหวัด หรือใน ตางประเทศ แลวแตกรณี สามารถใชอํานาจตามกฎหมายไดครบถวนตามความจําเปนและ บรหิ ารราชการไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ(มาตรา ๑๐ วรรค ๒)

๕๘ รัฐสภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยที่ในขณะน้ี รัฐบาลไดมีนโยบายในการใหมีการบริหารราชการแบบบูรณาการ ในจงั หวดั และในตางประเทศ โดยในจังหวัดนั้นเปน ไปตามระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี วาดวย ระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และในตางประเทศเปนไปตาม พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดนิ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ฉะนนั้ ในพระราชกฤษฎกี าน้ี จึงบัญญัติรองรับการดําเนินการดังกลาว โดยใหสวนราชการทุกแหงมีหนาที่สนับสนุนการ ปฏิบัติราชการของผูวาราชการจังหวัดหรือหัวหนาคณะผูแทนในตางประเทศเพื่อใหการบริหาร ราชการเปนผลสําเร็จ โดยสามารถใชอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายไดอยางครบถวนตามความ จําเปน ซึ่งในการดําเนนิ การดังกลาวตองใชการมอบอาํ นาจ และในขณะน้ีไดม ีการกําหนดราย ละเอียดไวแ ลว ในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา ดว ยการมอบอาํ นาจ พ.ศ.๒๕๔๖ หนาทีข่ อง สวนราชการทุกแหงท่ีมีภารกิจตองปฏิบัติในจังหวัดใด สวนราชการน้ันจะตองสนับสนุนให ผวู า ราชการจงั หวดั ใชอ าํ นาจแทนไดท ง้ั ในเรอื่ งการบรหิ ารบคุ คลากร การบรหิ ารงบประมาณ และ การใชอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย โดยนําหลักการนี้ไปใชกับภารกิจของสวนราชการ ในตางประเทศดวย ๓. การพฒั นาสวนราชการใหเ ปน องคก ารแหง การเรียนรู สวนราชการตองมีหนาท่ีในการพัฒนาความรูเพ่ือใหมีลักษณะเปนองคการ แหงการเรยี นรูอยาสมา่ํ เสมอ ซ่ึงตามมาตรา ๑๑ ไดบญั ญตั เิ ปนแนวทางปฏิบัติไว สรปุ ไดด งั นี้ ๑. ตองสรางระบบใหส ามารถรบั รูขาวสารไดอ ยางกวา งขวาง ๒. ตองสามารถประมวลผลความรูในดานตาง ๆ เพ่ือนํามาประยุกตใชในการ ปฏบิ ตั ิราชการไดอยา งถูกตองรวดเร็ว และเหมาะสมกบั สถานการณท ่ีมีการเปลี่ยนแปลงไป ๓. ตอ งมกี ารสง เสรมิ และพฒั นาความรคู วามสามารถ สรา งวสิ ยั ทศั น และปรบั เปลยี่ น ทัศนะคติของขาราชการ เพ่ือใหขาราชการทุกคนเปนผูมีความรูความสามารถในวิชาการสมัย ใหมต ลอดเวลา มีความสามารถในการปฏบิ ัติหนา ท่ีใหเ กิดประสิทธภิ าพสูงสดุ และมีคุณธรรม ๔. ตองมีการสรางความมีสวนรวมในหมูขาราชการใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู ซ่ึงกันและกัน เพื่อการนํามาพัฒนาใชในการปฏิบัติราชการรวมกันใหเกิดประสิทธิภาพ โดย เจาหนาท่ีทุกระดับจะตองตอบคําถามไดวาผลงานในแตละวันของตนน้ันสนับสนุนการบรรลุ เปาหมายขององคกรอยางไร และเรียนรูท่ีจะทํางานรวมกันเปนทีมระหวางผูบังคับบัญชา เพอื่ นรวมงาน และผใู ตบงั คับบัญชาเพ่ือไปสูเ ปา หมายเดียวกัน

พระราชกฤษฎกี าวาดว ยหลักเกณฑและวิธีการบรหิ ารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๕๙ กาวสาํ คญั ของการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ริ าชการสมยั ใหม ๔. ความตกลงในการปฏบิ ัตงิ าน บทบัญญัติมาตรา ๑๒ ไดวางระบบการปฏิบัติราชการแนวใหมที่มีความสําคัญ ในการสรางความรับผิดชอบของผูบริหารงาน เพ่ือท่ีจะกํากับการปฏิบัติราชการใหประสบ ความสาํ เรจ็ และเกิดผลสมั ฤทธขิ์ องงาน โดยไดบ ญั ญัติไวด งั น้ี มาตรา ๑๒ เพอ่ื ประโยชนใ นการปฏบิ ตั ริ าชการใหเ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิ ก.พ.ร. อาจเสนอ ตอคณะรัฐมนตรีเพื่อกําหนดมาตรการกํากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทําความตกลง เปน ลายลักษณอักษรหรอื โดยวิธกี ารอน่ื ใด เพ่ือแสดงความรับผิดชอบในการปฏบิ ตั ิราชการ ในการบริหารงานแบบมุงผลสัมฤทธิ์น้ัน จะมีแผนงานในการปฏิบัติราชการกํากับ การดําเนินการอยูเสมอ เพ่ือแสดงนโยบายของรัฐบาลใหเห็นเปาหมายของการบริหารงานใน ระดับชาติเปนภาพรวมของภารกจิ ของรัฐ ซง่ึ จะแสดงออกมาในรูปแผนการบริหารราชการแผน ดินและสวนราชการทุกแหงจะมีการกําหนดแผนปฏิบัติการเพื่อนํานโยบายที่รัฐบาลกําหนด แปลงไปสูภาคปฏิบัติ ซึ่งจะกําหนดวิธีดําเนินการและผลสําเร็จของงานที่มีตัวชี้วัดไดวาเกิดผล สัมฤทธ์ติ รงตามเปาหมาย ฉะน้นั เพอื่ ใหมกี ารดาํ เนนิ การตามแผนตา ง ๆ บรรลุผลสําเร็จอยาง แทจริงโดยมีผูรับผิดชอบตอการปฏิบัติงานนั้น จึงกําหนดมาตรการใหมีการทําความตกลงใน การปฏิบัตงิ าน (performance agreement) ขนึ้ เพอ่ื เปนมาตรการสําคัญในการกํากบั การปฏิบตั ิ ราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ในการจัดทําความตกลงในการปฏิบัติงานนั้นจะจัดทําในรูปแบบการ ทาํ ความตกลงรว มกัน ระหวางผกู าํ หนดนโยบายกบั ผูรบั ผดิ ชอบในการนํานโยบายไปปฏบิ ตั ใิ น แตล ะเรอื่ ง ซง่ึ อาจะเปน การทําความตกลงระหวา งรัฐมนตรกี ับปลดั กระทรวง ปลัดกระทรวงกับ อธบิ ดี หรือผูดาํ รงตําแหนง อนื่ ๆ ทีต่ อ งรับผดิ ชอบปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ตามแผนงานท้งั น้ี การดาํ เนิน การตามหลกั การน้จี ะนํามาใชเ ม่ือ ก.พ.ร. ไดว เิ คราะหแ ละจดั ทํารูปแบบ และหลกั เกณฑข อง การทําความตกลงในการปฏิบัติงานเสนอตอคณะรัฐมนตรี เพื่อนํามาใชในการปฏิบัติงานของ แตล ะระดบั ความตกลงในการปฏิบัติงาน นอกจากเปนมาตรการในการกํากับการปฏิบัติ ราชการเพ่ือเปน หลกั ประกนั การปฏิบัติงานตามแผนใหเ กิดผลสําเรจ็ แลว ยงั ใชเ ปนขอ มลู ในการ ประเมินศักยภาพของบคุ คลผดู ํารงตําแหนง ตา ง ๆ และความเหมาะสมในการมอบหมายความ รับผดิ ขอบตอไป รวมถงึ จะเปน ขอมลู เพอ่ื สรางแรงจงู ใจและจา ยคา ตอบแทนตามผลงาน (per- formance-related pay) ไดใ นระยะตอไปดวย

๖๐ รัฐสภาสาร ปท ่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๕. การกําหนดแผนบรหิ ารราชการ เพ่ือใหการบริหารราชการมีเปาหมายที่ชัดเจนและทุกสวนราชการสามารถกําหนด ยุทธศาสตรการปฏิบัติราชการใหเปนไปอยางตอเนื่อง รวมทั้งกําหนดความรับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการซึ่งจะเปนท่ีมาของการจัดทําขอตกลงวาดวยผลงานใหเกิดขึ้น และทุกคนใน องคกรของภาครัฐรวมท้ังประชาชนจะสามารถทราบไดวาในแตละปทิศทางของการบริหาร ประเทศจะดาํ เนนิ การในเรือ่ งใด การดําเนินการในสว นนีจ้ ึงกําหนดใหมีแผนตา ง ๆ ที่จะตอ ง จดั ทาํ ข้นึ ดังน้ี ๑. แผนการบรหิ าราชการแผน ดนิ เปน แผนการบรหิ ารของรฐั บาลมรี ะยะเวลา ๔ ป ซึ่งเปนการนํานโยบายของรัฐบาลมาแปลงเปนแผนโดยสอดคลองกับแนวนโยบายของรัฐ ตาม รัฐธรรมนูญและแผนพัฒนาประเทศดานตา ง ๆ เพอ่ื กําหนดหัวขอทสี่ ําคญั ในแตละเร่ือง ที่จะใช เปนแนวทางการบริหารราชการแผนดินท่ีมีเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน การกําหนด ผทู จ่ี ะตอ งรบั ผดิ ชอบรายไดร ายจา ยและทรพั ยากรทต่ี อ งใช ระยะเวลา และการตดิ ตามประเมนิ ผล ในการดําเนินการน้ัน สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สํานักเลขาธิการนายก รัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสํานักงบ ประมาณ จะเปนผูรับผิดชอบรวมกันในการจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน โดยจะเร่ิม จัดทําเม่ือรัฐบาลไดแถลงนโยบายตอรัฐสภาแลว จะตองทําใหแลวเสร็จภายใน ๙๐ วัน เพอื่ ประกาศใชเปน แผนชาตทิ มี่ ีผลผูกพนั ทุกสว นราชการตอ งนําไปปฏบิ ตั ิ ๒. แผนนิติบัญญัติ เปนการจัดทําแผนดานกฎหมายท่ีจะตองจัดใหมีหรือแกไข เพมิ่ เตมิ กฎหมายเพอ่ื เปน กลไกรองรบั การดาํ เนนิ การตามแผนการบรหิ ารราชการแผน ดนิ ซง่ึ จะมี การกําหนดสาระสําคญั ของกฎหมาย ผรู ับผิดชอบ และระยะเวลาการดําเนินการที่สอดคลอ ง กบั ระยะเวลาของแผนการบรหิ ารราชการแผนดนิ ในการดําเนินการสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และสํานักเลขาธิการ คณะรฐั มนตรี จะรบั ผดิ ชอบรว มกนั เพอื่ จดั ทาํ แผนนติ บิ ญั ญตั ขิ น้ึ เมอื่ มแี ผนนติ บิ ญั ญตั แิ ลว ทกุ สว น ราชการทีเ่ กย่ี วขอ งจะตอ งนาํ ไปจัดทํากฎหมาย ใหสอดคลอ งกบั เนอ้ื หาและระยะเวลา เพ่ือใหม ี กฎหมายเปน กลไกสนับสนนุ การดาํ เนินการตามแผนการบรหิ ารราชการแผนดินไดต อ ไป ๓. แผนปฏบิ ตั ริ าชการ เปน แผนของทกุ สว นราชการทจ่ี ะแปลงแผนลรหิ ารราชการ แผน ดนิ ซงึ่ เปน การกาํ หนดในเชงิ นโยบายใหเ ปน แนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการตามความรบั ผดิ ชอบ ของสวนราชการน้ัน ซ่ึงจะตองมกี ารจัดทําเปน ๒ ระยะ คอื

พระราชกฤษฎกี าวาดวยหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารบรหิ ารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๖๑ กาวสําคัญของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการสมยั ใหม ๑. แผนปฏบิ ัตริ าชการสปี่  เพื่อเปนการวางแผนระยะยาวในการปฏบิ ตั ติ ามภารกิจ ในขอบเขตความรับผิดชอบของแตละสว นราชการ ใหส อดคลองกับแผนบริหารราชการแผน ดนิ ๒. แผนปฏิบัติราชการประจําป เพ่ือเปนการกําหนดแผนการปฏิบัติราชการใน แตละปโดยแปลงมาจากแผนสปี่ น้ันวา ในปหนึ่งมีภารกจิ ใดจาํ เปนตองกระทํา โดยมเี ปา หมาย และผลสัมฤทธ์ิของงานอยางไร ซึ่งแผนปฏิบัติราชการประจําปน้ีจะเปนสิ่งท่ีกําหนดงบ ประมาณของสวนราชการในปน้ันดวย เพราะเม่ือคณะรัฐมนตรีเห็นชอบกับแผนปฏิบัติ ราชการประจาํ ปข องสว นราชการใดแลว สาํ นกั งบประมาณจะพิจารณาจัดสรรงบประมาณ เพือ่ ใหเพียงพอแกการปฏิบัติงานใหเกิดผลสําเร็จและการโอนงบประมาณจะทําไดเม่ือมีการปรับ แผนตามท่ีคณะรัฐมนตรเี ห็นชอบภายใตเ ง่อื นไขที่กาํ หนดไว คือ ภารกจิ ใดไมอ าจดาํ เนินการตอ ไปไดหรือหมดความจําเปนหรือไมเปนประโยชน หรือตองเสียคาใชจายเกินความจําเปนหรือมี ความจําเปนอยางอ่ืน และในการปรับแผนนั้นจะตองแกไขแผนบริหารราชการแผนดินให สอดคลองกันดวย สวนแผนปฏิบัติราชการใดคณะรัฐมนตรีไมอนุมัติจะจัดสรรงบประมาณให มไิ ด และเมอ่ื สิน้ ปสวนราชการตองรายงานแสดงผลสัมฤทธิ์เสนอตอคณะรฐั มนตรี หลกั การในขอ นม้ี ขี ้นึ เพอื่ รองรับการปรบั ปรงุ ระบบงบประมาณแบบมุงผลสัมฤทธ์ิ ของงาน ซึ่งขณะนก้ี ําลงั ดําเนินการปรับปรุงพระราชบญั ญัติวิธกี ารงบประมาณท่กี าํ หนดใหสวน ราชการตอ งมีแผนระยะยาว แผนระยะปานกลางขน้ึ ไวเพ่อื การจัดสรรงบประมาณดว ย ฉะนน้ั เมอ่ื มกี ารตรากฎหมายวิธกี ารงบประมาณกําหนดใหมีแนวทางดงั กลา ว สํานักงบประมาณ และ ก.พ.ร. จะตองรวมกันกําหนดแนวทางการจัดทําแผนปฏิบัติราชการใหสามารถใชได โดยสอดคลอ งกับการจัดทํางบประมาณ ๔. ความตอเนื่องในการปฏิบัติราชการ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงนายกรัฐมนตรี หัวหนาสวนราชการมีหนาท่ีสรุปผลและใหขอมูลตอนายกรัฐมนตรีคนใหม เพื่อใชเปนขอมูล การกาํ หนดนโยบายการบรหิ ารราชการแผน ดนิ หมวด ๔ :การบรหิ ารราชการอยา งมีประสทิ ธภิ าพและเกิดความคมุ คาในเชิง ภารกิจของรฐั บทบัญญัติในสวนน้ี เปนการกําหนดวิธีการทํางานของสวนราชการทั้งในกรณี ท่ีใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานและสามารถวัดความคุมคาในการปฏิบัติแตละภารกิจ โดยกาํ หนดใหส วนราชการตองปฏิบัตติ ามหลกั การดงั น้ี

๖๒ รฐั สภาสาร ปท ่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. หลักความโปรง ใส การกําหนดใหสวนราชการตองใชหลักความโปรงใสน้ันเพ่ือเปนการแสดงใหเห็น ถึงความมีประสิทธิภาพในการบริหารงานที่สามารถเปดเผยใหบุคคลท่ัวไปตรวจสอบ ประสทิ ธิภาพในการทาํ งานไดพ ระราชกฤษฎีกานีจ้ งึ กาํ หนดเรอื่ งดังกลา วไวในมาตรา ๒๐ ซึง่ มี สาระสําคญั ดังน้ี สวนราชการตองประกาศกําหนดเปาหมาย และแผนการทํางานระยะเวลาแลว เสร็จและงบประมาณท่ีตองใชเพ่ือใหขาราชการและประชาชนทราบ ซึ่งจะทําใหการทํางาน มีความโปรงใสสามารถตรวจสอบแผนการทาํ งานได หลักความโปรงใสน้ันเปนการสรางความรูสึกที่ดีและเกิดการยอมรับผลการปฏิบัติ ราชการจากประชาชน ซึ่งในการดําเนินการของรัฐน้ันมุงประสงคจะใหบริการแกประชาชน เพ่ือใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนโดยทั่วถึง สวนราชการจึงควรท่ีจะสามารถเปดเผย แนวทางการปฏิบัติราชการในทุกเรื่อง ใหประชาชนสามารถตรวจสอบไดวาภารกิจของภาครัฐ มจี าํ นวนเรอ่ื งเทา ใดและจะดาํ เนนิ การในแตล ะเรอื่ งอยา งไร เวน แตเ ปน เรอ่ื งกระทบความมน่ั คง ที่จําเปน ตอ งกระทําเพือ่ คุม ครองประชาชนสว นใหญของสงั คม แนวทางการดําเนินการของสวนราชการเพ่ือใหเปนไปตามมาตรา ๒๐ ดังกลาว ขางตน สวนราชการจะตองประกาศโดยเปดเผย โดยวิธีการที่สวนราชการน้ันจะเห็นวา ขาราชการของตนและประชาชนไดรับทราบภารกิจที่จะดําเนินการในรอบปซึ่งปรากฎตามแผน ปฏิบัติราชการวา มีภารกิจใดท่ีสวนราชการน้ีจะตองกระทํา วิธีการทํางานในภารกิจนั้น เปา หมายทแ่ี สดงใหเ หน็ ความสาํ คญั ของภารกจิ วา จะเกดิ ประโยชนใ นเรอื่ งใด ระยะเวลาทจ่ี ะทาํ ภารกจิ เสรจ็ สนิ้ และงบประมาณทจี่ ะใชอ นั เปน การแสดงความคมุ คา ของการปฏบิ ตั ติ ามภารกจิ นน้ั ๒. หลกั ความคมุ คา หลักความคุมคาเปนการแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการบริหารราชการซึ่ง สามารถวัดผลไดและจะเปนขอมูลสําคัญในการนํามาใชปรับปรุงวิธีการทํางานใหเกิดประโยชน สงู สดุ ไดตอ ไป หลักการในเรอ่ื งน้จี งึ นาํ มาบญั ญัติไวใ นมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒และมาตรา ๒๓ โดยมีสาระสาํ คญั ตอไปน้ี

พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกจิ การบา นเมืองทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๖๓ กาวสําคญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏิบัติราชการสมยั ใหม ๑. สว นราชการตอ งจดั ทาํ บัญชีตนทุนในงานบรกิ ารสาธารณะแตละประเภท และ รายจายตอหนวยของบริการสาธารณะเพ่ือการเปรียบเทียบความคุมคาระหวางปจจัยนําเขา กับผลลัพธท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงหากรายจายตอหนวยของงานบริการสาธารณะของสวนราชการใด สูงกวารายจายตอหนวยของงานบริการสาธารณะประเภทเดียวกันของสวนราชการอ่ืน สว นราชการนนั้ ตอ งจดั ทาํ แผนการลดรายจา ยตอ หนว ย เพอื่ ดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ การทาํ งานตอ ไป ซึง่ รายละเอียดในการจัดทําบญั ชตี น ทุนกรมบญั ชกี ลางจะเปน ผกู ําหนดขนึ้ (มาตรา ๒๑) ๒. สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ จะเปน ผตู รวจสอบ ความคุมคาในการปฏิบัติภารกิจแหงรัฐ เพ่ือรายงานตอคณะรัฐมนตรีประเมินวาภารกิจใด สมควรทําตอไปหรือยุบเลิกโดยคํานึงถึงประโยชนท่ีรัฐและประชาชนจะพึงไดรับจากภารกิจนั้น และในการประเมินความคุมคาจะตองคํานึงถึงประเภทและสภาพของแตละภารกิจ ความเปน ไปได ประโยชนท ร่ี ัฐและประชาชนจะไดร ับ โดยเทียบกับรายจายของรัฐ ทัง้ น้ี มิใชคาํ นวณเปน ตัวเงินเทา นั้น แตตองคํานงึ ถึงประโยชนไ ดเ สยี ของสงั คมดว ย (มาตรา 22) ๓. การจดั ซอ้ื จดั จา งจะตอ งกระทาํ โดยเปด เผยและเทย่ี งธรรมโดยจะตอ งชงั่ นา้ํ หนกั ถงึ ประโยชนและผลเสียตอสงั คม ภาระตอประชาชน คุณภาพ วัตถปุ ระสงคท จ่ี ะใช ราคา และ ประโยชนร ะยะยาวของสว นราชการ ซ่ึงมใิ ชถ ือราคาตํ่าสดุ เปนเกณฑอยา งเดยี ว แตค าํ นงึ ถึงการ ใชทรัพยากรอยางคุมคาในระยะยาวท่ีจะใหตนทุนการบริการสาธารณะตํ่าลงไดโดยจะตองมี การปรับปรงุ ระเบียบวา ดวยการพสั ดุเพ่อื ใหเ ปนไปตามหลักการดงั กลาว (มาตรา ๒๓) ในการพจิ ารณาวาการบรหิ าราชการหรือการดําเนินภารกจิ ใด ๆ จะมปี ระสทิ ธภิ าพ หรือไมนนั้ จําเปน ตอ งมกี ารพจิ ารณาในเชิงเปรยี บเทยี บระหวา งปจ จัยนําเขา (input) กบั ผลลัพธ (outcome) ท่ีเกิดข้ึน โดยตองมีขอมูลพื้นฐานของผลงานทีเกิดขึ้นจริงของสวนราชการ แตละหนวยมาเทียบกับเปาหมายหรือประมาณการท่ีกําหนดไวเทียบกับตนทุนคาใชจาย ดวยเหตุนี้ จึงตองมี หลักเกณฑในการจัดทําบัญชีตนทุนในงานบริการสาธารณะข้ึนไวให ชัดเจนโดยบัญชีตนทุนตองสามารถแสดงใหเห็นถึงตนทุนตัวเงินและทรัพยสินท่ีมีการนําไปใช ในการปฏิบตั ภิ ารกิจโดยตรง และตนทุนอนื่ ทมี่ ใิ ชตัวเงินแตแฝงอยใู นการปฏิบัติงาน เชน คาจาง ของเจาหนาท่ีซ่ึงสัมพันธกับระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตละเรื่อง การที่มีขอมูลที่ครบถวนท่ี เกดิ ข้ึนจากการปฏบิ ตั ิงานที่แทจรงิ จะเปน เครอื่ งชี้ใหเ ห็นถึงประสิทธิภาพการทํางานในภาพรวม และเปน เครื่องวัดถงึ ความคุม คา ของผลงานทเี่ กดิ ขน้ึ ได เมอ่ื ทราบถงึ ตนทุนการบรกิ ารสาธารณะ ที่เกิดขึ้นแลว ยอมนํามาสูการกําหนดเปาหมายเพื่อการลดตนทุนคาใชจายของแตละ

๖๔ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ สว นราชการ และการคาํ นงึ ถงึ การใชท รพั ยากรใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ซงึ่ จะนาํ ไปสกู ารปรบั ปรงุ กระบวนการทาํ งานเพือ่ ใหม ีประสทิ ธิภาพขึน้ ในสวนของการประเมินความคุมคาตามท่ีกําหนดในมาตรา ๒๒ นั้น เปนการ วิเคราะหการดําเนินภารกิจของแตละสวนราชการท่ีไดดําเนินการไปวา ประโยชนท่ีเกิดข้ึนจาก การดําเนินการนั้นเทียบไดก บั การใชท รัพยากรในอตั ราทส่ี มดุลกนั หรือไม ทั้งน้ี ในการประเมนิ นั้นตองไมคํานึงแตเฉพาะประโยชนหรือรายจายท่ีคํานวณเปนตัวเงินไดเทานั้นแตตองพิจารณา ถงึ ประโยชนข องสงั คมทไี่ ดร บั จากภารกจิ นน้ั และประโยชนด า นอนื่ ทไ่ี มอ าจคาํ นวณเปน ตวั เงนิ ดว ย เพราะภารกิจของภาครัฐน้ันมิใชกระทําเพ่ือแสวงหากําไร แตเปนการดําเนินการเพื่อประโยชน ของประชาชน การวัดความคุมคาในทางเศรษฐกิจดานเดียวจะไมครอบคลุมถึงภารกิจภาครัฐ ท้ังหมด ซงึ่ แมว าบางเรือ่ งจะไมเกดิ ความคุมคาแตเปน หนา ทข่ี องรฐั เพือ่ การรกั ษาความปกติสขุ ใหเกิดข้ึนในสังคม เชนนี้ก็ยังเปนภารกิจที่ตองกระทําตอไป การประเมินความคุมคาจึงเปน ขอมลู ในการกาํ หนดนโยบายและการวางแผนการปฏิบตั งิ านถา งานใดประโยชนไดร ับมีเลก็ นอย หรือไมมีก็อาจพิจารณาเลิกภารกิจนั้นหรือนําไปรวมกับภารกิจอ่ืนท่ีไดผลอยางเดียวกัน หรือ งานใดมีประโยชนค วรจะดาํ เนนิ การตอไปแตการลงทุนมีมลู คาสงู มาก อาจแสดงใหเ หน็ ถงึ ความ ไมคมุ คา และสมควรตอ งปรับเปลยี่ นวิธีการใหเ หมาะสมและยังรักษาประโยชนไ วอยา งเดิม สําหรับการจัดซื้อจัดจา งตามทีก่ าํ หนดในมาตรา ๒๓ นัน้ มงุ หมายใหมกี ารเปล่ียน แนวความคิดเดิมทมี่ งุ จัดซ้ือจดั จางโดยคาํ นึงเฉพาะราคาตํ่าสดุ เปน สาํ คญั ซึ่งทีผ่ านมาหลายคร้ัง เปนปญ หาในการปฏิบตั ิราชการ เพราะการจัดซือ้ จดั จา งโดยใชร าคาตํา่ สดุ อาจทาํ ใหไดข องทม่ี ี คณุ ภาพตํ่า หรือใชป ระโยชนไ ดเพยี งในชว งเวลาหนึ่ง รวมตลอดถงึ การละทง้ิ งานเพราะปฏบิ ตั ิ ตามสัญญาไมได ซึ่งทาํ ใหตอ งเริม่ ดาํ เนนิ การใหมอ นั เปนการสูญเสียเวลาในชวงน้นั ไป ฉะนั้น หลกั การใหมจ งึ กาํ หนดใหก ารจัดซ้อื จัดจางตอ งคํานึงถงึ ความคุมคาเปนหลัก โดยตองพิจารณา ถึงการจัดซื้อจัดจางที่มีกระบวนการท่ีงายและรวดเร็วสามารถนําของที่จัดซื้อจัดจางมาให บริการได ไมเกิดภาระแกป ระชาชนท่ตี อ งรอคอยการไดร บั บรกิ าร และจะตอ งคาํ นงึ ถงึ คณุ ภาพ และประโยชนระยะยาว รวมทั้งวตั ถปุ ระสงคท ี่จะนําสิ่งน้ันมาใชป ระโยชนด วย ซ่งึ อาจจะเทยี บ ไดกับการซ้ือของมาตรฐานท่ัวไปท่ีมีราคาถูกแตตองมีการซอมแซมบอยกับการซื้อของท่ีมี คุณภาพสูงกวา แตม อี ายุใชง านไดยาวกวา โดยไมต องซอมแซม เชนนี้การคาํ นวณความคมุ คา ของการใชทรัพยากรอยางหลังอาจจะมีประสิทธิภาพสูงกวา ก็ควรเลือกอยางหลัง อยางไร กต็ าม ความในระเบียบมาตรา ๒๓ นนั้ มีข้นึ เพือ่ ใหเ ปนหลกั การและสว นราชการทม่ี ีหนา ท่กี ํากับ ดูแลระเบียบวาดวยการจัดซ้ือจัดจางจะตองมีหนาที่ไปปรับปรุงระเบียบใหสอดคลองหลักการน้ี เพอ่ื ใหส วนราชการตาง ๆ นําไปปฏบิ ัตใิ หเปน ไปตามหลกั ความคุมคา น้ีตอ ไป

พระราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลักเกณฑและวธิ กี ารบรหิ ารกิจการบา นเมอื งท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๖๕ กาวสาํ คญั ของการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ิราชการสมัยใหม ๓. หลกั ความชดั เจนในการปฏิบตั ิราชการ (หลักความรบั ผดิ ชอบ) หลักความรับผิดชอบมีขึ้นเพ่ือใหการปฏิบัติราชการในระยะตอไปมีผูรับผิดชอบตอ ผลของงานท่ีเกิดข้ึนจากความลาชาหรือละเลยไมยอมปฏิบัติหนาที่ ซึ่งสงผลใหเกิดความเสีย หายในการบรหิ ารราชการ และประชาชนไดร บั ความเดือดรอ น เพอ่ื แกไขปญหาที่เกดิ ข้นึ บอ ย คร้ังในการปฏิบัติราชการที่ผานมา พระราชกฤษฎีกาฉบับน้ีจึงกําหนดหนาท่ีในการปฏิบัติ ราชการใหเ กดิ ความรับผดิ ชอบข้นึ ในมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ และมาตรา ๒๖ โดยมีสาระสาํ คัญ ดังตอไปน้ี ๑. ในการปฏิบัติราชการระหวางสวนราชการดวยกัน ถาการปฏิบัติงานของ สวนราชการหนึ่งตองไดรับความเห็นชอบหรืออนุญาตจากอีกสวนราชการหน่ึง สวนราชการ ผูเห็นชอบหรืออนุญาตตองดําเนินการภายใน ๑๕ วัน เวนแตไดประกาศกําหนดเวลาไว ลว งหนา แลว วา ตอ งเกนิ กวา ๑๕ วนั เพราะตอ งปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนของกฎหมาย ถา มกี ารเหน็ ชอบ หรือนมุ ตั ิเกนิ เวลา ขาราชการทีเ่ ก่ียวขอ งตองรบั ผดิ ชอบในความเสียหายท่เี กดิ ขน้ึ เวนแตพิสูจน ไดว า ความลา ชา มิใชเปนความผิดของตน (มาตรา 24) ๒. การวนิ จิ ฉัยช้ีขาดปญหาใด ๆ สว นราชการตอ งเปนผูพจิ ารณาวินจิ ฉัยโดยเรว็ และหลกี เลย่ี งการแตง ตง้ั คณะกรรมการขน้ึ พจิ ารณา ทง้ั น้ี เพอ่ื ใหเ กดิ หลกั ทช่ี ดั เจนในการรบั ผดิ ชอบ ของสว นราชการและมิใหใ ชเ วลานานในการพิจารณาในรปู แบบของคณะกรรมการ (มาตรา ๒๕ วรรคหนึง่ ) ๓. ในกรณีที่เปนการพิจารณาในรูปแบบคณะกรรมการใหมีผลผูกพันผูแทนสวน ราชการ แมจ ะมไิ ดเขารว มประชุม และจะตองมกี ารบนั ทึกฝายขางนอยไวดวย ท้งั น้ี เพ่ือให เกิดหลักท่ีชัดเจนในความรับผิดชอบของผูปฏิบัติหนาท่ีแทนสวนราชการในคณะกรรมการ อนั จะกอ ใหเ กดิ ผลสรปุ ของงานทแ่ี นน อนไมเ ปลย่ี นแปลงโดยสว นราชการนน้ั ภายหลงั (มาตรา ๒๕ วรรคสอง) ๔. การส่ังราชการตองเปนลายลักษณอักษร ถามีการส่ังการดวยวาจาตองบันทึก คําสั่งน้ันไว ท้ังน้ี เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการส่ังเพ่ือปฏิบัติราชการท่ีตองมีหลักฐานยืนยัน คําสงั่ ท่แี นน อนมคี วามรับผิดชอบ ท้งั ผูส่งั และผูป ฏิบตั งิ าน (มาตรา ๒๖)

๖๖ รัฐสภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบับท่ี ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ในสวนแรกตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๒๔ เปนการกําหนดหนาท่ีในระหวาง สวนราชการดวยกัน ซ่ึงเปนปกติในการปฏิบัติราชการท่ีการดําเนินการตามอํานาจหนาที่ของ สวนราชการหน่ึงตองไดรับความเห็นชอบหรือการอนุญาตตามอํานาจหนาที่ของอีกสวนหน่ึง เสียกอน จึงจะดาํ เนินการตอไปได โดยทีก่ ารทาํ งานของสวนราชการตาง ๆ ที่เกีย่ วขอ งนั้นมี ความสัมพันธเชื่อมโยงกัน และผลลัพธในทายท่ีสุดเปนการใหบริการแกประชาชนหรือปฏิบัติ ตามนโยบายของรฐั หากสว นราชการทม่ี อี าํ นาจเหน็ ชอบหรอื นญุ าตดาํ เนนิ การลา ชา ยอ มกอ ใหเ กดิ ผลเสียหายตอรัฐในภาพรวมที่ทําใหการดําเนินการตาง ๆ ไมอาจกระทําตอไปได หลักการ ตามพระราชกฤษฎีกาน้ีจึงกําหนดระยะเวลาในการพิจารณาใหความเห็นชอบหรืออนุญาตสวน ราชการหนึง่ จะตอ งพิจารณาใหก ับการดาํ เนินการของอีกสวนราชการหน่งึ ภายใน ๑๕ วัน โดย เริ่มนับต้ังแตวันท่ีสวนราชการท่ีมีอํานาจหนาที่เห็นชอบหรืออนุญาตไดรับเรื่องที่สงมาจากสวน ราชการอ่ืนและนับเฉพาะวันทําการของสวนราชการนั้น เพ่ือที่สวนราชการที่จะตองมีหนาที่ ดําเนินการตอไปที่สงเรื่องมาใหพิจารณาจะไดทราบผลและปฏิบัติงานไดอยางตอเน่ืองรวดเร็ว และเพ่ือใหเกิดความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานจึงกําหนดเปนบทบังคับวา หากลาชาเกิน กําหนดเวลาและมีความเสียหายเกิดขึ้นขาราชการผูรับผิดชอบในการพิจารณาเร่ืองน้ันตองรับ ผิดชอบกบั ความเสยี หายทีเ่ กดิ ขน้ึ โดยถอื วา เปน การประมาทเลินเลออยา งรายแรง ซึง่ ตองรบั ผิดชดใชคาเสียหายเปนการสวนตัวและไมไดรับความคุมครองตามกฎหมายวาดวยความรับผิด ทางละเมดิ ของเจา หนา ท่ี ขอ กาํ หนดในสว นตอ มาตามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ นมาตรา ๒๕ เปน การกาํ หนดเกย่ี วกบั ความรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ริ าชการของสว นราชการทจ่ี ะตอ งวนิ จิ ฉยั ชขี้ าดปญ หาตามอาํ นาจ หนาที่ของสวนราชการนั้น ซึ่งกําหนดใหสวนราชการตองพิจารณาโดยเร็วโดยใชอํานาจของ ตนเอง และหลีกเลย่ี งการดําเนินการในรูปคณะกรรมการ เพราะสภาพปญหาการปฏบิ ตั ิราชการ ท่ีลาชาประการหน่ึงเกิดจากการท่ีสวนราชการจะตั้งคณะกรรมการเพ่ือพิจารณาอยูเสมอ ซ่ึงการทํางานในรูปแบบของคณะกรรมการนั้นมีขอจํากัดในการดําเนินงานเพราะตองกระทําใน รูปองคคณะ และตองจัดใหมีการประชุมซึ่งไมอาจทําไดโดยตอเนื่อง รวมท้ังไมมีผูรับผิดชอบ โดยเฉพาะและสวนใหญเจาหนาท่ีของสวนราชการซ่ึงเปนฝายเลขานุการจะไดเตรียมเร่ืองจนมี ขอสรุปแลว หลายเร่ืองจึงไมจําเปนตองมีคณะกรรมการใหเกิดขั้นตอนการทํางานท่ีลาชาอีก แนวทางปฏิบัติเร่ืองนี้สวนราชการจึงควรจัดวางระบบและพัฒนาความรูเจาหนาที่ของตนให สามารถพิจารณาตดั สนิ ใจวนิ จิ ฉยั ชี้ขาดปญหาในความรบั ผดิ ชอบไดโ ดยตรง

พระราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลักเกณฑและวธิ ีการบรหิ ารกิจการบานเมอื งที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๖๗ กาวสําคัญของการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ิราชการสมยั ใหม สําหรับในกรณีใดท่ีจําเปนตองดําเนินการในรูปคณะกรรมการน้ันการดําเนินการ ก็ควรใหบรรลุวัตถุประสงคของการต้ังคณะกรรมการ เพราะการดําเนินการในรูปแบบ คณะกรรมการเปนการปฏิบัติงานโดยมุงหวังจะรับฟงความเห็นและหาขอยุติในระหวางผูแทน หนวยงานตาง ๆ ในคณะกรรมการนั้นและสามารถนําผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ไปปฏบิ ตั ไิ ดโ ดยตรงและไมม ขี อ ขดั แยง จากหนว ยงานทม่ี ผี แู ทนเขา รว มประชมุ ในคณะกรรมการอกี ฉะน้นั เพอ่ื ใหก ารปฏิบัติงานในรูปแบบคณะกรรมการเปนไปอยา งมปี ระสิทธภิ าพและเกิดความ รวดเร็วจึงกําหนดเปนหลักการไววาเม่ือมีการต้ังคณะกรรมการแลว ผูแทนสวนราชการที่อยูใน คณะกรรมการตอ งมารว มประชมุ การไมมาประชมุ ถือเปนเหตุโตแ ยง ผลการประชุมในภายหลัง มิไดเพราะผลการประชุมนั้นจะผูกพันทุกสวนราชากรท่ีมีผูแทนในคณะกรรมการเพื่อมิใหมีการ โตแยงภายหลังอันเปนเหตุใหไมอาจปฏิบัติราชการตามผลการประชุมตอไปได แนวทางปฏิบัติ ของสวนราชการในขอน้ีจึงควรพิจารณาแตงตั้งผูที่สามารถรับผิดชอบแทนสวนราชการไดและ สามารถเขาประชุมในคณะกรรมการท่ีมีการแตงตั้งไดตลอดเวลา หากไมอาจเขารวมประชุม ตอ งแสดงความเห็นไวล วงหนาเปน ขอพจิ ารณาของคณะกรรมการ ในประการสดุ ทา ยของขอ กาํ หนดในเรอื่ งนต้ี ามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ นมาตรา ๒๖ คอื การสงั่ ราชการตอ งทาํ เปน หนงั สอื เพอ่ื ใหเกดิ หลกั ฐานที่ชัดเจนในการปฏิบัติราชการและแสดง ความรับผิดชอบในผลการดําเนินการตามคําส่ังของตน มิใหเกิดปญหาการปฏิบัติงานท่ีไมมี ผูยอมรับผิดชอบวาเปนผูส่ังการ ซ่ึงทําใหผูใตบังคับบัญชาตองรับผิดท้ังที่ไดกระทําไปตามที่ได รับคําส่ัง แตไมมีหลักฐานยืนยันคําสั่งน้ัน อยางไรก็ตาม ในกรณีเรงดวนซ่ึงมีอยูเสมอในการ ปฏิบัติราชการอาจมีคําส่ังใหปฏิบัติดวยวาจาไปกอนไดแตจะตองมีการบันทึกการสั่งการเปน หนังสือตอไป และผูรับคําสั่งเม่ือขณะปฏิบัติงานหรือดําเนินการเสร็จแลวตองรายงานโดย อางอิงถึงคําสั่งดวยวาจาวาใหมีการปฏิบัติอยางไร ซึ่งหลักการในขอน้ีสอดคลองกับหลัก กฎหมายเรื่องการออกคําสั่งทางปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ดวย และบทบญั ญตั นิ ้ใี ชบ งั คับกบั ผปู ฏิบัตหิ นา ทข่ี องรฐั ทุกระดบั ตัง้ แตรฐั มนตรี ปลัดกระทรวง หรอื หัวหนา หนว ยงานอื่นใด หมวด ๕ : การลดขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน บทบัญญัติในสวนน้ีไดกําหนดหนาท่ีใหสวนราชการปฏิบัติเพื่อเปนการลด ระยะเวลาในการพิจารณา การส่ัง การอนุญาต การอนมุ ัติหรือการปฏิบัติราชการที่มีผลโดยตรง ตอ ประชาชนใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วขนึ้ ดงั ตอ ไปน้ี

๖๘ รฐั สภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. การกระจายอาํ นาจการตัดสินใจ การกระจายอํานาจการตัดสินใจเปนวิธีการท่ีจะทําใหสามารถลดขั้นตอน การปฏิบัติงานใหงานแลวเสร็จไดโดยเร็ว ประชาชนไดรับบริการอยางทันทวงที ซ่ึงทําให ลดความเสียหายที่ประชาชนตองไดรับจากการรอคอยการไดรับบริการจากรัฐ นอกจากนี้ ยังเปนการเพ่ิมประสิทธิภาพใหกับขาราชการที่มีความรูความสามารถและความรับผิดชอบ ทเ่ี ทา เทยี มกนั หรอื ลดหลน่ั ตามอาํ นาจหนา ท่ี ซงึ่ จะเกดิ ความตอ เนอ่ื งในการบรหิ ารราชการอกี ดว ย หลกั การในขอน้ีไดบัญญตั ิไวใ นมาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ และมาตรา ๒๙ ซ่งึ ไดบ ัญญตั ไิ วโดยมี สาระสาํ คัญดังตอ ไปนี้ ๑. สวนราชการตองจัดใหมีการกระจายอํานาจการตัดสินใจเก่ียวกับการสั่งการ อนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการดําเนินการอื่นใดลงไปสูผูดํารงตําแหนง ที่มีหนาที่รับผิดชอบในการดําเนินการในเรื่องนั้นโดยตรงเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ โดยมงุ ผลใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วในการบรกิ ารประชาชน (มาตรา ๒๗ วรรคหนง่ึ ) ๒. สวนราชการตองจดั ใหมีหลกั เกณฑการควบคมุ ตดิ ตาม และกํากบั ดแู ลการใช อาํ นาจและความรับผดิ ชอบของผรู บั มอบอาํ นาจและผมู อบอาํ นาจ เพื่อใหเ กดิ ความรบั ผิดชอบ และเปน กรอบการปฏบิ ตั ิหนาที่แตตอ งไมเ พมิ่ ข้ันตอนหรอื การกลนั่ กรองงานเกินจําเปน และให ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศหรือโทรคมนาคมตามความเหมาะสม เพอื่ ใหเ กิดการลดขนั้ ตอนในการ ติดตอราชการ เพิ่มประสิทธิภาพและประหยัดคาใชจาย และเมื่อมีการกระจายอํานาจ การตดั สนิ ใจเปน ประการใดแลว หรอื มกี ารใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื โทรคมนาคมเพอื่ ลดขน้ั ตอน ใหเผยแพรใ หประชาชนทราบดวย (มาตรา ๒๗ วรรคสอง) ๓. ก.พ.ร.โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจะกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ หรือแนวทางในการกระจายอํานาจ ความรับผิดชอบ และการลดขนั้ ตอน เพอื่ ใหสว นราชการ ถือปฏิบตั ิก็ได (มาตรา ๒๘) ๔. สวนราชการแตละแหงท่ีตองปฏิบัติงานเกี่ยวของกับการใหบริการประชาชน หรือติดตอประสานงานระหวางสวนราชการดวยกันตองจัดทําแผนภูมิขั้นตอน และระยะเวลา การดาํ เนนิ การ รวมทงั้ รายละเอยี ดอน่ื โดยเปด เผยเพอื่ ใหป ระชาชนหรอื ผเู กย่ี วขอ งตรวจสอบได ซึ่งจะเปนการลดข้ันตอนการติดตอสอบถามหรือการทําความเขาใจเร่ืองสําหรับประชาชน ที่จะมาขอรับบริการจากรฐั ไดโดยสะดวกและรวดเร็ว (มาตรา ๒๙) ๒. การจดั ตั้งศูนยบริการรว ม การกําหนดหลักการใหมีเร่ืองการจัดตั้งศูนยบริการรวมไวในพระราชกฤษฎีกาน้ี มีความประสงคท่ีจะใหเกิดความสะดวกแกประชาชนใหไดมากท่ีสุด ซ่ึงผลของการจัดใหมีศูนย

พระราชกฤษฎีกาวา ดวยหลักเกณฑแ ละวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๖๙ กาวสาํ คญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏิบตั ริ าชการสมัยใหม บริการรวมนี้จะทําใหลดระยะเวลาของประชาชนในการมาติดตอราชการโดยไมตองเดินทางไป ติดตอสวนราชการหลายแหงเพ่ือดําเนินการในเร่ืองเดียวกัน ปละประชาชนสามารถติดตอ สอบถามงานทีเ่ ก่ียวของกับเจาหนาท่ีของกระทรวง ณ ทแ่ี หงเดยี วไดในทุกเรอื่ งสําหรับในภาค ราชการกจ็ ะสามารถลดกําลังคนและลดขั้นตอนการปฏิบัตงิ านใหเหลือเพียงทแี่ หงเดียว แตส าม รถประสานการดําเนินการไดทุกเร่ืองในภารกิจของกระทรวง แนวทางดังกลาวสอดคลองกับ แนวทางการตรากฎหมายในสมยั ใหมท่ีมีแนวความคดิ วา กฎหมายหรือกฎตาง ๆ มขี ้นึ เพื่อจดั ระเบียบของสังคมมิใหมีการฝาฝนซ่ึงจะเกิดความเสียหายตอสังคมสวนรวม แตประชาชนผู สุจริตและปฏิบัติตามกฎหมายและกฎตาง ๆ จะตองไดรับความคุมครองดูแลจากรัฐ รวมท้ัง อํานวยความสะดวกใหแกประชาชนเหลาน้ัน หลักการในขอน้ีมีการบัญญัติไวในมาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๒ โดยมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ ๑. ใหเปนหนาที่ของแตละกระทรวงโดยปลัดกระทรวงจะตองจัดสวนราชการ ภายในที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานกับประชาชนใหรวมเปนศูนยบริการรวมแหงเดียว ทป่ี ระชาชนจะสามารถตดิ ตอ สอบถาม ขอขอ มลู ขออนญุ าต หรอื ขออนมุ ตั ไิ ดพ รอ มกนั ทกุ เรอ่ื ง ที่อยูในความรับผิดชอบของกระทรวงน้ันเพ่ือเปนการอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการท่ี จะตองปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎอ่ืนใดสามารถติดตอกับเจาหนาที่ของศูนยบริการรวมเพียง แหง เดียว (มาตรา ๓๐) ๒. กระทรวงตองจัดใหมีเจาหนาท่ีและแบบพิมพท่ีจําเปนในศูนยบริการรวมเพ่ือ ใหเจาหนาที่น้ันบริการประชาชนไดอยางครบถวน โดยเจาหนาท่ีน้ันจะตองสามารถแจง รายละเอยี ด การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายหรอื กฎทเี่ กย่ี วขอ ง รบั เอกสารหลกั ฐานทจี่ าํ เปน แจง ใหท ราบ ระยะเวลาการดาํ เนนิ การและเปน ผตู ดิ ตอ ประสานกบั หนว ยราชการอนื่ เพอ่ื ดาํ เนนิ การใหเ ปน ไป ตามหลกั เกณฑของกฎหมายหรอื กฎในเรือ่ งนนั้ ๆ (มาตรา ๓๑ วรรคหน่ึง และวรรคสอง) ๓. ผลของการยนื่ คาํ รอ งหรอื คาํ ขอตอ ศนู ยบ รกิ ารรว มใหถ อื วา ไดย น่ื ตอ สว นราชการ ตามกฎหมายหรือกฎแลว และสวนราชการนั้นมีหนาท่ีตองนําคํารองหรือคําขอไปพิจารณา ดาํ เนนิ การตามอาํ นาจหนา ทตี่ อไป แตถา ในการดําเนินการของศนู ยบ รกิ ารรวม หากมปี ญ หา หรืออุปสรรคท่ีไมอาจดําเนินการได เพราะไมเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่มีกฎหมาย หรอื กฎระเบยี บกาํ หนดไวใหส วนราชการแจง ให ก.พ.ร. ทราบเพอ่ื เสนอคณะรฐั มนตรีใหม ีการ ปรับปรุงกฎหมายหรือกฎระเบียบน้นั ตอไป (มาตรา ๓๑ วรรคสาม และวรรคสี่) ๔. แนวทางการจัดต้ังศูนยบริการรวมของกระทรวงน้ีใหผูวาราชการจังหวัดและ นายอําเภอจัดใหสวนราชการท่ีรับผิดชอบ ดําเนินการเก่ียวกับการบริการประชาชนในเรื่องเดียวกัน หรือตอเนื่องกันมีการบริการรูปแบบศูนยบริการรวมขึ้นในจังหวัดหรืออําเภอ แลวแตกรณี ตามท่ตี นตองรบั ผิดชอบดว ย (มาตรา ๓๒)

๗๐ รัฐสภาสาร ปท ่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ การจัดตั้งศูนยบริการรวมเปนการสรางมาตรการเพ่ือลดขั้นตอนในการติดตอขอรับ บริการจากรัฐ ซ่ึงโดยปกติในสภาพกฎหมายปจจุบันการดําเนินการส่ิงหนึ่งสิ่งใดของประชาชน จะตองติดตอขอรับอนุญาตหรือการดําเนินการอ่ืนใดจากหนวยงานของรัฐหลายแหงเพื่อ กระทํากิจการนั้นซ่ึงสรางความลําบากและตองเสียเวลาในการดําเนินการของประชาชน สวนราชการจึงตองใหความสะดวกในการดําเนินการของประชาชน โดยเริ่มแรกจัดใหแตละ กระทรวงรวมงานท่ีเกย่ี วของกบั การใหบรกิ ารประชาชนของกรมตาง ๆ ในสงั กดั ของกระทรวง น้ันไวในท่ีเดียวเปนศูนยบริการรวม ซ่ึงประชาชนจะมาติดตอกับเจาหนาที่น้ันเพียงคร้ังเดียว สามารถดาํ เนนิ การไดทุกเรอ่ื งทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั งานของกระทรวงนั้น และเจา หนา ท่ีจะดาํ เนนิ การ ติดตอ กับหนวยงานเจาของเรือ่ งแตล ะแหงเพือ่ ดําเนนิ การใหแลว เสร็จในคราวเดียวกัน หมวด ๖ : การปรบั ปรงุ ภารกจิ ของสว นราชการ บทบัญญัติในหมวดนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือใหสวนราชการมีหนาที่ตรวจสอบภายใน ของสวนราชการตนเอง เพ่ือการปรับปรุงภารกิจใหเปนไปโดยเหมาะสมกับสภาพการณ ที่เปล่ียนไปของสังคมหรือสอดคลองกับการปฏิบัติงานตามนโยบายหรือแผนการปฏิบัติราชการ ดงั ตอไปน้ี ๑. การทบทวนภารกจิ การปรับปรงุ สว นราชการจะเกดิ ข้นึ ไดเมอื่ มีการทบทวนภารกิจอยเู สมอวา มคี วาม จําเปนตองมีสวนราชการเพื่อปฏิบัติภารกิจนั้นตอไปหรือควรจะมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ใหส อดคลอ งกบั การพฒั นาประเทศและสงั คมทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปอยา งไร หลกั การใหม กี ารทบทวน ภารกิจจึงเปนหลักสําคัญในการปฏิรูประบบราชการใหทันสมัยอยูเสมอ หลักการในพระราช กฤษฎกี านไี้ ดกาํ หนดใหม กี ารทบทวนโดยสว นราชการน้ันเอง หรอื โดย ก.พ.ร. ดังทีบ่ ญั ญัตไิ วใ น มาตรา ๓๓ และมาตรา ๓๔ ซึ่งมีสาระสาํ คัญดังตอไปนี้ ๑. สวนราชการจะตองทบทวนภารกิจตามระยะเวลาท่ี ก.พ.ร. กําหนด เพอ่ื ตรวจสอบวา ภารกจิ ใดมคี วามจาํ เปน ตอ งดาํ เนนิ การตอ ไปหรอื ไม โดยคาํ นงึ ถงึ แผนการบรหิ าร ราชการแผน ดิน นโยบายของรัฐ เงินงบประมาณของประเทศ ความคมุ คา ของภารกจิ ซึง่ หาก เหน็ ควรเปล่ียนแปลงตอ งเสนอคณะรฐั มนตรี เพ่ือปรับปรุงอํานาจหนา ที่ โครงสรางและอตั รา กาํ ลังใหสอดคลอ งกับภารกจิ ท่ีจะยกเลิก ปรับปรงุ หรือเปล่ียนแปลงนั้น (มาตรา ๓๓ วรรคหน่ึง และวรรคสอง)

พระราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารบริหารกจิ การบา นเมืองทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๗๑ กา วสาํ คญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ัตริ าชการสมัยใหม ๒. ในกรณที ่ี ก.พ.ร. ไดท าํ การวเิ คราะหค วามจาํ เปน ของภารกจิ ของสว นราชการใดแลว อาจเสนอใหค ณะรฐั มนตรพี จิ ารณาเปลย่ี นแปลง ยกเลกิ หรอื เพมิ่ เตมิ ถา คณะรฐั มนตรเี หน็ ชอบ ใหเ ปน หนา ทขี่ องสว นราชการนน้ั ดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ ภารกจิ อาํ นาจหนา ที่ โครงสรา งและอตั รกาํ ลงั ของสวนราชการนน้ั ใหสอดคลองกนั (มาตรา ๓๓ วรรคสาม) ๓. เมอื่ มีการยุบ โอน หรือรวมสวนราชการเพราะเหตุปรับปรงุ ภารกิจแลว มีผล เปนการหามจัดต้ังสวนราชการที่มีภารกิจหรืออํานาจหนาที่ในลักษณะเดียวกันหรือคลายคลึง กนั ขึน้ อีก เวนแตม ีการเปลย่ี นแปลงแผนการบรหิ ารราชการแผน ดนิ หรือเพื่อรกั ษาความมน่ั คง ของรฐั หรอื เศรษฐกจิ ของประเทศหรอื รกั ษาผลประโยชนส ว นรวมของประชาชน ซง่ึ มผี ลกระทบ ใหมีความจําเปนตองจัดตั้งสวนราชการในลักษณะดังกลาวขึ้นอีก ก็ใหสามารถกระทําไดเม่ือ ไดรบั ความเห็นชอบจาก ก.พ.ร. แลว (มาตรา ๓๔) ๒. การทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอบังคับ การปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหเหมาะสมกับสภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งการอํานวยความสะดวกแกประชาชนเพ่ิมข้ึนจะกระทําใหสําเร็จไดเม่ือมีการปรับปรุง กฎหมาย กฎ หรอื ระเบยี บตาง ๆ ซ่งึ เปนสิ่งที่กําหนดใหสวนราชการตาง ๆ มีอาํ นาจหนา ที่ ปฏิบัติภารกิจน้ันเพ่ือใหมีความเหมาะสมอยูเสมอ หลักการในเรื่องดังกลาวพระราชกฤษฎีกา ฉบับน้ไี ดนําไปบัญญัตไิ วใ นมาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๖ โดยมีสาระสําคัญดงั ตอ ไปน้ี ๑. สว นราชการมหี นา ทสี่ าํ รวจและทบทวนเพอ่ื ยกเลกิ ปรบั ปรงุ หรอื จดั ใหม ขี น้ึ ใหม สาํ หรับกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอบงั คับ ฯลฯ ทอี่ ยใู นความรบั ผิดชอบ เพอ่ื ใหทันสมยั อยูเสมอ เหมาะสมกับสภาวการณสอดคลองกับความจําเปนทางเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของ ประเทศ ทั้งน้ี โดยมุงใหเกิดผลในการอํานวยความสะดวกแกประชาชนใหเกิดความรวดเร็ว เพอ่ื ใหลดภาวะของประชาชน โดยตองรบั ฟง ความคดิ เห็นของประชาชนดวย (มาตรา ๓๕) ๒. สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี ามหี นา ทตี่ รวจสอบกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ฯลฯ ของทุกสวนราชการ ที่ไมเหมาะสมแกกาลสมัยหรือไมเอื้ออํานวยตอการพัฒนาประเทศ เปนอุปสรรคตอการประกอบกิจการหรือการดํารงชีวิตของประชาชน หรือเปนภาระหรือ ความยงุ ยากแกประชาชนเกนิ สมควรเพ่ือเสนอใหม กี ารแกไ ข ปรับปรงุ หรอื ยกเลกิ ซ่ึงโดยปกติ สวนราชการจะตองดําเนินการแกไขปรับปรุงตอไป แตถาสวนราชการน้ันไมเห็นดวยกับ ขอ เสนอจะตอ งเสนอเรอื่ งใหคณะรฐั มนตรวี ินิจฉัยตอไป (มาตรา ๓๖)

๗๒ รฐั สภาสาร ปท ่ี ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ หมวด ๗ : การอาํ นวยความสะดวกและการตอบสนองความตอ งการของประชาชน บทบัญญัติในหมวดนี้เปนการกําหนดแนวทางท่ีสวนราชการตองจัดใหมีขึ้น เพ่ือเปนการอํานวยความสะดวกแกประชาชนใหไดรับบริการโดยเร็ว ในขณะเดียวกันก็จะ สามารถตรวจสอบความตองการของประชาชน รับรูสภาพปญหาและแกไขปญหาไดตอไป โดยมสี าระสาํ คัญดงั น้ี ๑. การกําหนดระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน หลกั การสาํ คญั ประการหนงึ่ ในการตดิ ตอ ราชการของประชาชน คอื ตอ งการทราบวา เร่ืองทต่ี นมาตดิ ตอขอรับบริการจากรฐั นัน้ จะตองใชเวลาพจิ ารณานานเทา ใดจงึ จะรผู ล เพราะ ประชาชนหรือแมแตสวนราชการจะไดวางแผนการดําเนินการตอไป การกําหนดระยะเวลา กรปฏิบัติงานจึงเปนการแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารงานของสวนราชการวา สามารถกําหนดกลไกการทํางานที่เปนระบบจนสามารถตอบไดวางานแตละเร่ืองจะใชเวลา เพียงใด หลกั การในขอ นไี้ ดบัญญัติไวในมาตรา ๓๗ ซง่ึ มีสาระสาํ คญั ดังตอไปน้ี สว นราชการทม่ี ภี ารกจิ ในการใหบ ริการประชาชน หรอื ติดตอ ประสานงานระหวาง สวนราชการดวยกัน ตองกําหนดระยะเวลาแลวเสร็จของงานและประกาศใหประชาชนและ ขาราชการไดทราบ และเปนหนาที่ของผูบังคับบัญชาตองตรวจสอบใหขาราชการของตน มกี ารปฏิบตั ิงานแลว เสร็จตามระยะเวลาดวย ในกรณีที่ ก.พ.ร. เหน็ วา สว นราชการใดไมกาํ หนดระยะเวลาหรือกาํ หนดเวลา ท่ีลาชาเกินสมควร ก.พ.ร. จะกําหนดเวลาแลวเสร็จ เพื่อใหสวนราชการน้ันตองปฏิบัติก็ได (มาตรา ๓๗) ในการปฏิบัติงานเพื่อใหบริการแกประชาชนน้ัน สวนราชการจําเปนตองกําหนด ระยะเวลาท่ีแนนอนในการดําเนินการในเร่ืองที่ประชาชนติดตอใหสวนราชการพิจารณาดําเนิน การให เพื่อใหป ระชาชนไดท ราบวาในเรอ่ื งนั้นจะตองใชเวลาก่วี ันจึงจะแลว เสร็จ ซึ่งในปจ จบุ ัน มีหลายสวนราชการไดดําเนินการกําหนดเวลาการดําเนินการเรื่องตาง ๆ อยูแลว ในพระราชกฤษฎีกาน้ีมีวัตถุประสงคท่ีจะยืนหยันแนวทางปฏิบัติดังกลาว เปนหนาที่ของสวน ราชการจะตองกําหนดระยะเวลาข้ึนในทุกงานท่ีเกี่ยวของกับประชาชน และตองประกาศ ใหทราบโดยทั่วไปดวย อยางไรก็ตาม การกําหนดระยะเวลาน้ันตองคํานึงถึงการลดข้ันตอน การปฏิบัติราชการดวยวางานอยางใดท่ีสามารถรวมพิจารณาในข้ันตอนเดียวกันได

พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑและวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบานเมอื งทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๗๓ กาวสําคญั ของการกําหนดแนวทางการปฏิบัตริ าชการสมัยใหม การกาํ หนดระยะเวลากต็ องลดระยะเวลาในสว นดงั กลาวลงดวย และเพ่ือใหเ กิดผลบงั คับท่เี ปน ผลขึ้นจึงกําหนดใหผูบังคับบัญชามีหนาท่ีตองดูแลใหมีการปฏิบัติงานตรงตามระยะเวลา ที่กําหนดไวดว ย ๒. การจดั ระบบสารสนเทศ การจัดระบบสารสนเทศคือ การสงเสริมใหสวนราชการพัฒนาการใหบริการ ประชาชนโดยใชระบบเครือขายสารสนเทศใหไดมากท่ีสุด โดยมุงหมายท่ีจะอํานวยความ สะดวกใหแกประชาชนที่จะไดรับการบริการอยางรวดเร็วโดยในพระราชกฤษฎีกานี้ไดบัญญัติไว ในมาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๐ ซึ่งมีสาระสาํ คัญดังตอ ไปน้ี ๑. สวนราชการตองจัดใหมีระบบเครือขายสารสนเทศเพื่ออํานวยความสะดวกแก ประชาชน เพื่อการติดตอสอบถามหรือใชบริการของสวนราชการนั้นได และระบบเครือขาย สารสนเทศของแตละสวนราชการตองอยูในระบบเดียวกับที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารจดั ใหมีขึ้นดวย (มาตรา 39) ๒. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมีหนาที่ตองจัดใหมีระบบ เครือขา ยสารสนเทศกลาง เพอื่ ใหมกี ารเช่ือมโยงขอมลู ระหวา งสวนราชการ และจะชว ยเหลือ สวนราชการอ่ืนในการจัดทําระบบเครือขายสารสนเทศ ทั้งน้ี เพื่อใหสามารถอํานวย ความสะดวกและความรวดเรว็ แกประชาชนในการติดตอสวนราชการไดท ุกแหง (มาตรา ๔๐) ๓. การรบั ฟง ขอ รอ งเรยี น การรับฟงขอรองเรียน หมายถึง กระบวนการที่สวนราชการจัดใหมีข้ึนเพ่ือรับฟง ปญหาจากการใหบริการของสวนราชการนนั้ เพือ่ นาํ มาเปน ขอมลู ใชปรบั ปรงุ การปฏบิ ัตริ าชการ ท่ีจะตอบสนองตอความตองการของประชาชนหรือเพื่อช้ีแจงทําความเขาใจในเหตุผลและ ความจําเปนของการปฏิบัติภารกิจภาครัฐวาจะเกิดประโยชนอยางใด อันจะเกิดความรวมมือ ระหวางภาครัฐกับประชาชนหรือในระหวางสวนราชการดวยกันตอไป หลักการในขอน้ี ไดก ําหนดรายละเอยี ดเปน แนวทางปฏิบัติไวใ นมาตรา ๓๘ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๒ โดยมี สาระสาํ คัญดงั ตอ ไปน้ี

๗๔ รฐั สภาสาร ปท ่ี ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. สวนราชการตองจัดใหมีระบบการตอบคําถามเกี่ยวกับงานในหนาที่ของ สวนราชการใหประชาชนไดท ราบ โดยตอ งมรี ะยะเวลาในการตอบใหช ดั เจน (มาตรา ๓๘) ๒. ในกรณีทสี่ วนราชการไดรับคํารอ งเรยี นนน้ั ขอเสนอแนะ หรือความคิดเห็นจาก ประชาชนในการช้ีแจงปญหาอุปสรรค ความยุงยาก หรือปญหาในวิธีปฏิบัติราชการ สว นราชการจะตอ งนาํ มาพจิ ารณาดาํ เนนิ การใหล ลุ ว งไปและแจง ผลใหผ แู จง ทราบดว ย (มาตรา ๔๑) ๓. สวนราชการท่ีมีหนาที่ออกกฎหมายเพ่ือบังคับสวนราชการอ่ืนใหปฏิบัติตาม มีหนาที่ตองตรวจสอบวากฎนั้นเปนอุปสรรคหรือเกิดความยุงยาก ซ้ําซอน หรือลาชาหรือไม เพื่อปรับปรุงใหเหมาะสม และถาไดรับการรองเรียนจากสวนราชการหรือขาราชการ ใหสวน ราชการทอี่ อกกฎพจิ ารณาโดยทนั ทีและแจง ผลใหทราบ ในการนี้ อาจมกี ารรอ งเรียนตอ ก.พ.ร. เพอ่ื พจิ ารณาและแจงใหสว นราชการแกไขได (มาตรา ๔๒) ๔. การเปด เผยขอมูล การเปดเผยขอมูลถือเปนเรื่องปกติท่ีสวนราชการตองปฏิบัติอยูแลวตามพระราช บัญญตั ิขอมลู ขาวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึง่ ในพระราชกฤษฎกี านไ้ี ดนํามาบญั ญัติไวเ พ่อื ยืนยันหลักการดังกลาว รวมท้ังกําหนดรายละเอียดใหสวนราชการปฏิบัติเพิ่มเติมในสวนที่ ยังมีปญหาในการปฏิบัติราชการอยูในขณะน้ีโดยบัญญัติไวในมาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๔ ซ่งึ มสี าระสําคญั ดงั ตอไปน้ี ๑. สว นราชการมหี นา ทต่ี อ งเปด เผยขอ มลู เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ริ าชการใหท ราบโดยทว่ั ไป การกาํ หนดใหเ ปน ความลบั จะกระทาํ ไดเ ฉพาะมเี หตุ ตามทก่ี าํ หนดไวเ พอ่ื ความมน่ั คงหรอื รกั ษา ความสงบเรยี บรอย หรอื คุมครองสิทธิของประชาชน (มาตรา ๔๓) ๒. สว นราชการตอ งเปด เผยขอ มลู เกย่ี วกบั งบประมาณรายจา ย รายการจดั ซอื้ จดั จา ง และสัญญาใด ๆ ทีม่ กี ารดาํ เนินการ โดยหามทาํ สญั ญาใดทีม่ ีขอ ความหา มมิใหเปด เผยขอความ หรอื ขอตกลงในสญั ญา เวนแตเ ปน ขอมลู ทไ่ี ดรับความคมุ ครองโดยกฎหมาย (มาตรา ๔๔) การเปดเผยขอมูลเปนการปฏิบัติราชการใหเกิดความโปรงใสเพราะการปฏิบัติงาน ของภาครัฐเปนการปฏิบัติงานเพ่ือประชาชน ฉะน้ัน ประชาชนจึงมีสิทธิที่จะตรวจสอบขอมูล และการดาํ เนนิ การของภาครฐั ไดท ง้ั สนิ้ และภาครฐั ไมค วรมสี ง่ิ ใดปด บงั ประชาชน เวน แตบ างเรอื่ ง ที่กระทบตอประเทศชาติจําเปนตองรักษาความลับไวเพ่ือประโยชนของประชาชนเปนสวนรวม

พระราชกฤษฎกี าวาดวยหลกั เกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมอื งท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๗๕ กา วสําคญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏิบัติราชการสมัยใหม หลักในการเปดเผยขอมูลนี้ไดมีบัญญัติไวโดยเฉพาะในพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ในสวนของพระราชกฤษฎีกานี้เปนการเสริมบางเรื่องของการเปดเผย ขอมูลของทางราชการ ตามท่ีกําหนดในมาตรา ๔๓ โดยประการแรกกําหนดเปนหลักการวา ทกุ เรอ่ื งของงานราชการตอ งเปด เผยการกาํ หนดเรอื่ งทจี่ ะเปน ความลบั ใหท าํ ไดเ ทา ทจ่ี าํ เปน อยา งยงิ่ ตามเหตตุ า ง ๆ ทกี่ าํ หนดไว อนั เปน การบญั ญตั ิ เสรมิ พระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งกําหนดวาขอมูลขาวสารใดที่ทางราชการถือเปนความลับ ใหอยูในดุลพินิจ ของสวนราชการท่ีจะไมเปดเผยตอบุคคลใดก็ไดตามระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทาง ราชการ ซึ่งตามหลักการของพระราชกฤษฎีกานี้ไดกําหนดแนวทางปฏิบัติวา แมการกําหนด เอกสารใดเปนความลับของทางราชการจะอยูในดุลพินิจก็ตาม แตการใชดุลพินิจนั้น ใหถือวาเปนขอยกเวนที่จะกระทําไดเฉพาะเหตุท่ีกําหนดเทานั้น และโดยหลักปฏิบัติแลวสวน ราชการตองพยายามเปดเผยขอมูลการดําเนินการใหไดมากท่ีสุดและประการท่ีสองตามท่ี กําหนดในมาตรา ๔๔ การเปดเผยการใชจายเงินงบประมาณเพ่ือจัดซ้ือจัดจางเพื่อเปนการ แสดงความรับผิดชอบตอประชาชนในผลของการใชจายเงินจากภาษีอากรของประชาชนวาเปน ไปโดยคุมคาเพียงใดรวมทั้งเปนหลักประกันการดําเนินการท่ีสุจริตของสวนราชการดวย แตให ระมัดระวังดวยวาระยะเวลาและข้ันตอนในการเปดเผยขอมูลดังกลาวตองไมทําใหเกิดการได เปรียบเสียบเปรียบในการจัดซื้อจัดจาง หรือการเปดเผยจนเปนเหตุใหผูเกี่ยวของตองไดรับ ความเสียหายโดยไมส มควร ซง่ึ เปนกรณีท่ีสวนราชการตอ งพจิ ารณาช่งั น้ําหนกั วา ขอ มูลใดควร เปดเผยในเวลาใดและมีมาตรการปองกันความเสียหายท่ีเกิดขึ้นอยางไร โดยมีเหตุผลสามารถ อธิบายไดโ ดยชดั เจน หมวด ๘ : การประเมินผลการปฏิบัติราชการ บทบัญญัติในหมวดนี้มีขึ้นเพ่ือการวัดผลการปฏิบัติราชการวามีผลสัมฤทธ์ิตรงตาม เปาหมายท่ีกําหนดขึ้นไวหรือไม คุณภาพ และความพึงพอใจอยูในระดับท่ียอมรับไดหรือไม รวมทัง้ การตรวจสอบการปฏบิ ตั ริ าชการภายในองคก ร ซึ่งตามพระราชกฤษฎีกาน้ีไดก าํ หนดเปน หลักการไวใ นมาตรา ๔๕ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ โดยมสี าระสําคญั ดงั ตอ ไปนี้

๗๖ รฐั สภาสาร ปท ่ี ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. สวนราชการตองจัดใหมีการประเมินผลโดยคณะผูประเมินอิสระ เพ่ือประเมิน ผลการปฏบิ ัติราชการของสวนราชการน้ันในเรอื่ งเก่ยี วกับผลสมั ฤทธิ์ของภารกจิ คุณภาพการให บรกิ าร ความพึงพอใจของผรู บั บรกิ ารและความคมุ คาในภารกจิ ตามหลกั เกณฑ วิธกี าร และ ระยะเวลาท่ี ก.พ.ร. กาํ หนด (มาตรา ๔๕) ๒. สวนราชการอาจจัดใหมีการประเมินผลประสิทธิภาพในการบังคับบัญชาของ แตละระดับหรือแตละหนวยงาน แตการประเมินผลนั้นตองทําเปนความลับและมุงใหเกิด การปรบั ปรุง เพ่อื ประโยชนแ หงความสามคั คีของขา ราชการ (มาตรา ๔๖) ๓. การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของขาราชการ ซึ่งตอ งกระทําท้งั การปฏบิ ัติงาน เฉพาะตัว และประโยชนของหนวยงานท่ีผูนั้นสังกัดอยู ทั้งน้ีเพ่ือใหเกิดการปฏิบัติงาน ในลักษณะทเ่ี ปนทีมทํางานมากขึน้ (มาตรา ๔๗) ๔. ในกรณีท่ีการปฏิบัติราชการของสวนราชการใดผานการประเมินท่ีแสดงวา อยูในมาตรฐานและการปฏิบัติงานเปนไปตามเปาหมายอยางมีผลดีท้ังท่ีสามารถสรางความ พึงพอใจแกประชาชนหรือการปฏิบัติงานมีผลสัมฤทธ์ิตามเปาหมาย โดยมีความคุมคาตอ ภารกจิ หรอื ลดคาใชจายได ใหมีการจดั สรรเงินเพ่ือเปน บาํ เหน็จความชอบของสวนราชการหรอื เปนเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพ ท้ังน้ี เพ่ือเปนการจูงใจใหสวนราชการพัฒนาการปฏิบัติ ราชการใหบังเกิดประสิทธิภาพตามความมุงหมาย โดยใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ.ร. กาํ หนดดว ยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี (มาตรา48 และมาตรา ๔๙) การประเมินผลการปฏิบัติราชการเปนองคประกอบที่สําคัญของการบริหารงาน แบบมุงผลสัมฤทธ์ิ เพราะจะเปนการวัดผลความตอเนื่องในการปฏิบัติราชการวาเปนไปตาม นโยบาย แผนงาน เปาหมาย และวตั ถุประสงคของงานในภาพรวมและงานแตละดา นของสว น ราชการ รวมทั้งเจาหนาที่ในสวนราชการวาสามารถปฏิบัติราชการไดเปนไปตามท่ีกําหนดได มากนอยเพยี งใด การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการยงั จะสามรถนํามาใชก าํ กับตรวจสอบการใช บคุ ลากรและทรัพยากรในการปฏิบตั งิ านใหเ ปนไปอยางคุม คา และมีประสิทธิภาพอกี ดว ย ขอมูลที่ไดรับจากการประเมินผลการปฏิบัติราชการ จะเปนเคร่ืองมือที่จะชวย ในการวางแผนบริหารงานของสวนราชการวามีกิจกรรมใดที่จําเปนตองแกไขปรับปรุงเพื่อให ผลสําเร็จเกิดขึ้นในขณะเดียวกันหากผลการประเมินชี้วาภารกิจใดบรรลุผลสําเร็จก็จะเปนการ จูงใจเจา หนาท่ีผปู ฏบิ ตั งิ านใหมีความสนใจทีจ่ ะพัฒนางานอืน่ ตอ ๆ ไป

พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลักเกณฑและวธิ ีการบริหารกจิ การบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๗๗ กา วสาํ คญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏิบัตริ าชการสมยั ใหม ตารางที่ ๖.๑ สรุปสาระสําคัญของพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ บริหารกิจการบา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖

๗๘ รัฐสภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔. พระราชกฤษฎกี าวาดว ยหลกั เกณฑและวิธีการบริหารกิจการบา นเมืองท่ดี ี (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒๑๒ เน่ืองดวยพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบานเมือง ท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ กําหนดใหค ณะรัฐมนตรแี ละหนวยงานทเ่ี ก่ยี วขอ ง จัดใหม ีแผนการบรหิ าร ราชการแผน ดินและแผนนติ ิบญั ญัติขน้ึ เพอ่ื เปนกรอบในการบริหารราชการแผน ดิน ใหมคี วาม ชัดเจน แตเน่ืองจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ ไดกําหนดใหรัฐ จัดใหมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืน และตอมาไดมีการตรา พระราชบญั ญตั ิ การจัดทาํ ยทุ ธศาสตรช าติ พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัตแิ ผนและข้ันตอน การดําเนินการปฏริ ูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ ขึน้ ซ่ึงกฎหมายดงั กลาวไดกําหนดใหม กี ารจดั ทํา ๑๒“พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑ และวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทดี่ ี (ฉบบั ที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๖๒”, ราชกจิ จานเุ บกษา, เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก. ลงวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒.

พระราชกฤษฎีกาวา ดวยหลกั เกณฑแ ละวิธีการบรหิ ารกิจการบานเมอื งที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๗๙ กา วสําคัญของการกําหนดแนวทางการปฏิบัตริ าชการสมยั ใหม กรอบในการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืนไวในรูปยุทธศาสตรชาติซ่ึงทุกหนวยงานตองปฏิบัติตาม ประกอบกับไดม กี ารจดั ทาํ แผนการปฏิรูปประเทศเพ่อื เปนกลไก วิธกี าร และขนั้ ตอนการดําเนนิ การปฏิรูปประเทศในดานตาง ๆ ขึ้นแลว จึงไมมีความจําเปนที่จะตองจัดทําแผนการบริหาร ราชการแผนดินและแผนนิติบัญญัติใหซํ้าซอนกันอีก สมควรยกเลิกการจัดทําแผนการบริหาร ราชการแผน ดนิ และแผนนิติบญั ญตั ิ และปรับปรงุ การจดั ทาํ แผนปฏิบัตริ าชการของสว นราชการ ใหสอดคลอ ง กบั ยทุ ธศาสตรช าติ แผนแมบท แผนการปฏริ ูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ นโยบาย ของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงตอรัฐสภา และแผนอ่ืนท่เี กย่ี วขอ ง รวมทั้ง สมควรกําหนดใหการปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวของ กับการบริการประชาชนและการติดตอประสาน งานระหวางสวนราชการดวยกันตองกระทําโดยใชแพลตฟอรมดิจิทัลกลางเพื่อใหสอดคลองกับ การปฏิรูปประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและการบริหารราชการแผนดิน ตามรัฐธรรมนูญ แหง ราชอาณาจักรไทย จงึ จําเปน ตอ งตราพระราชกฤษฎกี าดังกลาว โดยท่ีเปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติมพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ บริหาร กจิ การบานเมืองท่ีดี อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๑๗๕ ของรฐั ธรรมนญู แหงราช อาณาจกั รไทย และมาตรา ๓/๑ วรรคสี่ แหง พระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผนดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ ซง่ึ แกไขเพ่มิ เตมิ โดย พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว ดังตอ ไปน้ี “มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานเ้ี รียกวา “พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลกั เกณฑแ ละ วิธกี ารบริหารกิจการบา นเมอื งทดี่ ี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานใ้ี หใ ชบังคับต้งั แตวนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจา นเุ บกษา เปน ตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลกิ มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ แหง พระราชกฤษฎกี า วา ดว ยหลกั เกณฑและวิธกี ารบริหารกิจการบา นเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔ ใหย กเลิกความในวรรคหนงึ่ ของมาตรา ๑๖ แหงพระราชกฤษฎกี าวา ดวย หลักเกณฑแ ละวธิ กี ารบริหารกจิ การบานเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใชค วามตอไปน้ีแทน “มาตรา ๑๖ ใหส วนราชการจัดทําแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการนั้นโดยจดั ทาํ เปนแผนหาป ซ่ึงตองสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ สงั คมแหง ชาตนิ โยบายของคณะรฐั มนตรที แ่ี ถลงตอ รฐั สภา และแผนอน่ื ทีเ่ กยี่ วขอ ง ” มาตรา ๕ ใหย กเลกิ วรรคสามของมาตรา ๑๘ แหง พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑ และวธิ ีการบรหิ ารกจิ การบานเมอื งทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖

๘๐ รฐั สภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบบั ท่ี ๓ เดือนพฤษภาคม-มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ มาตรา ๖ ใหเพ่ิมความตอไปนเ้ี ปน วรรคสองของมาตรา ๒๙ แหงพระราชกฤษฎกี า วา ดวย หลักเกณฑและวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบานเมอื งทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ “การบริการประชาชนและการติดตอประสานงานระหวางสวนราชการดวยกัน ตองกระทําโดยใช แพลตฟอรม ดจิ ทิ ลั กลางท่ีสาํ นกั งานพัฒนารฐั บาลดิจิทัล (องคก ารมหาชน) กําหนดดวย ” มาตรา ๗ ใหย กเลกิ ความในวรรคหนงึ่ ของมาตรา ๓๓ แหง พระราชกฤษฎกี าวา ดว ย หลกั เกณฑแ ละวิธีการบรหิ ารกจิ การบานเมอื งท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใชค วามตอไปนแ้ี ทน “มาตรา ๓๓ ใหส ว นราชการจดั ใหมีการทบทวนภารกิจของตนวาภารกิจใดมีความ จําเปน หรือ สมควรทจี่ ะยกเลิก ปรบั ปรงุ หรือเปล่ยี นแปลงการดําเนินการตอไปหรอื ไม โดย คาํ นึงถงึ ยทุ ธศาสตรชาติ แผนแมบ ท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม แหงชาติ นโยบายของคณะรฐั มนตรี ทแี่ ถลงตอรฐั สภา และแผนอื่นที่เกี่ยวของ รวมถงึ กาํ ลังเงนิ งบประมาณของประเทศ ความคุมคา ของภารกิจ และสถานการณอ น่ื ประกอบกนั ” มาตรา ๘ ใหย กเลิกความในมาตรา ๓๔ แหงพระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลักเกณฑ และ วธิ กี ารบริหารกจิ การบานเมืองทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใชค วามตอ ไปนี้แทน “มาตรา ๓๔ ในกรณีท่ีมีการยุบเลิก โอน หรือรวมสวนราชการใดท้ังหมดหรือ บางสว นหา มมใิ หจ ดั ตง้ั สว นราชการทมี่ ภี ารกจิ หรอื อาํ นาจหนา ทที่ ม่ี ลี กั ษณะเดยี วกนั หรอื คลา ยคลงึ กันกบั สวนราชการดงั กลา วข้ึนอกี เวนแตมีเหตผุ ลและความจําเปน เพือ่ รกั ษาความมั่นคงของ รัฐหรือเศรษฐกิจ ของประเทศ หรือรักษาผลประโยชนสวนรวมของประชาชน และโดยไดรับ ความเหน็ ชอบจาก ก.พ.ร.” มาตรา ๙ ในวาระเรม่ิ แรก การจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั ริ าชการของสว นราชการเปน แผนหา ป ตามมาตรา ๑๖ แหง พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซง่ึ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชกฤษฎกี านี้ ใหจ ดั ทาํ เปน แผนสามปโ ดยมหี ว งระยะเวลา ตงั้ แตป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ถงึ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ มาตรา ๑๐ ในวาระเริ่มแรก ใหสาํ นักงานพัฒนารฐั บาลดจิ ิทัล (องคการมหาชน) จัดใหมี แพลตฟอรมดิจิทัลกลางเพื่อใหสวนราชการใชในการบริการประชาชนและการติดตอ ประสานงาน ระหวางกันไดภายในเกา สบิ วนั นบั แตว ันทพ่ี ระราชกฤษฎกี านี้ใชบ งั คบั ใหเปนหนาท่ีของหัวหนาสวนราชการท่ีจะตองดําเนินการใหการบริการประชาชน และการติดตอ ประสานงานระหวางสวนราชการดวยกัน โดยการใชแพลตฟอรมดิจิทัลกลาง ใหแ ลว เสรจ็ ภายในสองป นับแตพ น กาํ หนดเวลาตามวรรคหนึง่ ในกรณีท่ีสวนราชการใดมีเหตุผลความจําเปนที่ไมสามารถดําเนินการใช แพลตฟอรมดจิ ทิ ลั กลางได ภายในระยะเวลาทกี่ าํ หนดในวรรคสอง ใหห วั หนา สว นราชการน้นั เสนอ ก.พ.ร. เพือ่ พิจารณาขยาย ระยะเวลาดังกลาวได”

พระราชกฤษฎกี าวาดวยหลักเกณฑแ ละวิธกี ารบริหารกจิ การบานเมอื งที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๘๑ กา วสาํ คัญของการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ริ าชการสมัยใหม บทสรปุ นับต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดมีการปฏิรูประบบราชการคร้ังสําคัญตามกรอบ แนวทาง ซ่ึงกําหนดไวในมาตรา ๓/๑ ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่วา “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัติน้ีตองเปนไปเพื่อ ประโยชนส ขุ ของประชาชน เกดิ ผลสมั ฤทธติ์ อ ภารกจิ ของรฐั ความมปี ระสทิ ธภิ าพ ความคมุ คา ในเชิงภารกิจแหงรัฐ การลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงาน ท่ีไมจําเปน การกระจายภารกิจและทรัพยากรใหแกทองถิ่น การกระจายอํานาจการตัดสินใจ การอํานวยความสะดวก และตอบสนองความตองการของประชาชน ทั้งน้ีโดยมีผูรับผิดชอบ ตอผลงาน การจัดสรรงบประมาณและการบรรจุและแตงต้ังบุคคลเขาดํารงตําแหนงหรือ ปฏบิ ัตหิ นา ที่ตอ งคํานึงถึงหลักการตามวรรคหน่งึ ในการปฏิบัติหนาท่ีของสวนราชการตองใชวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี โดยเฉพาะอยางยิ่งใหคํานึงถึงความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน การมีสวนรวมของประชาชน การเปดเผยขอมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งน้ี ตามความ เหมาะสมของภารกิจ เพ่ือประโยชนในการดําเนินการใหเปนไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกา กําหนดหลักเกณฑ และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการส่ังการใหสวนราชการและ ขาราชการปฏบิ ัติกไ็ ด” ดังน้ัน เพ่ือใหการปฏิบัติงานของสวนราชการตาง ๆ บรรลุผลตามเจตนารมณ ดังกลาวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงไดมีการกําหนดกติกาใหมของการบริหาร ราชการแผนดินข้ึนในรูปแบบของพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ บา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซง่ึ มผี ลบงั คบั ใชม าตงั้ แตว นั ที่ ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๔๖ โดยมงุ ผลกั ดนั ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในวิธีคิดและวิธีการทํางานรวมทั้งวัฒนธรรมการทํางานของบุคลากร ภาครัฐ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดกําหนดขอบเขต แบบแผน และวิธีปฏิบัติราชการเพื่อใหเกิดการบริหาร กจิ การบา นเมอื งทดี่ ี (Good Governance) โดยยดึ ประชาชนเปน ศนู ยก ลาง (Citizen centered) ซ่ึงการบริหารกิจการบานเมอื งทีด่ ี กค็ อื การปฏิบตั ิราชการเพ่ือบรรลเุ ปา หมายหลักอยา งนอ ย ๗ ประการ ตามทไี่ ดก าํ หนดไวใ นหมวด ๑ ของพระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี าร บริหารกิจการบา นเมืองทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ อันประกอบดวย

๘๒ รัฐสภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. เกิดประโยชนส ุขของประชาชน ๒. เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ๓. มีประสทิ ธภิ าพและเกิดความคุมคาในเชงิ ภารกิจของรฐั ๔. ไมม ขี ้ันตอนการปฏบิ ัตงิ านเกนิ ความจําเปน ๕. มกี ารปรับปรงุ ภารกจิ ของสวนราชการใหทนั ตอ สถานการณ ๖. ประชาชนไดร ับการอํานวยความสะดวกและไดรบั การตอบสนองความตองการ ๗. มกี ารประเมนิ การปฏบิ ัตริ าชการอยางสม่ําเสมอ ท้งั นี้ ในพระราชกฤษฎกี าฯ ดังกลา ว ยังไดมกี ารขยายความและเสนอแนะวิธกี าร ดาํ เนนิ การ เพ่ือใหบ รรลุเปาหมายไวใ นหมวดตาง ๆ ตามที่กลา วมา พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ นับเปนกา วสําคญั ของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ัตริ าชการสมยั ใหมอยา งเปน ลายลักษณอักษร โดยวางหลักเกณฑและวิธีการในการปฏิบัติราชการใหมีความชัดเจน สามารถวัดผลได ซ่ึงต้ังอยูบนพ้ืนฐานของการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีโดยยึดเอาประโยชน สุขของประชาชนที่ตั้งเพื่อใหการบริหารราชการตอบสนองความตองการ และยึดประชาชน เปนศนู ยกลางอยางแทจ รงิ อยางไรก็ตาม เนอื่ งจากรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ไดก ําหนดใหรัฐ จัดใหม ยี ทุ ธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพฒั นาประเทศอยางยง่ั ยนื และตอ มา ไดม กี ารตราพระราชบญั ญตั ิ การจัดทาํ ยทุ ธศาสตรชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญตั แิ ผน และข้ันตอนการดําเนนิ การปฏิรปู ประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ ขนึ้ ซง่ึ กฎหมายดังกลาวไดกาํ หนดใหมี การจัดทํากรอบในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนไวในรูปยุทธศาสตรชาติซึ่งทุกหนวยงานตอง ปฏบิ ัติตาม ประกอบกบั ไดมกี ารจัดทาํ แผนการปฏริ ปู ประเทศเพอื่ เปน กลไก วธิ กี าร และขัน้ ตอน การดําเนินการปฏิรูปประเทศในดานตาง ๆ ขึ้นแลว จึงไมมีความจําเปนที่จะตองจัดทําแผน การบริหารราชการแผนดินและแผนนิติบัญญัติใหซ้ําซอนกันอีก จึงไดยกเลิกการจัดทําแผน การบริหารราชการแผนดินและแผนนิติบัญญัติ และปรับปรุงการจัดทําแผนปฏิบัติราชการของ สว นราชการใหส อดคลอง กับยทุ ธศาสตรชาติ แผนแมบ ท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบาย ของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงตอรัฐสภา และแผนอื่น ทเี่ กีย่ วของ รวมทั้งกาํ หนดใหการปฏบิ ัติงานทีเ่ กี่ยวขอ ง กับการบรกิ ารประชาชนและการติดตอ ประสานงานระหวางสวนราชการดวยกันตองกระทําโดยใชแพลตฟอรมดิจิทัลกลางเพ่ือให สอดคลองกับการปฏิรูปประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและการบริหารราชการแผนดิน ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จึงตองตราพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและ วิธีการบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งท่ีดี (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ขน้ึ มาใชบ ังคบั โดยใหผ ลใชบ ังคบั ต้งั แตว ันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เปนตนไป

พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลักเกณฑแ ละวิธีการบรหิ ารกจิ การบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๘๓ กา วสาํ คัญของการกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ิราชการสมยั ใหม เอกสารอา งองิ “พระราชกฤษฎกี าวาดวยหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการบริหารกิจการบานเมอื งทด่ี ี” พ.ศ. ๒๕๔๖. ราชกิจจานเุ บกษา. เลม ๑๒๐ ตอน ๑๐๐ ลงวนั ที่ ๙ ตลุ าคม ๒๕๔๖. “พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทดี่ ี (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒”. ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม ๑๓๖ ตอน ๕๖ ก ลงวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒. “รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐.” ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก, ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๕๐. สถาบันพระปกเกลา. (๒๕๔๙). “ทศธรรม: ตัวชีว้ ดั การบริหารกจิ การบานเมืองท่ีดี,” สาํ นกั งาน ก.พ.ร. (๒๕๔๗). คาํ อธบิ ายและแนวทางปฏบิ ตั ติ ามพระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑ และวิธกี ารบรหิ ารกิจการบานเมืองทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖. สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต.ิ (๒๕๕๐). แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ ๑๐ สาํ นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตร.ี (๒๕๕๑). “ประกาศสาํ นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี เรอ่ื งแผนการ บริหารราชการแผนดนิ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔”. ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส สํานักงานคณะกรรมการกํากบั หลกั ทรพั ยและตลาดหลักทรัพย. “จับตา ISO ๒๖๐๐๐ ความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม” จาก : www.sec.or.th/investor_edu/info_media/arti cle/manager/ manager๐๐๓_๒๖๐๓๕๐.pdf หอการคาไทยและสภาหอการคาแหงประเทศไทย. “ประเดน็ ท่ีเก่ยี วขอ งกับความรับผดิ ชอบ ทางสังคมในรางมาตรฐาน ISO ๒๖๐๐๐” จาก : www.thaiechamber.com China Internet Information Center. “World Bank Releases New Governance Indicators” จาก: www.china.org.cn/english/BAT/๑๒๘๒๘๑.htm. The Global Development Research Center. “Some Attributes of Good Governance and Cities” จาก: www.gdrc.org/u-gov-good-governance.html UNESCAP. “What is good Governance”. จาก www.unescap.org/pdd/prs/ProjectActivities/ Ongoing/gg/governance.asp

๘๔ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ประเทศไทยกับรูปแบบการบริการสาธารณะที่เหมาะสม The model of New Public Service in Thailand ดร.อลงกต วรกี Dr.Alongkot Vorakee บทคดั ยอ á¹Çคิดการบริการสาธารณะแนวใหมมีสาระสําคัญไดแก (๑) บริการรับใช พลเมือง ไมใชลกู คา (๒) การคนหาผลประโยชนส าธารณะ (๓) เนนคณุ คาความเปน พลเมือง มากกวา การเปน ผูประกอบการ (๔) คิดเชงิ กลยทุ ธ ปฏิบตั แิ บบประชาธิปไตย (๕) การตระหนัก ในความสามารถรบั ผิดชอบไดไมใ ชเ รือ่ งงา ย (๖) การใหบรกิ ารมากกวา การกาํ กบั ทิศทาง และ (๗) ใหค ณุ คากับคน ไมใ ชแคผลิตภาพ แนวคดิ การบรกิ ารสาธารณะแนวใหมจึงมคี วามแตกตา ง จากแนวคดิ รฐั ประศาสนศาสตรด ง้ั เดมิ และแนวคดิ การจดั การภาครฐั แนวใหม แตม ีความเหมือน กับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแ นวใหม (NPA) เปน อยางมาก การวิจยั คร้ังนเ้ี ปนการศกึ ษาวิเ คราะหเปรียบเทียบแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมกับแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร อื่นๆ และ พัฒนารูปแบบแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมทเ่ี หมาะสมกบั สังคมไทยตอไป คําสําคญั : ประเทศไทย, รูปแบบการบรกิ ารสาธารณะทเ่ี หมาะสม

ประเทศไทยกบั รปู แบบการบรกิ ารสาธารณะทเ่ี หมาะสม ๘๕ The model of New Public Service in Thailand Abstract There are significances of the concept of the New Public Service: (1) serving the citizens, not customers (2) searching for the public interest (3) value citizenship over entrepreneurship (4) thinking strategically and acting democratically (5) recognizing that accountability is not simple (6) serving rather than steering and (7) value people, not just productivity. This research aims to study and comparative of the concept of the New Public Service and the other concepts of Public Administration, and to developed model of the New Public Service for Thailand. Keywords: Thailand, Model of New Public Service บทนาํ รฐั ประศาสนศาสตร คอื วชิ าความรวู า ดว ยการบรหิ ารงานภาครฐั หรอื การบรหิ ารรฐั กจิ ที่มีลักษณะเปนสหวิทยาการ โดยนําความรูจากหลากหลายสาขาวิชาโดยเฉพาะจาก สังคมศาสตรดวยกันมาประยุกตใชในการศึกษาพฤติกรรมหรือปรากฏการณที่เกิดข้ึนในการ บริหารงานภาครัฐ ซึ่งท่ีผานมาองคความรูทางรัฐประศาสนศาสตรมีพัฒนาการตลอดจน มแี นวคดิ ทฤษฎี หลกั การตา งๆ เกดิ ขน้ึ ในแตล ะยคุ สมยั หรอื แตล ะกระบวนทศั น เปน จาํ นวนมาก ซงึ่ หลายแนวคิด ทฤษฎี และหลกั การตา งๆ ท่ีถกู พัฒนาขึ้นในอดีตเหลา นัน้ กถ็ กู ทาทาย วพิ ากษ วิจารณจากนักวิชาการในยุคตอๆ มาในหลากหลายแงมุม ท้ังในเชิงจุดเนนและปริมณฑล ทางวิชาการที่ไมชัดเจน ความสับสนวุนวายในความเปนวิชาชีพ ความเปนสุภาษิต และ ความขดั แยง กนั เองของหลกั การบรหิ าร จนถงึ กบั ถกู ทา ทายในความเปน ศาสตรแ ละเกดิ วกิ ฤตการณ เอกลักษณของวิชาข้ึนตามมา ซ่ึงนักรัฐประศาสนศาสตรตางพยายามหาทางออกและแสวงหา เอกลักษณของวิชา ตลอดจนพัฒนาองคความรูใหมๆ เรื่อยมา ต้ังแตยุคที่เปนแนวคิด รัฐประศาสนศาสตรแนวดั้งเดิม ที่เนนการบรรลุผลของการบริหารตามหลัก ๓ E’s คือประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประหยัด มาสูแนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวใหม ที่เนนความรูท่ีสอดคลองกับปญหาสังคม ความเปนธรรมทางสังคม คานิยม ผูนําการ เปล่ียนแปลง และนโยบายสาธารณะ การสรางระบบราชการใหมีลักษณะเหมือนเอกชนที่นํา วิธีการและเทคนิคทางเศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจมาประยุกตใชในภาครัฐ ซึ่งจากแนวคิด ตางๆ เหลาน้ีไดสะทอนใหเห็นถึงพัฒนาการและความหลากหลายในองคความรูทาง รฐั ประศาสนศาสตร

๘๖ รัฐสภาสาร ปท ี่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ แนวคิดการบรกิ ารสาธารณะแนวใหม แนวคดิ การบรกิ ารสาธารณะแนวใหม ของ Janet V. Denhardt and Robert B. Denhardt มาใชเปน หลัก โดยมกี ารใชแ นวคิดการบรกิ ารสาธารณะแนวใหมข องนกั วชิ าการ คนอื่นๆ มาเปนสวนเสริมหรือเปนสวนประกอบในการวิเคราะหและสังเคราะห ตลอดจน นําแนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวด้ังเดิม (แนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวใหม และแนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม มาใชในสวนของการวิเคราะหเปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกตา งกบั แนวคดิ การบรกิ ารสาธารณะแนวใหม ในประเดน็ ทส่ี าํ คญั ๆ คอื การรบั ใชป ระชาชน มากกวาการควบคุมดูแล การมองพลเมืองท่ีไมใชลูกคา การคนหาผลประโยชนสาธารณะ คานิยมความเปนพลเมืองกับผูประกอบการ การคิดเชิงกลยุทธแตปฏิบัติในเชิงประชาธิปไตย การใหคุณคาความเปนพลเมืองมากกวาผลิตภาพ และการตระหนักถึงความรับผิดชอบ ตอ สาธารณะ การวิเคราะหเ ปรยี บเทียบแนวคิดการบรกิ ารสาธารณะแนวใหมก บั แนวคิดอน่ื ๆ หลักการสําคัญของการบริการสาธารณะแนวใหม ใหความสําคัญกับพลเมือง ผลประโยชนส าธารณะ ความเปน ประชาธิปไตย ความสามารถในการรบั ผดิ ชอบไดต อ พลเมือง การเจรจาตอรองเพ่ือหาขอสรุปและพันธสัญญาตอพลเมืองและชุมชน เพ่ือกระจาย ผลประโยชนสาธารณะน้ันไปสูสังคมอยางแทจริง ขณะที่ รัฐประศาสนศาสตรแนวด้ังเดิม ยังมองประชาชนเปนเพียงผูรอรับบริการจากรัฐ เนนการบริหารภายในมากกวาภายนอก ยังคํานึงถึงเรื่องประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประหยัดเปนคานิยมหลักในทางการบริหารจัด องคการแบบทางการท่ีเนนสายการบังคับบัญชา ผลประโยชนสาธารณะถูกกําหนดโดยฝาย การเมอื งและขา ราชการประจาํ หรอื กาํ หนดไวแ ลว ในนโยบายและกฎหมายตา งๆ ความรบั ผดิ ชอบ ไดเปนเร่ืองของผูเชี่ยวชาญและนักบริหารระดับสูง กระบวนการตัดสินใจตางๆ จึงถูกผูกขาด อยใู นกลมุ นักการเมืองและขาราชการ พลเมืองหรือประชาชนจงึ เขามามีสวนรว มไดใ นระดับท่ี จากัด การปฏิบัติงานก็เปนไปกฎเกณฑ กฎระเบียบ จนสงผลใหเกิดการทํางานที่ขาด ประสิทธิภาพและลาชา ขาราชการก็ขาดแรงจูงใจในการทํางานและถูกปดก้ันในความคิด สรางสรรค ในสวนของแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร แนวใหมนั้นมีสาระสําคัญและคานิยมพื้นฐานที่คลายกัน อาทิ การเนนการมีสวนรวม ของพลเมือง ความเปนประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในการเปล่ียนแปลงสังคม คานิยมการบรหิ ารที่ไมใ ชเฉพาะเร่ืองประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล และประหยดั เทา น้นั แตยงั ให

ประเทศไทยกบั รปู แบบการบรกิ ารสาธารณะทเ่ี หมาะสม ๘๗ The model of New Public Service in Thailand ความสําคัญกับเรื่องความเสมอภาค เปนธรรม ความรับผิดชอบได จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคลายคลึงกันนี้ทําใหมองไดวาแนวคิดท้ังสองเปนกลุมแนวคิดเดียวกัน เปนแนวคิด เชงิ ปทสั ถานท่ีปฏิเสธปฏฐิ านนยิ มทางตรรกะเหมอื นกนั นอกจากการบรกิ ารสาธารณะแนวใหม มาขยายรายละเอียดของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวใหม เพ่ิมข้ึนในหลายๆ ประเด็น เทาน้ัน โดยการบริการสาธารณะแนวใหมมีระดับในเร่ืองการคนหาความตองการหรือ ความจําเปนของพลเมือง ตลอดจนเร่ืองประชาธิปไตยที่มีระดับท่ีเพิ่มมากข้ึนกวา แนวคิด รัฐประศาสนศาสตรแนวใหมและยังพบอีกวา แนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวใหมถือเปนหนึ่ง ในแนวคิดทเี่ ปนรากฐานของ แนวคิดการบรกิ ารสาธารณะแนวใหม นอกจากนี้ ความแตกตางระหวางการบริการสาธารณะแนวใหม กับการจัดการ ภาครัฐแนวใหม น้ันมีอยูหลายประเด็นโดยแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมเห็นวา ประชาชนคือพลเมืองที่ตองการผลประโยชนของสวนรวมหรือผลประโยชนระยะยาวมากกวา ผลประโยชนส ว นตนหรอื ผลประโยชนร ะยะสน้ั ในการบรกิ ารสาธารณะนกั บรหิ ารรฐั กจิ กเ็ ปน เพยี ง ผูรับผิดชอบรวม ไมใชเจาของกิจการ ความเสมอภาค เปนธรรม และความรับผิดชอบได ของภาครัฐ สําคัญกวาประสิทธิภาพและผลิตภาพ โดยเห็นวาคานิยมในเรื่องความเปนธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบไดตางหากที่เปนเปาหมายของการบริการสาธารณะ การบริการ ของรฐั ไมไ ดเ ปน การสง มอบสนิ คา หรอื บรกิ ารใหแ กพ ลเมอื งเทา นน้ั แตม นั คอื การสง มอบความเปน ประชาธปิ ไตยไปสพู ลเมือง สรปุ สาระสาํ คญั ของการบริการสาธารณะแนวใหม การบริการสาธารณะแนวใหม มีรากฐานสาํ คญั มาจาก ๔ แนวคดิ คอื แนวคดิ ประชาธิปไตยพลเมือง แนวคิดตัวแบบชุมชนและประชาสังคม แนวคิดมนุษยนิยมองคการ และรัฐประศาสนศาสตรแนวใหม และแนวคิดรัฐประศาสนศาสตรหลังสมัยใหม สาระสําคัญ หรือองคความรูของการบริการสาธารณะแนวใหมไดมาจากการตีความ วิเคราะหและวิพากษ วิจารณแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตรอื่นๆ โดยเฉพาะการวิพากษแนวคิดการจัดการภาครัฐ แนวใหม ซึ่งจากการศึกษาวิจัยสามารถสรุปถึงสาระสําคัญของการบริการสาธารณะแนวใหม คือ (๑) บริการรับใชประชาชนในฐานะพลเมืองไมใชรับใชในฐานะลูกคา (๒) การคนหา ผลประโยชนสาธารณะ (๓) เนนคุณคาความเปนพลเมืองมากกวาการเปนเจาของธุรกิจ (๔) คดิ เชงิ กลยทุ ธ ปฏบิ ตั แิ บบประชาธปิ ไตย (๕) การตระหนกั ในความรบั ผดิ ชอบ (๖) การให บริการมากกวา การกํากับทศิ ทาง และ (๗) ใหค ุณคากบั คน โดยแนวคดิ ท่ีเปนรากฐานของการ

๘๘ รฐั สภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ กําเนิดเกิดข้ึนของ การบริการสาธารณะแนวใหม คือ ทฤษฎีประชาธิปไตยพลเมือง ตัวแบบชุมชนและประชาสังคม มนุษยนิยมองคการและรัฐประศาสนศาสตรแนวใหม และ รัฐประศาสนศาสตรหลังสมัยใหม แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม มีความแตกตางจาก แนวคิดรัฐประศาสนศาสตรด้ังเดิม และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม ในหลากหลาย ประการ โดยเฉพาะในเรื่องการใหความสําคัญกับเปาหมายทางการบริหารท่ีมีลักษณะเปนผล สาํ เร็จของงานทง้ั ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล ประหยดั ผลลัพธ ผลสัมฤทธเิ์ ปนเพยี งคณุ คาหรือ เปา หมายรอง ขณะทีเ่ ปาหมายหลกั ของ การบริการสาธารณะแนวใหม คือการเสรมิ สรางความ เปน ธรรม ความสามารถรับผิดชอบได จริยธรรมทางการบริหาร การมีสว นรวมของพลเมือง และผลประโยชนสาธารณะ แมวา การบริการสาธารณะแนวใหม จะมีความแตกตางจาก แนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวด้งั เดมิ และ แนวคิดการจดั การภาครฐั แนวใหม แตกลบั มีความ เหมอื นหรอื คลา ยคลงึ กบั แนวคดิ รฐั ประศาสนศาสตรแ นวใหมห รอื การบรหิ ารรฐั กจิ ใหม โดยเฉพาะ ในประเด็นการใหความสําคัญกับการเสริมสรางความเปนธรรมทางสังคม และ แนวคิด รัฐประศาสนศาสตรแนวใหมยังถือเปนแนวคิดพื้นฐานหน่ึงของแนวคิดการบริการสาธารณะ แนวใหม การพฒั นารูปแบบการบริการสาธารณะท่ีเหมาะสมกบั ประเทศไทย หากนําแนวคิดไปเปรียบเทียบกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตรดั้งเดิมจะพบวา มีความไมสอดคลองกันในหลายประเด็น โดยเฉพาะเปาหมายหรือคุณคาทางการบริหารที่ แนวคดิ รฐั ประศาสนศาสตรแ นวดง้ั เดมิ ใหค วามสาํ คญั กบั การบรหิ ารภาครฐั ทตี่ อ งบรรลผุ ลตามหลกั ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประหยดั ขณะที่ แนวคดิ การบริการสาธารณะแนวใหมเหน็ วา คุณคาหรือเปาหมายเหลาน้ันเปนเพียงเปาหมายรอง ไมใชเปาหมายหลักของการบริหารและ บริการภาครัฐ ในสวนของ แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมกับรัฐประศาสนศาสตร แนวใหมหรือการบริหารรัฐใหมน้ันจะพบวาการท่ีแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมกับ แนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวใหมมีคานิยมหลากประการท่ีสอดคลองกันโดยเฉพาะการให ความสําคัญกับพลเมือง การมีสวนรวมและการเสริมสรางความเปนธรรมทางสังคมน้ันเปน เพราะ แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมมีที่มาหรือแนวคิดพ้ืนฐานหนึ่งมาจาก แนวคิด รัฐประศาสนศาสตรแนวใหมและการที่แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมใหความสําคัญ กับพลเมืองและความเปนธรรมในสังคมนั้นก็สอดคลองกับสาระสําคัญของแนวคิด รัฐประศาสนศาสตรแนวใหม โดยเฉพาะในประเด็นความเสมอภาคหรือความเปนธรรมทาง

ประเทศไทยกบั รปู แบบการบรกิ ารสาธารณะทเี่ หมาะสม ๘๙ The model of New Public Service in Thailand สังคมนั้นถือเปนคา นยิ มท่สี ําคญั ทีส่ ดุ ของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแ นวใหม และเปน คานยิ ม ทสี่ าํ คญั ของ แนวคดิ การบรกิ ารสาธารณะแนวใหมด ว ย การท่ี แนวคดิ การบรกิ ารสาธารณะแนวใหม สนใจหรอื ใหค วามสาํ คญั กบั ความเปนธรรมทางสงั คมดวย สรุปไดวา แนวคิดบริการสาธารณะแนวใหมกับแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม มีความขัดแยงท้ังในเรื่องท่ีมาของการสรางองคความรู การมองประชาชน การใชกลไกและ โครงสรางในการจดั บรกิ าร จุดเนน เกยี่ วกบั แนวคิดผลประโยชนสาธารณะ บทบาทของรฐั บาล และหลกั ความรบั ผดิ ชอบและตรวจสอบได ทง้ั นี้ อาจเนอ่ื งมาจาก การบรกิ ารสาธารณะแนวใหม มีจุดยืนที่ไมเหมือนกับแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม อยางชัดเจน ในขณะที่อีกดานหนึ่ง การจัดบริการสาธารณะแนวใหม ไดมีสวนที่เหมือนกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวใหม โดยมที มี่ าและแนวคดิ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั ความเปน ประชาธปิ ไตย ความเปน ธรรม การใหค วามสาํ คญั กับหลักความรับผิดชอบได ผูนําการเปล่ียนแปลง และการคํานึงถึงการกระจายผลประโยชน สาธารณะไปสูสังคมและชุมชนโดยใหคุณคากับกระบวนการการมีสวนรวมกับภาคพลเมือง นอกจากน้ี ความแตกตางระหวางการจัดบริการสาธารณะแนวใหม กับแนวคิด รัฐประศาสนศาสตรแนวใหมน้ัน ไดปรากฏอยูบางแตก็อยูในรูปแบบของระดับความเขมขน ทแ่ี นวคดิ การบรกิ ารสาธารณะแนวใหมม มี ากกวา แนวคดิ รฐั ประศาสนศาสตรแ นวใหมท งั้ ในเรอื่ ง การสนับสนุนประชาธิปไตยทางตรง การบริหารแบบมีสวนรวม การกระจายอํานาจและ ใหช มุ ชนเปน ผดู าํ เนนิ การ แตอ ยา งไรกต็ ามโดยพน้ื ฐานทางความคดิ แลว สามารถอภปิ รายไดว า แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมกับ แนวคิดรัฐประศาสนศาสตรแนวใหมมีรากฐานและ ท่ีมาที่คลายคลึงกัน ทั้งนี้ การบริการสาธารณะแนวใหม ยังคงมีปญหาในการปฏิบัติอยูมาก เพราะมุงเนนในเชิงคุณคาหรือคานิยมมากกวาการนําความรูไปประยุกตใชไดในทางการบริหาร รฐั กจิ นกั วชิ าการทย่ี อมรบั การบรกิ ารสาธารณะแนวใหมส ว นมาก เปน นกั วชิ าการทางรฐั ศาสตร ที่มุงเนนคานิยมและอุดมการณประชาธิปไตยซึ่งไมไดมุงวิธีการและเทคนิคของการจัดการ ภาครัฐแนวใหม ทจี่ บั ตองไดม ากกวา อยางไรก็ตาม แนวคดิ การบริการสาธารณะแนวใหม แมจะมีคณุ คา ตอ การพฒั นา องคค วามรทู างรฐั ประศาสนศาสตร แตก ารจดั บรกิ ารสาธารณะกไ็ มใ ชเ รอ่ื งงา ยท่ี จะนาํ ไปปฏบิ ตั ิ เพราะเปนเรื่องที่เก่ียวของกับผลประโยชนสาธารณะหรือผลประโยชนของสวนรวมและ ความรับผิดชอบไดซ่ึงเอกชนยากท่ีจะเขาใจและยากที่จะปฏิบัติได ทั้งนี้การบริการสาธารณะ แนวใหมไดเ พม่ิ หรอื ใหคุณคาแกน ักบริหารรัฐกิจมากขึ้น พรอ มๆ กับเหน็ วา การบริหารภาครฐั เปนสงิ่ ทจี่ าํ เปนและมีคณุ คา แตกตางจากการบริหารธรุ กิจ โดยหากบรหิ ารภาครัฐตามแนวทาง

๙๐ รฐั สภาสาร ปท่ี ๖๘ ฉบับที่ ๓ เดือนพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหมเทากับการลดคุณคาของการบริหารราชการหรือการบริหาร ภาครฐั ใหไปเหมือนกับภาคเอกชนจนในทส่ี ดุ อาจไมจ ําเปนตอ งมกี ารบริหารภาครฐั การบรหิ าร ภาครฐั ไมไ ดต อ งการการบรรลคุ ณุ คา แคป ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล ผลลพั ธ ผลสมั ฤทธเ์ิ หมอื นกบั คุณคาท่ีธุรกิจเอกชนตองการเทานั้น เพราะคุณคาดังกลาวเปนเพียงผลหรือคุณคาในระยะสั้น แตคุณคาที่สําคัญกวาก็คือเรื่องของการเสริมสรางความเปนธรรมทางสังคม ความสามารถ รับผิดชอบได จริยธรรมและผลประโยชนข องสว นรวมหรอื ผลประโยชนส าธารณะ จากการทค่ี ณุ คา สาํ คญั ของ แนวคดิ การบรกิ ารสาธารณะแนวใหม มคี วามเปน ปทสั ถาน ทีไ่ มอาจวดั ไดอ ยา งเปนรปู ธรรมเหมือนกบั คุณคาของ แนวคิดการจดั การภาครัฐแนวใหม และ แนวคิดการบรกิ ารสาธารณะแนวใหม กไ็ มสามารถนิยามคุณคา ตางๆ เหลา นนั้ ไดอยา งชัดเจนนี้ ไดสงผลให แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม ไมสามารถที่จะเสนอแนวคิดและเหตุผล ที่สามารถหักลางแนวคิดกระแสหลักอยาง แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหมได จึงไมได การยอมรับและสนใจจากแวดวงวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตรมากนัก โดยจะเห็นไดจาก หนงั สอื ตารา และงานวจิ ยั ทางรฐั ประศาสนศาสตรเ กยี่ วกบั แนวคดิ การบรกิ ารสาธารณะแนวใหม ยังมีนอยมากเม่ือเปรียบเทียบกับแนวคิดกระแสหลักอยาง ซ่ึงจากการท่ี แนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม ไดกลายเปนกระแสหลักทางการบริหารภาครัฐและเปนแนวคิดท่ีมีอิทธิพล อยางมากตอการบริหารและการปฏิรูประบบราชการในนานาประเทศไดสงผลให แนวคิด การบริการสาธารณะแนวใหม กลายเปนเพียงแนวคิดกระแสรองที่มีเฉพาะนักวิชาการทาง รัฐประศาสนศาสตรจํานวนหน่งึ เทานน้ั ท่ีใหค วามสําคัญและสนใจท่ีจะศกึ ษา แนวคิดการบรกิ าร สาธารณะแนวใหมอยางจริงจัง ซึ่งนักวิชาการกลุมนี้โดยสวนใหญเปนนักรัฐประศาสนศาสตร ในสายรัฐศาสตรท่ีมีพื้นฐานความรูในสาขาวิชารัฐศาสตรมากอน หรือไมก็สอนอยูใน มหาวิทยาลยั ทีว่ ิชารฐั ประศาสนศาสตรเปนสวนหนงึ่ ของคณะรัฐศาสตร อยา งไรกต็ าม การนาํ รปู แบบการบรกิ ารสาธารณะทเี่ หมาะสมมาใชใ นประเทศไทยนนั้ ควรนําคานิยมของ แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม ไปใชโดยผสมผสานกับวิธีการและ เทคนิคของการจัดการภาครัฐแนวใหมเพื่อใหเกิดการบริหารภาครัฐที่สอดคลองกับอุดมการณ และคานิยมประชาธิปไตย และสามารถวัดผลสําเร็จไดอยางเปนรูปธรรม นอกจากนี้การนํา แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหมไปใชในการเผยแพรควรนําเสนอในลักษณะพัฒนาการ ของแนวคดิ ทางรฐั ประศาสนศาสตรก อ นการวเิ คราะหเ ปรยี บเทยี บและสรปุ ใหเ หน็ ถงึ ความเหมอื น และความแตกตางของแนวคดิ แตละยคุ ดวย

ประเทศไทยกบั รปู แบบการบรกิ ารสาธารณะทเี่ หมาะสม ๙๑ The model of New Public Service in Thailand บรรณานุกรม หนงั สือ ชมุ พร สงั ขปรชี า. (๒๕๒๙). บรหิ ารรัฐกจิ ใหม. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พรนิ ตง้ิ เฮาส. ตนิ ปรชั ญพฤทธ.์ิ (๒๕๓๘). ศัพทรัฐประศาสนศาสตร กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พจ ฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลยั . ทศพร ศริ สิ ัมพนั ธ. (๒๕๕๓). เอกสารการสอน ชดุ วิชาขอบขา ยการศกึ ษาและวจิ ยั ทาง รัฐประศาสนศาสตร หนว ยที่ ๖ แนวทางการศึกษารฐั ประศาสนศาสตรส มัยใหม นนทบุรี: สํานกั พิมพ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช เรืองวทิ ย เกษสวุ รรณ. (๒๕๕๓). ความรูเ บื้องตนเกย่ี วกบั รัฐประศาสนศาสตร. พิมพครัง้ ท่ี ๓. กรุงเทพฯ: บริษัท บพิธการพิมพ จํากดั สรอยตระกูล (ติวยานนท) อรรถมานะ. (๒๕๔๓). สาธารณบริหารศาสตร. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร. เสาวลกั ษณ สขุ วริ ชั . (๒๕๔๙). “ทางสองแพรง ของจรยิ ธรรมการบรหิ าร (The Dilemma of Administrative Zeitgeists)” เอกสารการประชุมวิชาการรฐั ศาสตรแ ละรฐั ประศาสนศาสตรแหงชาติ ครั้งที่ ๗: ๖๔๓-๖๖๒. อัมพร ธํารงลกั ษณ และคณะ. (๒๕๕๓). การบรหิ ารปกครองสาธารณะ (Public Governance) การบรหิ ารรัฐกิจในศตวรรษที่ ๒๑. ปทุมธาน:ี โรงพิมพม หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร. อทุ ยั เลาหวเิ ชยี ร. (๒๕๓๗). เอกสารประกอบการสอน รศ. ๖๐๐ ทฤษฎรี ฐั ประศาสนศาสตร เลม ๒ กรงุ เทพฯ: โครงการเอกสารและตํารา คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบณั ฑิต พัฒนบรหิ ารศาสตร. Books Boston, Jonathan. et al. (1996). Public Management: The New Zealand Model. Oxford University Press UK. Hood, Christopher. (1991). “A Public Management for All Season?.” Public Administration. Vol. 69. Blackwell Publishing. : 3-19. Osborne David and Gaebler Ted. (1992). Reinventing Government. M. A. Addison-Wesley Publishing Company.

๙๒ รฐั สภาสาร ปที่ ๖๘ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นพฤษภาคม-มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ Waldo, Dwight. (1955). The Study of Public Administration. New York: Random House, Inc. Allison, Graham T. (1979). “Public and Private Management : Are They Fundamentally Alike in All Unimportant Respect?.” Proceedings of Public Management Research Conference, November : 19-20. Frederickson, George H. (1971). Toward a New Public Administration. Harper Collins Publishers. Frederickson, George H. et al. (2012). The Public Administration Theory Primer. Philadelphia: Westview Press. Perry, James L. (2007). “Democracy and the New Public Service.” The American Review of Public Administration. March 37: 3-16. Henry Nicholas. (2001). Public Administration and Public Affairs. New Jersey: Prentice Hall. Light, Pual Charles. (1999). New Public Service. Massachusetts: The Brookings Institution. Denhardt, Robert B. and Denhardt, Janet Vinzant. (2000). “The New Public Service : Serving Rather than Steering.” Public Administration Review. Noverber/December 2000. 60(6): 549-559.

ประชาสัมพนั ธก ารสง บทความเพื่อตีพมิ พในวารสารรฐั สภาสาร สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ขอเชิญชวนอาจารย ขาราชการ นักวิชาการ นักการศึกษา สาขาตาง ๆ และผูสนใจท่ัวไป สงบทความวิชาการดานการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ฯลฯ ท้ังในประเทศและตางประเทศ ลงตีพิมพในวารสารรัฐสภาสารของสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ซ่งึ มีกาํ หนดออก ๒ เดือน ๑ ฉบบั ขอ กําหนดบทความ ๑. บทความวิชาการ หมายถึง บทความที่เขียนข้ึนในลักษณะวิเคราะห วิจารณ หรือเสนอแนวคิด ใหม ๆ จากพ้ืนฐานวิชาการที่ไดเรียบเรียงมาจากผลงานทางวิชาการของตนหรือของผูอื่น หรือเปนบทความ ทางวิชาการที่เขียนข้ึนเพ่ือเปนความรูสําหรับผูสนใจทั่วไป โดยบทความวิชาการจะประกอบดวย สวนเกร่ินนํา สว นเน้อื หา สวนสรุป เอกสารอางองิ และเชงิ อรรถ ๒. บทความตองมีความยาวของตนฉบับไมเกิน ๒๐ หนา กระดาษขนาด A4 ๓. เปนบทความท่ไี มเ คยตีพิมพที่ใดมากอ น การเตรียมตนฉบบั เพื่อตีพมิ พ ๑. ตัวอักษรมีขนาดและแบบเดียวกันทั้งเรื่อง โดยพิมพดวยโปรแกรม Microsoft Word ใชตัวอักษรแบบ Angsana New/UPC ขนาด ๑๖ พอยท ตัวธรรมดาสําหรับเนื้อหาปกติ และตัวหนา สําหรบั หัวขอ โดยจดั พิมพเ ปน ๑ คอลมั น ขนาด A4 หนา เดียว และเวนระยะขอบกระดาษดานละ ๑ นว้ิ ๒. การใชภ าษาไทยใหยึดหลกั พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓. ตอ งระบชุ ื่อบทความ ช่ือ-สกลุ ตําแหนง และสถานทที่ าํ งานของผเู ขียนบทความอยา งชดั เจน การสง บทความ สามารถสง บทความได ๒ วิธี ดังนี้ ๑. สงตนฉบบั ในรปู แบบเอกสารจาํ นวน ๑ ชุด พรอมแผน บันทกึ ไฟลข อ มูล ไปที่ บรรณาธิการวารสารรฐั สภาสาร กลมุ งานผลิตเอกสาร สาํ นกั ประชาสัมพันธ สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร เลขท่ี ๑๑๐ ถนนประดพิ ัทธ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ ๒. สงไฟลข อมลู ทาง e-mail ไปท่ี [email protected] คา ตอบแทน หนาละ ๒๐๐ บาท หรือ ๓๐๐ บาท ซ่ึงกองบรรณาธิการรัฐสภาสารจะเปนผูพิจารณาวา สมควรจะจายเงินคาตอบแทนในจํานวนหรืออัตราเทาใด โดยพิจารณาตามหลักเกณฑท่ีคณะกรรมการพิจารณา ปรบั อตั ราคา เขยี นบทความในวารสารรฐั สภาสารไดกําหนดไว ติดตอสอบถามรายละเอียดไดที่ กองบรรณาธิการวารสารรัฐสภาสาร โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๔ และ ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๑ โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook