Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 7 เอกสารข่าวรัฐสภาฉบับเดือนกรกฎาคม 2562

7 เอกสารข่าวรัฐสภาฉบับเดือนกรกฎาคม 2562

Published by sapasarn2019, 2020-10-06 00:04:56

Description: 7 เอกสารข่าวรัฐสภาฉบับเดือนกรกฎาคม 2562

Search

Read the Text Version

วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นวารสารรายงานข่าวและบทความที่เก่ียวข้องกับวงงานรัฐสภา  และเผยแพร่นโยบายการปฏิบัติงานของส�ำนักงาน เลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร  ให้สมาชกิ ฯ  ข้าราชการ  และประชาชนท่วั ไปไดร้ บั ทราบ ระเบยี บการ ๑. ออกเปน็ รายเดอื น  (ปีละ ๑๒ เล่ม) ๒. ส่วนราชการบอกรับเป็นสมาชิกโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด  ๆ  ท่ีผู้จัดการเอกสารข่าวรัฐสภา  กลุ่มงานผลิตเอกสาร ส�ำนักประชาสัมพันธ์  ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  เลขท่ี  ๑๑๐  ถนนประดิพัทธิ์  แขวงพญาไท  เขตพญาไท กรงุ เทพฯ  ๑๐๔๐๐  โทร.  ๐ ๒๒๔๔  ๒๒๙๑-๕  โทรสาร  ๐ ๒๒๔๔  ๒๒๙๒ ๓. การย้ายท่ีอยู่ของสมาชิกโปรดแจ้งให้ผู้จัดการทราบทันที  พร้อมท้ังแจ้งสถานที่อยู่ใหม่ให้ชัดแจ้ง  เพ่ือความสะดวก ในการจัดส่งเอกสาร ท่ปี รกึ ษา เอกสารข่าวรัฐสภา นายสรศกั ดิ์ เพยี รเวช ปีท่ี  ๔๔  ฉบับท ่ี ๘๗๓  เดอื นกรกฎาคม  พ.ศ.  ๒๕๖๒ นางสาวสภุ าสนิ ี ขมะสนุ ทร ภาพกจิ กรรม ๒ บรรณาธิการ ประกาศแต่งตง้ั ประธานและรองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ๑๖ นางจงเดือน สทุ ธิรตั น์ ประกาศแตง่ ต้ังประธานและรองประธานวุฒสิ ภา ๑๗ การประชมุ สภา ๑๘ ผ้จู ดั การ สรปุ ผลการประชมุ สภาผ้แู ทนราษฎร  ชดุ ที่ ๒๕  ปีที ่ ๑ ๑๘ นางบุษราค�ำ เชาวน์ศิริ สรุปผลการประชมุ ร่วมกนั ของรัฐสภา ๒๑ กองบรรณาธกิ าร รอบร้ัวสภา ๒๓ นางสาวอารีย์วรรณ พูลทรัพย์ ข่าวในประเทศ ๒๓ นายพิษณ ุ จารยี พ์ ันธ์ นางสาวอรทยั แสนบุตร ขา่ วตา่ งประเทศ ๓๒ นางสาวจุฬีวรรณ เติมผล นายก้องเกยี รติ ผือโย กฎหมายควรรู้ ๓๙ นางสาวนธิ ิมา ประเสริฐภกั ดี ภาพเกา่ เล่าเรอื่ ง ๔๔ นางสาวสหวรรณ เพช็ รไทย เรื่องนา่ ร้ ู ๔๙ นางสาวอาภรณ ์ เน่อื งเศรษฐ์ นางสาวสุรดา เซน็ พานิช ๒ ๑๖ ๒๓ ๓๒ นางสาวเสาวลักษณ์ ธนชัยอภิภัทร ๓๙ ๔๔ ๔๙ นางสาวดลธ ี จลุ นานนท์ นางสาวจรยิ าพร ดกี ัลลา ฝา่ ยศิลปกรรม นายมานะ เรืองสอน นายนธิ ทิ ัศน์ องค์อศวิ ชัย นางสาวณฐั นนั ท์ วิชติ พงศ์เมธี พมิ พ์ท่ี ส�ำนกั การพมิ พ์ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร ผ้พู ิมพ์ผู้โฆษณา นางสาวกัลยรชั ต ์ ขาวส�ำอางค์

ภาพกจิ กรรมเอกสารข่าวรัฐสภา 2 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว  และสมเด็จพระนางเจ้าฯ  พระบรมราชนิ  ี เสด็จพระราชดำ� เนนิ ทรงเปดิ ประชมุ รฐั สภา วันที่  ๒๔  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  เวลา  ๑๕.๑๒  นาฬิกา  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี  เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดประชุมรัฐสภา  ณ  ห้องประชุมวิเทศสโมสร  กระทรวงการต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา  แขวงทุ่งพญาไท  เขตราชเทวี  กรุงเทพมหานคร  โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  สมาชิกวุฒิสภา นายกรัฐมนตรี  คณะรัฐมนตรี  ประธานองค์กรอิสระ  คณะรักษาความสงบแห่งชาติ  ทูตานุทูต  ผู้บริหารส�ำนักงาน เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  และผู้บรหิ ารสำ� นกั งานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา  เฝา้ รบั เสดจ็ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  มีพระราชด�ำรัสเปิดประชุมรัฐสภา  ความว่า  “บัดนี้  การเลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรไดเ้ สร็จสิ้นลง  และมีการเรยี กประชุมรัฐสภา  พุทธศักราช  ๒๕๖๒  แล้ว ขา้ พเจา้ ขอเปดิ ประชมุ รฐั สภา เพื่อให้ท�ำหน้าที่นิติบัญญัติ  ตั้งแต่วาระนี้เป็นต้นไป  ขอให้สมาชิกแห่งสภาพึงนึกถึงความส�ำคัญและความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างจริงจัง  เพราะการกระท�ำทุกอย่างของแต่ละคนจะมีผลโดยตรงถึงความมั่นคงของประเทศและ ความสุขทุกข์ของประชาชน  จึงจ�ำเป็นท่ีทุกคนจะต้องร่วมมือกันปฏิบัติภารกิจท้ังปวง  โดยเต็มสติปัญญาความสามารถ ด้วยความสุจริต  และด้วยความคิดพิจารณาอันสุขุมรอบคอบ  หนักแน่นด้วยเหตุผลท่ีถูกต้องเที่ยงตรง  ตามหลักนิติธรรม และคุณธรรม  ให้งานของชาติด�ำเนินก้าวหน้าไปโดยไม่ติดขัดและบังเกิดประโยชน์อันพึงประสงค์  สมบูรณ์  บริบูรณ์ ขออ�ำนวยพรให้การด�ำเนินงานของรัฐสภาเป็นไปโดยเรียบร้อย  สัมฤทธ์ิผลเป็นความผาสุกสวัสดิ์  และความวัฒนาถาวร แก่อาณาประชาราษฎร์  และชาติบ้านเมือง  ท้ังขอให้ทุกคนท่ีประชุมร่วมกันอยู่  ณ  ท่ีนี้  ประสบความสุขความเจริญ ทุกเม่อื ทั่วหนา้ กนั ”

3 ภาพกิจกรรม ประมวลภาพการมารายงานตัวสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร  วันท่ี  ๘  –  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  เปิดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รายงานตัว  ณ  ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  อาคารรัฐสภา  เกียกกาย  ชั้น  ๔  ถนนสามเสน  เขตดุสิต กรุงเทพฯ  ภายหลังจากที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง  ได้ประกาศผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการ  และได้รับ หนังสือรับรองการไดร้ บั การเลอื กตั้ง  โดยมีคณะผู้บริหารสำ� นักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎรใหก้ ารต้อนรับ

เอกสารข่าวรัฐสภา 4

5 ภาพกิจกรรม

เอกสารข่าวรัฐสภา 6

7 ภาพกิจกรรม

เอกสารข่าวรัฐสภา 8

9 ภาพกิจกรรม

เอกสารขา่ วรฐั สภา 10

11 ภาพกิจกรรม พธิ ีบำ� เพ็ญกุศลทักษิณานุประทานเนอื่ งในวนั ที่ระลกึ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั วันพฤหัสบดีท่ี  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  เวลา  ๑๐.๐๐  นาฬิกา  ณ  พระวิหารวัดราชบพิธ  สถิตมหาสีมาราม ถนนเฟื่องนคร  กรุงเทพฯ  นายชวน  หลีกภัย  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  เป็นประธานในพิธีบ�ำเพ็ญกุศลทักษิณานุ ประทานเนื่องในวันท่ีระลึกพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว  โดยมีนายสุชาติ  ตันเจริญ  นายศุภชัย  โพธิ์สุ พร้อมด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  คณะผู้บริหารข้าราชการ  ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  และส�ำนักงาน เลขาธิการวฒุ สิ ภา  รว่ มในพธิ ดี งั กล่าว พิธีมอบทุนการศกึ ษาของมูลนธิ ิฯ  และประทานพระโอวาทแกผ่ ูร้ ับทุน วันพฤหัสบดีท่ี  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  เวลา  ๑๐.๓๐  นาฬิกา  ณ  ห้องประชุมริมแม่น้�ำเจ้าพระยา  ช้ัน  ๔ อาคารรัฐสภา  เกียกกาย  พลเรือเอก  หม่อมเจ้าปุสาณ  สวัสดิวัตน์  ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว  และสมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี  เป็นประธานในพิธีมอบทุนการศึกษา ของมูลนิธิฯ  และประทานพระโอวาทแก่ผู้รับทุน  โดยมีนายสรศักด์ิ  เพียรเวช  เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  ในฐานะ กรรมการและเลขานกุ ารมลู นิธฯิ   กลา่ วรายงาน

เอกสารขา่ วรฐั สภา 12 วางพวงมาลาถวายราชสักการะพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว วันพฤหัสบดีที่  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  เวลา  ๐๙.๓๐  นาฬิกา  ณ  ห้องประชุมริมแม่น�้ำเจ้าพระยา  ชั้น  ๔ อาคารรัฐสภา  เกียกกาย  พลเรือเอก  หม่อมเจ้าปุสาณ  สวัสดิวัตน์  ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำ� ไพพรรณี  พร้อมด้วยคณะกรรมการมูลนิธิฯ  และผู้รับทุน การศึกษาของมูลนิธิฯ  วางพวงมาลาถวายราชสักการะพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว  เน่ืองในวันท่ีระลึก พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร  ร่วมพิธีท�ำบุญตักบาตร  และลงนามถวายพระพร  เน่ืองในโอกาส วนั เฉลิมพระชนมพรรษา  สมเด็จพระนางเจา้ ฯ  พระบรมราชนิ ี วันจันทร์ที่  ๓  มิถุนายน  ๒๕๖๒  เวลา  ๐๗.๓๐  นาฬิกา  ณ  ท้องสนามหลวง  นายชวน  หลีกภัย ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร  พร้อมด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ร่วมพิธีท�ำบุญตักบาตร  เน่ืองใน โอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา  สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ  พระบรมราชินี       จากนั้นในเวลา  ๐๘.๐๐  นาฬิกา  ณ  ห้องแดง  อาคารหน่วยราชการในพระองค์  ๙๐๔  ในพระบรมมหาราชวัง นายชวน  หลีกภัย  ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร  พร้อมด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ลงนาม ถวายพระพร  เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ  พระบรมราชนิ ี

13 ภาพกิจกรรม พิธีถวายพระพรชัยมงคลและลงนามถวายพระพรชัยมงคล  เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ  พระบรมราชนิ ี วันจันทร์ท่ี  ๓  มิถุนายน  ๒๕๖๒  เวลา  ๑๐.๓๙  นาฬิกา  ณ  ห้องประชุมริมแม่น้�ำเจ้าพระยา  ช้ัน  ๔ อาคารรัฐสภา  เกียกกาย  นางจันทร์เพ็ญ  อานามวัฒน์  ท่ีปรึกษาด้านระบบงานนิติบัญญัติ  เป็นประธานในพิธีถวาย พระพรชัยมงคลและลงนามถวายพระพรชัยมงคล  เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา  สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ  พระบรมราชินี  โดยมีคณะผู้บริหารและบุคลากรของส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ร่วมในพธิ ี พิธีถวายเครื่องราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพร ชั ย ม ง ค ล เ นื่ อ ง ใ น โ อ ก า ส วั น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ ช น ม พ ร ร ษ า สมเด็จพระนางเจ้าฯ  พระบรมราชินี  ประจ�ำปี พุทธศักราช  ๒๕๖๒ วันจันทร์ที่  ๓  มิถุนายน  ๒๕๖๒  เวลา ๑๙.๐๐  นาฬิกา  ณ  ท้องสนามหลวง  นายจีรพงศ์ วัฒนะรัตน์  ที่ปรึกษาด้านกฎหมายพร้อมด้วยข้าราชการ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  ร่วมในพิธีถวาย เคร่ืองราชสักการะและจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา  สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชิน ี ประจำ� ปี พุทธศักราช  ๒๕๖๒

เอกสารขา่ วรัฐสภา 14 พิธีเปิดโครงการ  “รัฐสภาพร้อมใจ  บริจาคโลหิต  เพื่อเฉลิมพระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคล พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก” วันอังคารท่ี  ๔  มิถุนายน  ๒๕๖๒  เวลา  ๐๙.๐๐  นาฬิกา  ณ  ห้องประชุมริมสามเสน  ชั้น  ๔  อาคาร รัฐสภา  เกียกกาย  นางสาวสุนทร  รักเมือง  รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ  “รัฐสภา พร้อมใจ  บริจาคโลหิต  เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก”  ทั้งนี้  ได้มีสมาชิก สภาผ้แู ทนราษฎร  ผบู้ ริหารและบุคลากรของส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎรเขา้ ร่วมบรจิ าคโลหิตอย่างตอ่ เนือ่ ง

15 ภาพกิจกรรม รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรทูลเกล้าฯ  ถวายเงินและพานพุ่มดอกไม้ในนาม  ส�ำนักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร วันอังคารท่ี  ๔  มิถุนายน  ๒๕๖๒  เวลา ๑๒.๓๐  นาฬิกา  ณ  พระท่ีนั่งอัมพรสถาน  นางนงนุช เศรษฐบุตร  รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  พร้อมด้วย ข้าราชการของส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ทูลเกล้าฯ  ถวายเงินและพานพุ่มดอกไม้ในนามส�ำนักงาน เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  โอกาสนี้  ได้ร่วมลงนาม ถวายพระพร  เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ ้ า สุ ทิ ด า   พั ช ร สุ ธ า พิ ม ล ลั ก ษ ณ พระบรมราชินี เลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร  วางพวงมาลาถวายราชสักการะในนาม  “สภาผ้แู ทนราษฎร” วันอาทิตย์ท่ี  ๙  มิถุนายน  ๒๕๖๒  เวลา  ๐๙.๐๙  นาฬิกา  ณ  พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล  เชิงสะพานพระราม  ๘  เขตบางพลัด  กรุงเทพมหานคร  นายสรศักดิ์  เพียรเวช เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  น�ำคณะผู้บริหารและข้าราชการส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  วางพวงมาลา ถวายราชสักการะในนาม  “สภาผู้แทนราษฎร”  เน่ืองในวันที่ระลึกคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร มหาอานันทมหดิ ลพระอัฐมรามาธิบดินทร  พทุ ธศักราช  ๒๕๖๒

เอกสารข่าวรฐั สภา 16 ประกาศ แต่งตงั้ ประธานและรองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกล้าเจา้ อยู่หวั พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ  พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว  มีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ  ให้ประกาศว่า  โดยท่ีสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเมื่อวันที่  ๒๕  พฤษภาคม  พ.ศ.  ๒๕๖๒ เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร  และสภาผู้แทนราษฎร  ได้ลงมติเม่ือวันท่ี  ๒๖ พฤษภาคม  พ.ศ.  ๒๕๖๒  เลอื กสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรให้เปน็ รองประธานสภาผ้แู ทนราษฎร  ดังน ้ี ๑. นายชวน  หลีกภัย  เปน็ ประธานสภาผู้แทนราษฎร  ๒. นายสชุ าติ  ตันเจรญิ   เปน็ รองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร  คนทห่ี นึ่ง  ๓. นายศภุ ชัย  โพธ์ิส ุ เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนท่สี อง  จึงแต่งต้ังให้ผู้มีนามดังกล่าวเป็นประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  ตามความในมาตรา  ๑๑๖ ของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย  ตั้งแต่บดั น้ีเป็นต้นไป  ประกาศ  ณ  วันท่ ี ๒๘  พฤษภาคม  พทุ ธศกั ราช  ๒๕๖๒  เป็นปที ่ ี ๔  ในรชั กาลปจั จุบนั ผ้รู ับสนองพระบรมราชโองการ  พลเอก  ประยุทธ ์ จนั ทร์โอชา  นายกรฐั มนตรี

17 การประชุม ประกาศ แตง่ ตัง้ ประธานและรองประธานวุฒสิ ภา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจา้ อยหู่ ัว พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ  พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว  มีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ  ให้ประกาศว่า  โดยที่วุฒิสภาได้ลงมติเม่ือวันท่ี  ๒๔  พฤษภาคม  พ.ศ.  ๒๕๖๒  เลือกสมาชิก วฒุ สิ ภาให้เป็นประธานและรองประธานวฒุ สิ ภา  ดงั น้ี  ๑. นายพรเพชร  วิชติ ชลชัย  เปน็ ประธานวุฒิสภา  ๒. พลเอก  สิงหศ์ กึ   สิงหไ์ พร  เป็นรองประธานวุฒสิ ภา  คนท่หี นงึ่   ๓. นายศุภชยั   สมเจริญ  เปน็ รองประธานวฒุ ิสภา  คนทีส่ อง  จึงแต่งตั้งให้ผู้มีนามดังกล่าวเป็นประธานและรองประธานวุฒิสภา  ตามความในมาตรา  ๑๑๖  ของ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย  ต้ังแต่บดั นีเ้ ปน็ ตน้ ไป  ประกาศ  ณ  วนั ท ่ี ๒๘  พฤษภาคม  พุทธศกั ราช  ๒๕๖๒  เปน็ ปที  ี่ ๔  ในรัชกาลปจั จุบัน  ผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ  พลเอก  ประยทุ ธ์  จันทร์โอชา  นายกรฐั มนตรี

เอกสารขา่ วรฐั สภา 18 การประชุมสภา สรปุ ผลการประชมุ สภาผู้แทนราษฎร ชดุ ท่ ี ๒๕  ปที ี่  ๑ ครัง้ ท่ ี ๑  (สมยั สามญั ประจำ� ปีครัง้ ทห่ี นึ่ง) “ข้าพเจ้า  (ช่ือผู้ปฏิญาณ)  ขอปฏิญาณว่า  ข้าพเจ้า วันเสารท์ ี่ ๒๕  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  จะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต  เพื่อประโยชน์ นายสรศกั ดิ ์ เพยี รเวช  เลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร ของประเทศและประชาชน  ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตาม ได้ขออนุมัติที่ประชุมเพื่อขอน�ำข้อบังคับการประชุม ซึ่งรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยทกุ ประการ” สภาผู้แทนราษฎร  พ.ศ.  ๒๕๕๑  มาอนุโลมใช้บังคับ รับทราบเร่อื งประธานช่ัวคราวจะแจ้งต่อท่ีประชุม ซ่ึงท่ีประชุมเห็นชอบ  จากนั้นเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ๑. เร่ือง  ศาลรัฐธรรมนูญได้รับค�ำร้องของคณะ ได้ให้รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรไปเชิญ  นายชัย กรรมการการเลือกตั้ง  ขอให้วินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ ชิดชอบ  ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้มีอายุสูงสุด มาตรา  ๘๒  ว่าสมาชิกภาพสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในท่ีประชุมท�ำหน้าท่ีประธานช่ัวคราว  ตามข้อบังคับฯ ของ  นายธนาธร  จึงรุ่งเรืองกิจ  สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ ขอ้   ๑๐  และขอ้   ๒ มาตรา  ๑๐๑  (๖)  ประกอบมาตรา  ๙๘  (๓)  หรือไม่ ประธานชั่วคราวกล่าวเปิดประชุม  ได้แจ้งให ้ ซ่ึงศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์มีค�ำสั่งรับค�ำร้องไว้ ที่ประชุมรับทราบพระบรมราชโองการประกาศแต่งต้ัง พิจารณาวินิจฉัยและมีค�ำส่ังให้  นายธนาธร  จึงรุ่งเรืองกิจ สมาชกิ วฒุ สิ ภา  จ�ำนวน  ๒๕๐  คน  ทั้งน ี้ ตง้ั แต่วนั ที่   ๑๑ หยดุ ปฏิบตั ิหน้าท่ตี ามรฐั ธรรมนูญ  มาตรา  ๘๒  วรรคสอง พฤษภาคม  พทุ ธศกั ราช  ๒๕๖๒  เป็นต้นไป ๒ เร่ือง  การถ่ายทอดการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ท่ปี ระชุมรบั ทราบ ในการพิจารณาเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรและเลือก จากนั้น  ประธานช่ัวคราวได้กล่าวน�ำสมาชิก รองประธานสภาผู้แทนราษฎร  ได้มีการถ่ายทอดทาง สภาผู้แทนราษฎรปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้า สถานีวิทยุกระจายเสียงรัฐสภาและสถานีวิทยุโทรทัศน์ รับหน้าท่ี  ตามมาตรา  ๑๑๕  ของรัฐธรรมนูญแห่ง รัฐสภา  ตามข้อบังคับฯ  ข้อ  ๑๑  วรรคสอง  ต้ังแต่ ราชอาณาจักรไทย  ดว้ ยถ้อยคำ� วา่ เร่ิมต้นจนเสร็จสน้ิ การประชมุ  

19 การประชมุ ทปี่ ระชุมรบั ทราบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร  นายสุชาติ  ตันเจริญ  รองประธาน เรอ่ื งทพ่ี จิ ารณา สภาผู้แทนราษฎร  คนท่ีหนึ่ง  และนายศุภชัย  โพธิ์สุ ๑. พิจารณาระเบียบวาระท่ี  ๒  เลือกประธานสภา รองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนที่สอง  ขึ้นบัลลังก ์ ผู้แทนราษฎร เพ่อื ด�ำเนนิ การประชมุ ผลการพิจารณา เมื่อประธานสภาผู้แทนราษฎร  รองประธานสภา ท่ีประชุมได้ลงมติเลือก  นายชวน  หลีกภัย  เป็น ผู้แทนราษฎร  คนท่ีหนึ่ง  และรองประธานสภาผู้แทน ประธานสภาผ้แู ทนราษฎร  ตามข้อบงั คับฯ  ขอ้   ๕  ราษฎร  คนท่ีสอง  ข้ึนบัลลังก์  ประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้กล่าวเปิดประชุม  จากนั้น  ได้ให้เลขาธิการสภาผู้แทน ครั้งท่ี  ๒  (สมัยสามัญประจ�ำปคี รง้ั ท่หี น่ึง) ราษฎรเชิญพระบรมราชโองการให้ที่ประชุมรับทราบ วันอาทิตย์ที ่ ๒๖  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ รวม  ๓  ฉบบั   คอื   รับทราบเรื่องที่ประธานช่ัวคราวจะแจ้งต่อ ๑. พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ  ประกาศ ทปี่ ระชมุ แต่งตั้ง  พลเอก  สุรยุทธ์  จุลานนท์  องคมนตร ี ๑. เร่ือง  การถ่ายถอดการประชุมสภาผู้แทนราษฎร เป็นผูร้ ักษาการประธานองคมนตร ี ในการพิจารณาเลือกรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ท้ังนี้  ต้ังแต่วันท่ี  ๒๗  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงรัฐสภาและสถานีวิทยุโทรทัศน์ เป็นตน้ ไป  รัฐสภา  ตามข้อบังคับการประชุม  ข้อ  ๑๑  วรรคสอง ๒. พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ  ประกาศแตง่ ต้งั ตงั้ แต่เรม่ิ ต้นจนเสรจ็ ส้นิ การประชุม (๑) นายชวน  หลีกภัย  เป็นประธานสภาผู้แทน ๒. เร่ือง  การถึงแก่อสัญกรรมของ  พลเอก  เปรม ราษฎร  ติณสูลานนท์  ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ  ในวันที่ (๒) นายสุชาติ  ตันเจริญ  เป็นรองประธานสภา ๒๖  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ผู้แทนราษฎร  คนทีห่ นึง่   เรอ่ื งทพ่ี ิจารณา (๓) นายศุภชัย  โพธ์ิสุ  เป็นรองประธานสภา ๑. พิจารณาระเบียบวาระที่  ๒  เลือกรองประธาน ผูแ้ ทนราษฎร  คนทีส่ อง  สภาผู้แทนราษฎร  ซึ่งเลื่อนมาจากการประชุมสภาผู้แทน ท้ังนี้  ตั้งแต่วันท่ี  ๒๘  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ ราษฎร  ชุดที่  ๒๕  ปีท่ี  ๑  ครั้งที่  ๑  (สมัยประชุม เป็นต้นไป  สามัญประจ�ำปีคร้ังท่ีหนึ่ง)  วันเสาร์ท่ี  ๒๕  พฤษภาคม ๓. พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ  ประกาศแต่งตง้ั ๒๕๖๒  (๑) นายพรเพชร  วิชิตชลชัย  เป็นประธาน ผลการพิจารณา วฒุ ิสภา  ที่ประชุมได้ลงมติเลือก  นายสุชาติ  ตันเจริญ  เป็น (๒) พลเอก  สิงห์ศึก  สิงห์ไพร  เป็นรองประธาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนท่ีหนึ่ง  และนายศุภชัย วฒุ ิสภา  คนทห่ี น่งึ   โพธ์ิสุ  เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนท่ีสอง  ตาม (๓) นายศุภชัย  สมเจริญ  เป็นรองประธาน ขอ้ บังคับฯ  ข้อ  ๖  วุฒิสภา  คนที่สอง  ท้ังนี้  ต้ังแต่วันท่ี  ๒๘  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ ครัง้ ท ่ี ๓  (สมัยสามญั ประจำ� ปีคร้ังที่หนงึ่ ) เปน็ ตน้ ไป วันพุธท่ี  ๕  มิถนุ ายน  ๒๕๖๒  ท่ปี ระชมุ รบั ทราบ นายสรศักดิ์  เพียรเวช  เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  ได้ให้ รับทราบเร่ืองท่ีประธานสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้ง รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรไปเชิญ  นายชวน  หลีกภัย ตอ่ ทป่ี ระชุม

เอกสารข่าวรฐั สภา 20 ๑. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ราชอาณาจักรไทย  คือ  นายอภิสิทธ์ิ  เวชชาชีวะ  สมาชิก แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง  (คร้ังท่ี  ๒)  ผู้ได้รับการเลือกตั้ง  คือ สภาผู้แทนราษฎร  แบบบัญชีรายช่ือ  พรรคประชาธิปัตย์ นางสาวศรีนวล  บุญลือ  ผู้สมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขอลาออกจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ตั้งแต่ เขตเลอื กตัง้ ที่  ๘  จงั หวัดเชียงใหม่  พรรคอนาคตใหม่  วันท่ี  ๕  มิถุนายน  ๒๕๖๒  ดังน้ัน  ปัจจุบันจึงมีสมาชิก ๒. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สภาผแู้ ทนราษฎร  จ�ำนวน  ๔๙๘  คน แบบบัญชรี ายช่ือ  (คร้ังที่  ๒)  ท่ปี ระชมุ รับทราบ (๑) รายชื่อพรรคการเมืองและผู้พ้นจาก เร่อื งท่พี ิจารณา ต�ำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  แบบบัญชีรายช่ือ  คือ ๑. กำ� หนดวนั และเวลาการประชมุ สภาผแู้ ทนราษฎร  นายพีระวิทย์  เรือ่ งลือดลภาค  พรรคไทรักธรรม (ในระเบียบวาระท่ ี ๗.๑) (๒) รายชือ่ พรรคการเมอื งและผไู้ ดร้ ับการเลือกตงั้ ผลการพจิ ารณา เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  แบบบัญชีรายช่ือ  ได้แก่ ที่ประชุมได้มีมติให้มีการประชุมสัปดาห์ละ  ๒  วัน นางสาววทันยา  วงษ์โอภาสี  พรรคพลังประชารัฐ  และ คือ  ทุกวันพุธ  เริ่มประชุมตั้งแต่เวลา  ๑๓.๐๐  นาฬิกา นางสาวจิตภสั ร ์ ตนั๊   กฤดากร  พรรคประชาธปิ ัตย์ ถึงเวลา  ๒๑.๐๐  นาฬิกา  และวันพฤหัสบดี  เริ่มประชุม ๓. รับทราบผลการพิจารณาญัตติ  เรื่อง  ขอให้ ตงั้ แต่เวลา  ๐๙.๓๐  นาฬิกา  ถึงเวลา  ๑๘.๐๐  นาฬกิ า  สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาและตรวจสอบคุณสมบัติ ๒. ก�ำหนดวันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจ�ำปี และลักษณะตอ้ งห้ามของผไู้ ด้รับการเสนอชื่อให้ด�ำรงตำ� แหนง่ ครั้งที่สอง  ตามมาตรา  ๑๒๑  ของรัฐธรรมนูญแห่ง นายกรัฐมนตรี  ซ่ึง  นายปิยบุตร  แสงกนกกุล  สมาชิก ราชอาณาจกั รไทย  (ในระเบียบวาระที ่ ๗.๒) สภาผู้แทนราษฎร  แบบบัญชีรายช่ือ  พรรคอนาคตใหม่ ผลการพจิ ารณา เป็นผู้เสนอ  ซ่ึงญัตติดังกล่าวไม่อาจพิจารณาในท่ีประชุม ท่ีประชุมได้มีมติก�ำหนดให้วันท่ี  ๑  พฤศจิกายน สภาผูแ้ ทนราษฎรได้  เป็นวนั เริม่ สมัยประชมุ สามญั ประจ�ำปคี รั้งทีส่ อง ที่ประชุมรับทราบ ๓. เลือกตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างข้อบังคับการประชุม สภาผู้แทนราษฎร  พ.ศ.  ....  (ในระเบยี บวาระท่ี  ๗.๓) ครง้ั ท ่ี ๔  (สมยั สามญั ประจำ� ปคี รง้ั ทห่ี นึ่ง) ผลการพจิ ารณา วันพฤหสั บดีท ี่ ๖  มถิ ุนายน  ๒๕๖๒  ทปี่ ระชมุ ได้มมี ตติ ง้ั คณะกรรมาธิการ  จำ� นวน  ๓๘   คน รับทราบเรอื่ งทปี่ ระธานสภาผแู้ ทนราษฎรจะแจง้ ทปี่ ระชมุ เพ่ือพิจารณายกร่าง  โดยก�ำหนดการพิจารณายกร่าง ๑. เร่ือง  สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้แล้วเสร็จภายใน  ๒๐  วัน สิ้นสุดลง  ตามมาตรา  ๑๐๑  (๓)  ของรัฐธรรมนูญแห่ง

21 การประชมุ สรุปผลการประชมุ ร่วมกันของรัฐสภา คร้งั ท ี่ ๑  (สมยั สามญั ประจ�ำปคี รั้งทีห่ น่ึง) ท้ังนี้  ต้ังแต่วันที่  ๒๘  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ วนั พุธที ่ ๕  มิถุนายน  ๒๕๖๒ เปน็ ต้นไป นายชวน  หลีกภัย  ประธานรัฐสภา  และนายพรเพชร ทป่ี ระชมุ รับทราบ วิชิตชลชัย  รองประธานรัฐสภา  ข้ึนบัลลังก์  ประธาน รับทราบเร่อื งที่ประธานรฐั สภาจะแจ้งตอ่ ที่ประชมุ รัฐสภา  กล่าวเปิดประชุม  จากนั้นได้ขออนุมัติที่ประชุม เรื่อง  การถ่ายทอดการประชุมเพ่ือพิจารณาให้ เพ่ือขอน�ำข้อบังคับการประชุมรัฐสภา  พ.ศ.  ๒๕๕๓ ความเห็นชอบบุคคลซ่ึงสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายก มาอนโุ ลมใช้บงั คบั   ซึ่งที่ประชุมเหน็ ชอบ รัฐมนตรีตามมาตรา  ๒๗๒  ของรัฐธรรมนูญแห่งราช ต่อมา  ประธานรัฐสภาได้ให้เลขาธิการรัฐสภาเชิญ อาณาจักรไทย  นอกจากจะมีการถ่ายทอดทางสถานีวิทยุ พระบรมราชโองการให้ทีป่ ระชุมรบั ทราบ  รวม  ๓  ฉบับ คือ กระจายเสียงรัฐสภาและสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาตาม ๑. พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ  ประกาศแต่งตั้ง ปกติแล้ว  ประธานรัฐสภาได้อนุญาตให้มีการเชื่อม พลเอก  สุรยุทธ์  จุลานนท์  องคมนตรี  เป็นผู้รักษาการ สัญญาณภาพการถ่ายทอดทางส�ำนักข่าวเอพี  (AP) ประธานองคมนตรี และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง  ๓  ต้ังแต่เริ่มต้น ท้ังนี้  ตั้งแต่วันท่ี  ๒๗  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ จนเสรจ็ ส้ินการประชมุ   ตามข้อบงั คบั ฯ  ขอ้   ๙  วรรคสอง   เปน็ ต้นไป ทปี่ ระชุมรบั ทราบ ๒. พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ  ประกาศแต่งตั้ง เร่อื งทีพ่ จิ ารณา (๑) นายชวน  หลีกภัย  เป็นประธานสภาผู้แทน พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับ ราษฎร แต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี  ตามมาตรา  ๒๗๒  ของ (๒) นายสุชาติ  ตันเจริญ  เป็นรองประธาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  (ระเบียบวาระที่  ๕) สภาผแู้ ทนราษฎร  คนทห่ี นงึ่ โดยได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  เสนอช่ือ  พลเอก (๓) นายศุภชัย  โพธ์ิสุ  เป็นรองประธาน ประยุทธ์  จันทร์โอชา  และนายธนาธร  จึงรุ่งเรืองกิจ สภาผูแ้ ทนราษฎร  คนทส่ี อง เป็นบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งต้ังเป็นนายกรัฐมนตรี ท้ังน้ี  ตั้งแต่วันที่  ๒๘  พฤษภาคม  ๒๕๖๒ ตามล�ำดับ  โดยมีผู้รับรองไม่น้อยกว่าหน่ึงในสิบของ เปน็ ตน้ ไป จ�ำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าท่ีมีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร ๓. พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ  ประกาศแตง่ ต้ัง เป็นไปตามมาตรา  ๑๕๙  วรรคสอง  ของรัฐธรรมนูญ (๑) นายพรเพชร  วิชิตชลชัย  เป็นประธาน แหง่ ราชอาณาจักรไทย วฒุ สิ ภา ผลการพิจารณา (๒) พลเอก  สิงห์ศึก  สิงห์ไพร  เป็นรอง ท่ีประชุมได้ลงมติออกเสียงลงคะแนนโดยเปิดเผย ประธานวฒุ ิสภา  คนทีห่ น่ึง ให้ความเห็นชอบ  พลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา (๓) นายศุภชัย  สมเจริญ  เป็นรองประธาน เป็นบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งต้ังเป็นนายกรัฐมนตรี วุฒสิ ภา  คนทีส่ อง ด ้ ว ย ค ะ แ น น เ สี ย ง   ๕ ๐ ๐   เ สี ย ง   แ ล ะ เ ห็ น ช อ บ ใ ห ้

เอกสารขา่ วรัฐสภา 22 นายธนาธร  จึงรุ่งเรืองกิจ  เป็นบุคคลซ่ึงสมควรได้รับการแต่งต้ัง (สมาชิกทั้งหมดเท่าท่ีมีอยู่จ�ำนวน  ๗๔๘  คน)  จึงถือว่า เป็นนายกรัฐมนตรีด้วยคะแนนเสียง  ๒๔๔  เสียง พลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา  ได้รับความเห็นชอบ งดออกเสียง  ๓  เสียง  ซึ่งคะแนนเสียงให้ความเห็นชอบให้ จากท่ีประชุมร่วมกันของรัฐสภาให้ด�ำรงตําแหน่งเป็น พลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา  เป็นบุคคลซ่ึงสมควรได้รับ นายกรัฐมนตรี  ตามมาตรา  ๒๗๒  วรรคหนึ่ง  ของ การแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหน่ึง รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ของจ�ำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา

23 รอบรัว้ สภา - ข่าวในประเทศ รอบรั้วสภา ขา่ วในประเทศ เลขาธกิ ารพรรคประชาธิปัตย์เลง็ แก้กฎหมายให้ทันสมัย วันท่ี  ๑๔  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นายจุติ  ไกรฤกษ์  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  (ส.ส.)  แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์  และเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์  ให้สัมภาษณ์ภายหลังเข้ารายงานตัวต่อส�ำนักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร  ว่า  ขอบคุณประชาชนท่ีไว้วางใจให้  ส.ส.  พรรคประชาธิปัตย์  เข้ามาท�ำงานเพ่ือประชาชนท่ามกลาง การเปลี่ยนแปลงท้ังเศรษฐกิจและสังคม  โดยรัฐสภาจะต้องออกกฎหมายให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว กฎหมายที่ตั้งใจเข้าไปแก้ไข  คือ  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค  โดยเฉพาะการเพิ่มเติมบทลงโทษและ การดูแลสิทธิของผู้บริโภค  การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ทางการเมืองของประชาชน  การแก้ไขกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ที่ต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถประกอบ ธุรกิจและมีรายได้เพ่ิมข้ึน  รวมทั้งการพิจารณากฎหมาย งบประมาณเพ่ือลดความเหลื่อมล�้ำ  และกฎหมาย การปราบปรามการทุจริตท่ีควรมีข้อบังคับท่ีเข้มข้นและ รุนแรงมากข้ึน  ท้ังน้ี  ประชาชนควรมีการติดตาม ตรวจสอบการท�ำงานของนกั การเมอื งด้วย นายกลา้ ณรงค ์ ยืนยัน  การเลือกนายกรัฐมนตรเี ป็นสทิ ธิ์ของ  ส.ว.  แต่ละคน วันท่ี  ๑๕  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นายกล้านรงค์  จันทิก  เปิดเผยภายหลังเข้าแสดงตนต่อส�ำนักงานเลขาธิการ วุฒิสภา  ณ  บริเวณห้องโถง  ช้ัน  ๑  อาคารสุขประพฤติ  ถนนประชาชื่น  เขตบางซื่อ  กรุงเทพฯ  ถึงกรณีที่มี การวิพากษ์วิจารณ์รายช่ือสมาชิกวุฒิสภา  (ส.ว.)  ว่า เปรียบเป็นสภาพ่ีน้อง  ส่วนตัวมองว่าการวิพากษ์วิจารณ์ ย่อมเกิดข้ึนได้  แต่เชื่อว่าบุคคลท่ีมาเป็น  ส.ว.  ชุดนี้ มีความหลากหลายในการที่จะเข้ามาท�ำงาน  ส่วนประเด็น ค ว า ม เ ป ็ น อิ ส ร ะ ใ น ก า ร ท� ำ ง า น แ ล ะ ก า ร โ ห ว ต เ ลื อ ก นายกรัฐมนตรีนั้น  นายกล้าณรงค์  ยืนยันว่า  ส.ว.  มีอิสระ ในการท�ำงานและการโหวตเลือกนายกรัฐมนตรีเป็นสิทธ์ิ ของแต่ละคน

เอกสารข่าวรฐั สภา 24 อดตี ประธาน  สนช.  ระบุ  พลเอก  ปรีชา  ไมไ่ ดล้ าประชุม  สนช.  มากถึง  ๙๐  เปอร์เซ็นตต์ ามทม่ี กี ระแสข่าว วันที่  ๑๕  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร  วิชิตชลชัย  อดีตประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ  (สนช.)  กล่าวถึงกระแสท่ีมีการวิพากษ์วิจารณ์การท�ำหน้าที่ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  ของพลเอก  ปรีชา จันทร์โอชา  อดีต  สนช.  และในคร้ังน้ีได้รับต�ำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา  (ส.ว.)  ว่า  ตั้งแต่ปี  ๒๕๕๗  ถึง  ๒๕๖๒  สนช. มีการประชุมท้ังหมด  จ�ำนวน  ๓๘๗  คร้ัง  พลเอก  ปรีชา  เข้าร่วมประชุม ท้ังหมด  ๓๔๑  คร้ัง  ลาประชุม  ๔๖  คร้ัง  ส่วนการลงมติมีจ�ำนวน  ๗,๐๘๕  คร้ัง พลเอก  ปรีชา  มาลงมติ  ๕,๐๙๑  คร้ัง  ขาดไปประมาณ  ๒,๐๐๐  คร้ัง โดยในจ�ำนวน  ๒,๐๐๐  ครั้งที่พลเอก  ปรีชา  ขาดประชุมน้ันอยู่ในช่วง  ๓  ปีแรก ท่ีเป็นข้าราชการประจ�ำสังกัดกองทัพบก  ซึ่งหลังจากท่ีพ้นจากต�ำแหน่ง ปลัดกระทรวงกลาโหมแล้ว  พลเอก  ปรีชา  ได้เข้ามาประชุมและลงมติเกือบทุกคร้ัง และยืนยันว่า  พลเอก  ปรีชา  ไม่ได้ลาประชุม  สนช.  มากถึง  ๙๐  เปอร์เซ็นต์ ตามที่มีกระแสข่าวออกมาแต่อย่างใด  พร้อมย้�ำว่าท่ีตนออกมาชี้แจงในกรณีนี้ เน่ืองจาก  เคยเป็นอดีตผู้บังคับบัญชา  ซ่ึงหากมีสมาชิก  สนช.  คนใดมีกระแส ขา่ วในกรณีน ้ี ตนต้องออกมาชีแ้ จงเช่นเดยี วกัน พลเอก  ปรชี า จนั ทร์โอชา เลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎรเผยใชห้ อประชมุ   ทีโอท ี เปน็ สถานที่เปิดประชมุ รัฐสภาครงั้ แรก วันที่  ๑๖  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นายสรศักด์ิ  เพียรเวช  เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  กล่าวถึงการรายงานตัว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  (ส.ส.)  ที่อาคารรัฐสภา  เกียกกาย  หาก  ส.ส.  และสมาชิกวุฒิสภา  (ส.ว.)  รายงานตัวครบแล้ว ข้ันตอนต่อไปจะเป็นรัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภา  ส่วนการเปิดประชุมรัฐสภาคร้ังแรกใช้หอประชุมใหญ่  ทีโอที  ส�ำนักงานใหญ่ ถนนแจ้งวัฒนะ  เป็นสถานท่ีรองรับการประชุมสภา  โดยในช่วงเช้าจะเป็นการประชุม  ส.ว.  และช่วงบ่ายเป็นการประชุม  ส.ส. เบื้องต้นได้เชิญ  นายชัย  ชิดชอบ  ส.ส.  บัญชีรายช่ือ  พรรคภูมิใจไทย  เป็นประธานสภาชั่วคราว  เพราะอาวุโสท่ีสุด จากนั้นจะเปิดประชุมด้วยการอ่านพระบรมราชโองการแต่งต้ัง  ส.ว.  ๒๕๐  คน  และการปฏิญาณตนของ  ส.ส. หลังจากน้ันจะเข้าสู่กระบวนการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎร  ซึ่งจะใช้วิธีลงคะแนนลับ  ก่อนจะเลือกรองประธาน สภาผแู้ ทนราษฎร  คนที่หนงึ่   และคนทส่ี องต่อไป

25 รอบรัว้ สภา - ข่าวในประเทศ การประชมุ วุฒิสภานดั แรกเลือกประธานและรองประธานวุฒสิ ภา วันที่  ๒๔  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  การประชุมวุฒิสภา  สมัยสามัญประจ�ำปี  คร้ังที่  ๑  ณ  หอประชุมใหญ่ อาคาร  ๙  ช้ัน  ๒  บริษัท  ทีโอที  จ�ำกัด  (มหาชน)  ศาสตราจารย์เกียรติคุณ  ร้อยเอก  ทินพันธุ์  นาคะตะ  สมาชิก วุฒิสภาผู้อาวุโสสูงสุด  ท�ำหน้าท่ีประธานช่ัวคราวในการประชุม  มีวาระส�ำคัญคือการเลือกประธานและรองประธาน วุฒิสภา  ซ่ึงตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  พ.ศ.  ๒๕๕๑  สมาชิกแต่ละคนมีสิทธิเสนอชื่อสมาชิกได้หนึ่งช่ือ  เพื่อเป็น ประธานและรองประธานวุฒิสภา  โดยการเสนอนั้นต้องมีจ�ำนวนสมาชิกรับรองไม่น้อยกว่า  ๑๐  คน  โดยผู้ได้รับ การเสนอชื่อต้องกล่าวแสดงวิสัยทัศน์ในการที่จะดํารงตําแหน่งต่อท่ีประชุมวุฒิสภาภายในเวลาที่ท่ีประชุมวุฒิสภากําหนด ถ้ามีการเสนอช่ือผู้ใดเพียงชื่อเดียว  ให้ถือว่าผู้นั้นได้รับเลือก  แต่หากมีการเสนอชื่อมากกว่า  ๑  คน  ให้ใช้วิธีลงคะแนนลับ ท้ังน้ี  สมาชิกในท่ีประชุมได้เสนอช่ือสมาชิกเพียงชื่อเดียว  ในการนั่งต�ำแหน่งประธานและรองประธาน  ตามล�ำดับ  คือ ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร  วิชิตชลชัย  ได้รับ เสนอช่ือให้เป็นประธานวุฒิสภา  พลเอก  สิงห์ศึก สิงห์ไพร  ได้รับการเสนอช่ือให้เป็นรองประธาน วุฒิสภา  คนที่หน่ึง  และนายศุภชัย  สมเจริญ ได้รับเสนอชื่อให้เป็นรองประธานวุฒิสภา  คนท่ีสอง ดังนั้น  มติที่ประชุมวุฒิสภา  จึงให้  ศาสตราจารย์พิเศษ พรเพชร  วิชิตชลชัย  เป็นประธานวุฒิสภา พลเอก  สิงห์ศึก  สิงห์ไพร  เป็นรองประธาน วุฒิสภา  คนท่ีหน่ึง  และนายศุภชัย  สมเจริญ เป็นรองประธานวุฒสิ ภา  คนที่สอง   ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร  วิชิตชลชัย  เชื่อมั่น  ส.ว.  ท�ำงานราบร่ืน  ไม่มีการล็อกโหวตประธาน  ส.ว.  และ รองประธาน  ส.ว.  ทั้ง  ๒  คน วันที่  ๒๔  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร  วิชิตชลชัย  กล่าวถึงการได้รับเลือกเป็น ประธานวุฒิสภา  ว่า  เป็นการเสนอชื่อของวุฒิสภาเพียงรายช่ือเดียว  เช่ือม่ันการท�ำงานของวุฒิสภาจะราบร่ืน  เพราะ ด�ำเนินการตามกฎหมาย  นอกจากน้ี  ยังกล่าวถึงกระแสข่าวการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา  (ส.ว.) ที่มาจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ  หรือ  คสช.  ว่า  เมื่อมีการวิพากษ์วิจารณ์ข้ึนมา ก็ท�ำให้  ส.ว.  ต้องปฏิบัติตัวให้ดีขึ้น  ส่วนกรณีท่ีมีการมองว่ามีการล็อกต�ำแหน่งการเลือก ประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภาท้ังสองคนเพราะเป็นไปตามรายชื่อที่ปรากฏเป็น ข่าวก่อนหน้าน้ีน้ัน  ยืนยันว่า  ไม่มีการล็อกโหวตแต่อย่างใด  อย่างไรตาม  ส�ำหรับกรณ ี ที่จะมีการพิจารณาวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของประธานวุฒิสภาและรองประธานท้ังสองคน หรือไมน่ น้ั   ยังไม่ม่นั ใจในเรือ่ งดงั กลา่ วขอเวลาไปศึกษาในรายละเอยี ดก่อน ศาสตราจารยพ์ ิเศษ  พรเพชร  วิชติ ชลชัย

เอกสารขา่ วรัฐสภา 26 ท่ีประชมุ สภาผ้แู ทนราษฎรมีมติเลือกประธานสภาและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร วนั ท่ ี ๒๕  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  มกี ารประชมุ สภาผู้แทนราษฎรเพอ่ื มีมตเิ ลอื กประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยมี นายชัย  ชิดชอบ  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  (ส.ส.)  อาวุโสสูงสุด  ท�ำหน้าท่ีประธานช่ัวคราวในที่ประชุม  โดยต�ำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร  นายณัฏฐพล  ทีปสุวรรณ  ส.ส.  แบบบัญชีรายช่ือ  และรองหัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ เสนอช่ือ  นายชวน  หลีกภัย  ส.ส.  แบบบัญชีรายช่ือ พรรคประชาธิปัตย์  ขณะที่นายซูการ์โน  มะทา  ส.ส. พรรคประชาชาติ  จังหวัดยะลา  เสนอชื่อ  นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์  ส.ส.  เขต  จังหวัดเชียงใหม่  พรรคเพ่ือไทย ผลการลงคะแนนปรากฏว่า  นายชวน  หลีกภัย  ได้  ๒๕๘ คะแนน  และนายสมพงษ์  อมรวิวัฒน์  ได้  ๒๓๕  คะแนน งดออกเสียง  ๑  คะแนน  ดังนั้น  ที่ประชุมสภาได้ลงมติ เลอื กนายชวน  หลีกภัย  เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายชวน  หลีกภยั นายสุชาติ  ตันเจรญิ นายศภุ ชยั   โพธสิ์ ุ ต่อมาวันที่  ๒๖  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  มีการประชุมสภาผู้แทนราษฎร  เพื่อลงมติเลือกรองประธานสภาผู้แทน ราษฎร  โดยมีนายชัย  ชิดชอบ  ประธานสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว  เป็นประธานการประชุม  ที่ประชุมได้พิจารณาเลือก รองประธานสภาผู้แทนราษฎร  โดยบุคคลผู้ได้รับการเสนอช่ือให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนที่หนึ่ง มีจ�ำนวน  ๒  คน  ประกอบด้วย  นายสุชาติ  ตันเจริญ  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  (ส.ส.)  จังหวัดฉะเชิงเทรา  พรรค พลังประชารัฐ  และนางสาวเยาวลักษณ์  วงษ์ประภารัตน์  ส.ส.  บัญชีรายชื่อ  พรรคอนาคตใหม่  ผลการลงคะแนน ปรากฏว่า  นายสุชาติ  ตันเจริญ  ได้รับความไว้วางใจให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนที่หนึ่ง ด้วยคะแนน  ๒๔๘  เสียง  ขณะท่ีนางสาวเยาวลักษณ์  วงษ์ประภารัตน์  ได้คะแนน  ๒๔๖  เสียง  จากผู้ใช้สิทธ์ท้ังหมด ๔๙๖  เสียง  จากนั้นที่ประชุมได้ด�ำเนินการเพ่ือเลือกรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนที่สอง  โดยพรรคพลังประชารัฐ ไดเ้ สนอชอื่   นายศภุ ชยั   โพธส์ิ ุ ส.ส.  นครพนม  จากพรรคภมู ใิ จไทย  ขณะท่พี รรคเพือ่ ชาติ  เสนอช่ือ  นายแพทยป์ ระสงค์ บูรณ์พงศ์  ส.ส.  บัญชีรายช่ือ  พรรคเสรีรวมไทย  ให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนที่สอง  ผลการลงคะแนน ปรากฏว่า  นายศุภชัย  โพธ์ิสุ  ได้รับเลือกเป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนท่ีสอง  ด้วยคะแนน  ๒๕๖  ต่อ  ๒๓๙ จากจำ� นวน  ส.ส.  ท่ีมาลงคะแนน  ๔๙๕  คน  

27 รอบรว้ั สภา - ขา่ วในประเทศ นายชวน  หลีกภยั   ขอบคณุ เสยี งสนับสนุนส�ำหรบั ตำ� แหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร วันที่  ๒๕  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นายชวน  หลีกภัย  กล่าวขอบคุณที่ได้รับการสนับสนุนและรับเลือกให้เป็น ประธานสภาผู้แทนราษฎร  โดยตั้งใจจะท�ำหน้าที่ประมุขฝ่ายนิติบัญญัติในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน  โดยเป็น ตัวกลางถ่ายทอดไปยังฝ่ายบริหาร  ไม่เพียงแค่การออกกฎหมาย  แต่ต้องท�ำ หน้าท่ีในการตรวจสอบด้วย  และกล่าวว่าก่อนหน้าน้ีไม่มีความคิดว่าจะกลับมาน่ัง ต�ำแหน่งประธานสภาอีก  แต่เมื่อมีความจ�ำเป็นก็ต้องมาท�ำหน้าที่  ซ่ึงตลอด การท�ำงานมานานกว่า  ๕๐  ปี  เห็นว่าปัจจุบันรัฐสภาถูกวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ลบ มากข้ึน  และก่อนหน้านี้ก็ได้แจ้งต่อ  พลเอก  ประยุทธ ์ จันทร์โอชา  นายกรัฐมนตรี กรณีวิพากษ์วิจารณ์นักการเมืองว่านักการเมืองไม่ดี  แต่ก็ไม่ใช่ทุกคน  ดังนั้น จึงต้องแยกคนไม่ดีออกจากสถาบันนี้ไป  โดยจะต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย  ต่อข้อถาม ว่ามีความจ�ำเป็นหรือไม่ว่าหากได้เป็นประธานสภาแล้ว  ต้องเป็นพรรคร่วมรัฐบาล นายชวน  ระบุว่า  ต้องถามหัวหน้าพรรค  แต่ยืนยันว่าส�ำหรับตนเองไม่มี การต่อรองต�ำแหน่งใด  ๆ  นอกจากน้ี  ยังต้องรอให้มีการโปรดเกล้าฯ  ต�ำแหน่ง ประธานสภาให้แล้วเสร็จก่อน  จึงจะสามารถตอบในส่วนรายละเอียดท่ีจะด�ำเนินการ นายชวน  หลีกภัย ตอ่ จากนี้ไปได้ เลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎรเรง่ สรา้ งหอ้ งประชมุ จนั ทรา  ทอี่ าคารรฐั สภา  เกยี กกาย  ใหแ้ ลว้ เสรจ็ กอ่ น  ๒๒  ม.ิ ย.  วันที่  ๒๙  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นายสรศักดิ์  เพียรเวช  เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  น�ำส่ือมวลชนเยี่ยมชม ความคืบหน้าการก่อสร้างห้องประชุมจันทรา  ณ  อาคารรัฐสภา  (เกียกกาย)  ที่ใช้ส�ำหรับการประชุมวุฒิสภา ว่าจะเร่งรัดให้การก่อสร้างห้องประชุมจันทราให้แล้วเสร็จทันตามแผนคือวันที่  ๒๒  มิถุนายนนี้  เพื่อใช้ส�ำหรับ การประชุมวุฒิสภา  และสภาผู้แทนราษฎร  ก่อนหมดสัญญาเช่า สถานที่หอประชุมทีโอที  แจ้งวัฒนะ  ซ่ึงเป็นการเช่าเดือนต่อเดือน ทั้งนี้  ยืนยันว่า  ระบบภายในห้องประชุมจันทรา  จะต้อง พร้อมส�ำหรับการประชุมด้วยเช่นกัน  ซ่ึงขณะนี้อยู่ระหว่าง การติดต้ังโต๊ะและเก้าอ้ีส�ำหรับสมาชิก  หากห้องประชุมแล้วเสร็จ จะมีการทดสอบระบบทุกอย่างว่าสามารถใช้งานได้จริง และเมื่อตรวจรับเรียบร้อยแล้ว  ก็จะสามารถใช้ประชุม สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาได้โดยไม่ต้องเช่าห้องประชุม ท่ีอาคารทีโอที  ส่วนห้องประชุมสุริยัน  ซ่ึงเป็นห้องประชุม ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนั้นคาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน เดอื นตุลาคมน้ี

เอกสารข่าวรฐั สภา 28 พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ  แต่งตั้งประธานสภาผแู้ ทนราษฎร  และรองประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร วันท่ี  ๓๑  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นายธีระพงษ์  วงศ์ศิวะวิลาส  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี  อัญเชิญพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ  แต่งตั้ง  นายชวน  หลีกภัย  เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร  นายสุชาติ  ตันเจริญ เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนท่ีหน่ึง  นายศุภชัย  โพธิ์สุ  เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร  คนที่สอง ณ  ห้องประชุมริมแม่น้�ำเจ้าพระยา  ช้ัน  ๔  อาคารรัฐสภา  เกียกกาย  หลังจากนั้น  นายชวน  หลีกภัย  ประธานสภา ผู้แทนราษฎร  ได้แถลงข่าวกับสื่อมวลชนภายหลังรับพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร  ว่า จะนัดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประชุมร่วมกันเวลา  ๐๙.๐๐  นาฬิกา  ในวันพุธที่  ๕  มิถุนายน  ซึ่งก่อนการประชุม จะให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีได้รับการรับรองจากคณะกรรมการการเลือกต้ังล่าสุดร่วมปฏิญาณตนเป็นสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร  จากนั้นในเวลา  ๑๑.๐๐  นาฬิกา  จะเป็นการประชุมรัฐสภาครั้งแรก  โดยจะประชุมร่วมกับสมาชิก วุฒิสภา  ๒๕๐  คน  โดยต้องอาศัยการร่วมมือท้ังสองสภาในวาระท่ีส�ำคัญคือการโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี  ซึ่งจะใช ้ หอประชุมใหญ่บริษัท  ทีโอที  แจ้งวัฒนะเป็นสถานท่ีจัดประชุม  ส่วนในวันพฤหัสบดีท่ี  ๖  มิถุนายน  ๒๕๖๒ จะเป็นการประชุมสภาผู้แทนราษฎร  เพื่อก�ำหนดวาระการประชุมถัดไป  และมีเรื่องด่วนท่ีส�ำคัญในการประชุม  คือวาระ ในการต้งั คณะกรรมาธกิ ารเพ่ือยกรา่ งวาระการประชุมสภาผู้แทนราษฎร นายชวน  หลกี ภัย

29 รอบร้ัวสภา - ขา่ วในประเทศ พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ  แตง่ ต้งั ประธานวฒุ สิ ภาและรองประธานวุฒิสภา  วันที่  ๓๑  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นายธีระพงษ์  วงศ์ศิวะวิลาส  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี  อัญเชิญ พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ  แต่งต้ังนายพรเพชร  วิชิตชลชัย  เป็นประธานวุฒิสภา  พลเอก  สิงห์ศึก  สิงห์ไพร เป็นรองประธานวุฒิสภา  คนท่ีหน่ึง  นายศุภชัย  สมเจริญ  เป็นรองประธานวุฒิสภา  คนท่ีสอง  ณ  ห้องโถง  ชั้น  ๑ อาคารสุขประพฤติ  หลังจากน้ัน  ประธานวุฒิสภาได้ให้สัมภาษณ์ถึงการปฏิบัติหน้าที่ว่า  ตนจะท�ำหน้าท่ีให้ดีที่สุด โดยภารกิจหลังจากนี้จะเป็นในเร่ืองของการนัดประชุมรัฐสภา  ที่ทางสภาผู้แทนราษฎรได้มีการก�ำหนดวันเลือก นายกรัฐมนตรีออกมาแล้ว  คือวันที่  ๕  มิถุนายนนี้  เร่ิมประชุมเวลา  ๑๑.๐๐  นาฬิกา  ที่หอประชุมใหญ่ทีโอที แจ้งวัฒนะ  นอกจากนี้ประธานวุฒิสภาได้กล่าวถึงการโหวตเลือกนายกรัฐมนตรีที่มีข้อสงสัยของหลายฝ่ายว่า  สมาชิก วุฒิสภา  (ส.ว.)  ๒๕๐  คน  จะโหวตให้กับพลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา  เป็นยกรัฐมนตรีน้ัน  คงไม่สามารถตอบแทน สมาชิกคนอื่นได้  เพราะถือเป็นเอกสิทธ์ิของสมาชิกแต่ละคนว่าใครจะเป็นบุคคลที่เหมาะสม  ส่วนเรื่องของการนัดประชุม วุฒิสภา  จะมีระเบียบวาระเรื่องของการต้ังกรรมาธิการวุฒิสภาเพ่ือร่างระเบียบวาระการประชุม  ซ่ึงจะช้ีแจงความชัดเจน อีกครั้ง นายพรเพชร  วิชติ ชลชยั

เอกสารข่าวรัฐสภา 30 ทปี่ ระชุมรัฐสภามีมต ิ ๕๐๐  เสยี งเหน็ ชอบให้  พลเอก  ประยุทธ์  จนั ทรโ์ อชา  เป็นนายกรัฐมนตรี วันท่ี  ๕  มิถุนายน  ๒๕๖๒  มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภา  โดยมีวาระส�ำคัญ  คือ  การเลือกนายก รัฐมนตรี  เพ่ือด�ำรงต�ำแหน่งในระหว่าง  ๕  ปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรก  ตามบทเฉพาะกาลมาตรา  ๒๗๒  ของ รัฐธรรมนูญ  พ.ศ.  ๒๕๖๐  ซ่ึงมีผู้ได้รับการเสนอช่ือ  ๒  คน  คือ  พลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา  และนายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ  หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่  โดยนายชวน  หลีกภัย  ประธานรัฐสภา  ได้ช้ีแจงขั้นตอนการโหวตให้ความเห็น ชอบผู้ท่ีจะด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี  ด้วยการลงคะแนนแบบเปิดเผย  โดยเลขาธิการรัฐสภาเป็นผู้ขานชื่อสมาชิก รัฐสภาทีละคนตามล�ำดับอักษร  แล้วให้สมาชิกขานช่ือผู้ที่ต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรี  ท้ังนี้  ผู้ท่ีจะได้รับความเห็นชอบ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี  จะต้องได้รับคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนสมาชิกท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา คือ  ตั้งแต่  ๓๗๕  เสียงขึ้นไป  จากท้ังหมด ๗๔๘  เสียง  ผลการลงคะแนนปรากฏว่า พลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา  ได้  ๕๐๐  เสียง นายธนาธร  จึงรุ่งเรืองกิจ  ได้  ๒๔๔  เสียง งดออกเสียง  ๓  เสียง  ดังนั้น  พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา  จึงเป็นผู้ได้รับคะแนน เสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิก ท้ังหมดเท่าท่ีมีอยู่ของท้ังสองสภา  ได้รับ เลือกใหเ้ ปน็ นายกรฐั มนตรี พลเอก  ประยทุ ธ ์ จันทร์โอชา ทั้งน้ี  สมาชิกรัฐสภาที่มีอยู่เหลือ  ๗๔๘  คน  จาก  ๗๕๐  คน  เน่ืองจากนายอภิสิทธ์ิ  เวชชาชีวะ  ประกาศ ลาออกจากการเป็น  ส.ส.  เมื่อช่วงเช้าของวันนี้  และนายธนาธร  จึงรุ่งเรืองกิจ  หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่  และ ส.ส.แบบบัญชรี ายช่อื   ทถี่ กู ศาลรัฐธรรมนญู มคี ำ� สง่ั ให้งดปฏิบัตหิ น้าที่ชัว่ คราวจากกรณีโอนหุ้น  บรษิ ทั   วีลัค  มีเดยี จ�ำกัด ส่วนผู้งดออกเสียงคือ  นายชวน  หลีกภัย  ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร  วิชิตชลชัย  และนายสิริพงศ์  อังคสกุลเกียรติ ส.ส.  จังหวัดศรีสะเกษ  พรรคภูมิใจไทย  ขณะท่ีผู้ท่ีไม่ได้ใช้สิทธิโหวต  คือ  นางจุมพิตา  จันทรขจร  ส.ส.  จังหวัดนครปฐม พรรคอนาคตใหม่  ทลี่ าปว่ ยจากปัญหาสุขภาพ

31 รอบรั้วสภา - ขา่ วในประเทศ วุฒิสภานดั ประชุมยกร่างขอ้ บังคับการประชุม วันท่ี  ๖  มิถุนายน  ๒๕๖๒  การประชุมวุฒิสภา  ณ  อาคารส�ำนักงานใหญ่ทีโอที  ถนนแจ้งวัฒนะ มีการประชุมวุฒิสภา  โดยมีศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร  วิชิตชลชัย  ประธานวุฒิสภา  เป็นประธานในการประชุม โดยก่อนเข้าสู่วาระการประชุมประธานวุฒิสภาได้กล่าวขอบคุณสมาชิกวุฒิสภา  (ส.ว.) ท้ัง  ๒๕๐  คน  ท�ำหน้าท่ีเมื่อวันท่ี  ๕  มิถุนายน  ที่ผ่านมาอย่างพร้อมเพรียง แม้การประชุมจะใช้ระยะเวลายาวนาน  พร้อมขอบคุณสมาชิกที่ได้น้อมน�ำ พระราชด�ำรัสของในหลวงรัชกาลท่ี  ๙  ในการส่งเสริมให้คนดีมาปกครองบ้านเมือง จากน้ันได้ให้สมาชิกยืนไว้อาลัย  พลเอก  เปรม  ติณสูลานนท์  ประธานองคมตร ี และรัฐบุรุษ  ที่ถึงแก่อสัญกรรม  เป็นเวลา  ๑  นาที  ท้ังน้ี  ท่ีประชุมได้พิจารณาถึง การยกร่างข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  โดยปรับปรุงข้อบังคับจากฉบับก่อน  ๆ  ให้ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่จะต้องพิจารณา  ซ่ึงท่ีประชุมได้เสนอให้ ประธานวุฒิสภาเป็นผู้พิจารณาตั้งคณะกรรมการข้ึนมา  ๑  ชุด  เพื่อยกร่าง ข้อบังคับการประชุม  รวมทั้งพิจารณาว่าควรจะมีคณะกรรมาธิการจ�ำนวนกี่คน  และ ศาสตราจารยพ์ ิเศษพรเพชร  ก�ำหนดบุคคลทีจ่ ะประจำ� แตล่ ะคณะวา่ ควรจะมจี ำ� นวนกคี่ น วิชติ ชลชยั มติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรก�ำหนดให้ประชุมทุกวันพุธและพฤหัสบดี  พร้อมต้ังคณะกรรมาธิการยกร่าง ขอ้ บังคบั ประชุมสภา  ๓๘  คน วันที่  ๖  มิถุนายน  ๒๕๖๒  นายชวน  หลีกภัย  ประธานสภาผู้แทนราษฎร  เป็นประธานการประชุมสภา ผู้แทนราษฎร  โดยมีวาระการประชุมส�ำคัญ  คือ  การก�ำหนดวันและเวลาการประชุมสภาผู้แทนราษฎร  ก�ำหนดวันเร่ิม สมัยประชุมสามัญประจ�ำปีคร้ังที่สอง  ตามมาตรา  ๑๒๑  ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  และเลือกตั้งคณะ กรรมาธิการยกร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร  พ.ศ.  ....  โดยมติท่ีประชุมก�ำหนดให้มีการประชุมสภาผู้แทน ราษฎร  สัปดาห์ละ  ๒  วัน  คือ  วันพุธ  เร่ิมในเวลา  ๑๓.๐๐  -  ๒๑.๐๐  นาฬิกา  และวันพฤหัสบดี  เร่ิมในเวลา ๐๙.๓๐  -  ๑๘.๐๐  นาฬิกา  โดย  ๓๐  นาทีแรกก�ำหนดให้เป็นเวลาสมาชิกหารือเก่ียวกับปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน  ก่อนเข้าสู่วาระประชุม  ขณะที่วันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจ�ำปีคร้ังท่ีสอง  มติที่ประชุมก�ำหนดให ้ เริ่มประชุมในวันท่ี  ๑  พฤศจิกายน  ๒๕๖๒ และส้ินสุดในวันที่  ๒๘  กุมภาพันธ์  ๒๕๖๓ ท้ังน้ี  สมัยประชุมสามัญจะมีระยะเวลา การประชุมจ�ำนวน  ๑๒๐  วัน  ส่วนการเลือกต้ัง คณะกรรมาธิการยกร่างข้อบังคับการประชุม สภาผู้แทนราษฎร  พ.ศ.  ....  มติท่ีประชุม กำ� หนดให้คณะกรรมาธิการมีจ�ำนวน  ๓๘  คน โดยมีกรอบเวลาให้คณะกรรมาธิการยกร่าง ขอ้ บังคบั การประชุมสภาผแู้ ทนราษฎร   พ.ศ.  .... ทำ� งานให้แลว้ เสร็จภายใน  ๒๐  วัน

เอกสารขา่ วรฐั สภา 32 รอบร้ัวสภา ข่าวต่างประเทศ รฐั แอละบามาของสหรฐั อเมริกาลงมตผิ า่ นร่างกฎหมายห้ามท�ำแท้ง วันที่  ๑๕  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ท่ีประชุมรัฐสภาท้องถิ่นของรัฐแอละบามา  สหรัฐอเมริกา  ซ่ึงประกอบด้วย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา  ลงมติด้วยคะแนนเสียง  ๗๔  ต่อ  ๓  เสียงและ  ๒๕  ต่อ  ๖  เสียง รับรองร่างกฎหมาย  ว่าด้วยการห้ามท�ำแท้งในรัฐแอละบามาโดยไม่มีข้อยกเว้น  รวมถึงกรณีท่ีสตรีต้องการจะท�ำแท้ง จากการถกู ขม่ ขืนด้วย กฎหมายฉบับน้ีได้ระบุว่า  การท�ำแท้งหลังจากสตรีเริ่มตั้งครรภ์ได้  ๖  สัปดาห์จะถือว่าเป็นความผิดอาญาท่ีมี โทษร้ายแรง  โดยเฉพาะแพทย์อาจถูกจ�ำคุก  ๑๐  ปี  ในข้อหา พยายามท�ำแท้ง  และมีโทษจ�ำคุกสูงสุดถึง  ๙๙  ปี  กรณี ท�ำแท้งส�ำเร็จ  นับเป็นรัฐท่ีมีกฎหมายท่ีเข้มงวดมากท่ีสุดใน สหรัฐอเมริกา  ส่วนกรณีสตรีท่ีท�ำแท้งแล้วไม่ต้องรับโทษ ทางอาญา  ต้องเป็นกรณีที่แพทย์ให้ความเห็นว่าจ�ำเป็นต้อง ท�ำแท้ง  เพ่ือรักษาชีวิตของสตรีท่ีเป็นมารดา  ส�ำหรับขั้นต่อไป ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎรของรฐั แอละบามา  จะเสนอรา่ งกฎหมายนี้ ให้นางเคย์  ไอวีย์  ผู้ว่าการรัฐแอละบามา  เพื่อลงนามบังคับใช้ เปน็ กฎหมายต่อไป  ไต้หวนั นำ� รอ่ งเอเชยี   ผ่านกฎหมายแต่งงานคนเพศเดียวกนั วันที่  ๑๗  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  รัฐสภาไต้หวันลงมติกฎหมายอนุญาตให้คนเพศเดียวกันจดทะเบียนสมรสได้ อย่างถูกต้องตามกฎหมายเป็นที่แรกของเอเชีย  แต่ฝ่ายค้านเห็นว่าขัดต่อประชามติที่การสมรสจะเป็นการแต่งงาน ระหว่างชายหญิงเท่าน้ัน  ซ่ึงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกนั้นมีเพียงออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เท่าน้ันที่มีกฎหมายรับรอง การสมรสของคนเพศเดียวกนั   ท้ังน้ี  การลงมติผ่านกฎหมายของสภาผู้แทนราษฎร  จึงถือว่า ไต้หวันเป็นดินแดนแห่งแรกในทวีปเอเชียที่น�ำร่องกฎหมายลักษณะน้ี โดยในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้มีการอภิปรายกฎหมายหลายฉบับท่ี เก่ียวข้องกับการสมรสของคนเพศเดียวกัน  แต่ฉบับท่ีเสนอโดยรัฐบาลของ นายไช่  อิงเหวิน  ประธานาธิบดี  สมาชิกพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า  (ดีพีพี) ได้ลงคะแนนสนับสนุนด้วยมติ  ๖๖  ต่อ  ๒๗  เสียง  นอกจากนี้  กฎหมาย ฉบบั ดังกล่าว  ยงั อนญุ าตให้คูร่ กั เพศเดียวกันสามารถรบั บตุ รบญุ ธรรมได ้

33 รอบรัว้ สภา - ข่าวต่างประเทศ เยอรมนียงั คงหวงั องั กฤษบรรลขุ อ้ ตกลง  Brexit  วันท่ี  ๑๗  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  รัฐบาลเยอรมนีแถลงว่า  เยอรมนียังคงหวังว่าอังกฤษจะสามารถบรรลุ ข้อตกลงเก่ียวกับการแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป  (Brexit)  หลังจากที่การเจรจาระหว่างพรรครัฐบาลและพรรคฝ่ายค้าน ประสบความล้มเหลว  ทั้งน้ี  โฆษกของนางอังเกลา  แมร์เคิล  นายกรัฐมนตรีเยอรมนี  กล่าวว่า  รัฐบาลเยอรมนียังคงมี ความสนใจต่อการแยกตัวของอังกฤษออกจากสหภาพยุโรป  (EU)  รวมท้ัง  การผลักดันข้อตกลง  Brexit  ผ่านรัฐสภา ซ่ึงแต่เดิมอังกฤษมีก�ำหนดแยกตัวออกจาก  EU  เมื่อวันที่  ๒๙  มีนาคม  ๒๕๖๒  แต่  EU  ได้อนุมัติให้มีการขยาย ก�ำหนดการดงั กล่าวออกไปเปน็ วนั ท่ ี ๓๑  ตลุ าคม  ๒๕๖๒ การเจรจาระหว่างพรรคอนุรักษ์นิยมของนางเทเรซา  เมย์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษ  และนายเจเรมี  คอร์บิน  พรรคแรงงาน ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้านของอังกฤษ  ประสบความล้มเหลวในวันน ้ี โดยทั้งสองฝ่ายยังคงมีความขัดแย้งเก่ียวกับข้อตกลง  Brexit  ทั้งน้ี การเจรจาเป็นเวลา  ๖  สัปดาห์ระหว่างแกนน�ำของพรรคอนุรักษ์นิยม และพรรคแรงงานได้เสร็จสิ้นลงโดยไม่มีการบรรลุข้อตกลงใด  ๆ นายคอร์บินระบุเสริมว่าการที่นางเทเรซา  เมย์มีแนวโน้มที่จะ ลาออกจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี  เป็นปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อ การเจรจา  นางเทเรซา  เมย์ รฐั สภาญป่ี ุ่นลงมตผิ า่ นรา่ งกฎหมายห้ามใชโ้ ดรนบนิ ใกล้พืน้ ที่ต้องห้าม วันที่  ๑๗  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  รัฐสภาญี่ปุ่น  ลงมติผ่านร่างกฎหมายห้ามใช้อากาศยานไร้คนขับ  หรือโดรน บินใกล้กับฐานทัพของสหรัฐอเมริกา  หรือกองก�ำลังป้องกันตนเองของญ่ีปุ่น  เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ก่อการร้ายใช้โดรนเพ่ือ โจมตีฐานทัพ  รวมทั้ง  สถานท่ีอ่ืน  ๆ  เช่น  ท�ำเนียบรัฐบาล  โรงไฟฟ้านิวเคลียร์  สนามบิน  และสนามแข่งขันกีฬา รักบ้ีชิงแชมป์โลก  สนามแข่งขันกีฬาโอลิมปิก  และพาราลิมปิกในกรุงโตเกียว  ประจ�ำปี  ค.ศ.  ๒๐๒๐  ถูกก�ำหนดเป็น พ้ืนห้ามบินด้วยโดรนเช่นกัน  กฎหมายน้ีได้ระบุว่าต�ำรวจสามารถจะยึดโดรนได้ทันทีท่ีเห็นว่ามีโดรนบินใกล้กับพื้นท ี่ ต้องหา้ มดงั กล่าว 

เอกสารขา่ วรัฐสภา 34 นายกรฐั มนตรีออสเตรเลียชนะการเลือกต้ังเป็นผู้นำ� อกี สมยั วันท่ี  ๑๙  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  พรรคแอลเอ็นพีของนายมอร์ริสันคว้าชัยชนะเหนือพรรคเอแอลพีของนายบิล ชอรท์ เทน  ค่แู ขง่ หลัก  โดยผลการนบั คะแนนการเลอื กตัง้ ทั่วไปของออสเตรเลียเมอื่ วนั ที่  ๑๘  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  รัฐบาลผสม สายอนุรกั ษ์นิยม  นำ� โดยพรรคเสรีนยิ มของนายสกอตต ์ มอรร์ ิสัน  นายกรฐั มนตร ี ควา้ ชยั ชนะเหนือนายบิล ชอร์ตเทน หัวหน้าพรรคแรงงานท่ีเป็นฝ่ายค้าน  แต่ยังไม่ชัดเจนว่า รัฐบาลผสมแนวอนุรักษ์นิยมจะได้ท่ีนั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีทั้งหมด  ๑๕๑  ที่น่ัง  ในรัฐสภากรุงแคนเบอร์รามากพอท่ี จะครองเสียงข้างมากเด็ดขาดหรือไม่  หรือต้องเจรจาต่อรอง ขอเสียงสนับสนุนจากพรรคขนาดเล็ก  ด้านนายบิล ชอร์ตเทน  ประกาศยอมรับความพ่ายแพ้ต่อหน้ากลุ่ม ผู้สนับสนุนว่า  พรรคแรงงานไม่สามารถต้ังรัฐบาลชุดต่อไปได้ จากน้ัน  ได้โทรศัพท์ไปแสดงความยินดีกับนายมอร์ริสัน และจะแสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกจากการเป็น หวั หนา้ พรรคแรงงาน  นายสกอตต์  มอร์ริสัน การเลอื กตง้ั สาธารณรัฐอินโดนีเซยี วันท่ี  ๒๓  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ภายหลังการเลือกตั้งเม่ือวันท่ี  ๑๗  เมษายน  ๒๕๖๒  คณะกรรมการ การเลือกต้ังสาธารณรัฐอินโดนีเซียได้ประกาศผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีอย่างเป็นทางการ  ผลปรากฏว่านายโจโก วิโดโด  ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย  และนายมารุต  อามินผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นรองประธานาธิบดี  ได้รับคะแนนเสียงท้ังสิ้น ๘๕,๖๐๗,๗๖๒  คะแนน  ในขณะที่ฝ่ายคู่แข่ง  ได้แก่  นายปราโบโว  สีเบียนโต  และนายซานดิเอกา  อูโน  ได้รับ คะแนนเสียงทั้งสิ้น  ๖๘,๖๕๐,๒๓๙  คะแนน  ท้ังนี้  นับจากวันประกาศผลการเลือกต้ัง  เป็นเวลา  ๓  วัน  หากไม่มี การยื่นคัดค้านต่อศาลรัฐธรรมนูญ  คณะกรรมการการเลือกต้ังจึงจะได้ประกาศว่าฝ่ายท่ีได้คะแนนเสียงเลือกตั้งจ�ำนวน มากท่ีสุดได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งครั้งน้ีนายโจโก  วิโดโด  ประธานาธิบดีได้แถลงข่าว  ขอบคุณชาวอินโดนีเซียท ่ี มอบความไว้วางใจให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้น�ำของประเทศอีกครั้ง  โดยตนและรองประธานาธิบดีจะได้พัฒนาประเทศด้วย ความยุติธรรมส�ำหรับชนทุกกลุ่ม  ทุกระดับ  และกล่าวสัญญาว่าในระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง  ๕  ปีจะได้ปรับปรุง ระบบยุติธรรมของประเทศให้ดยี งิ่ ข้ึน  นายโจโก  วิโดโด

35 รอบรว้ั สภา - ข่าวต่างประเทศ นายกรัฐมนตรอี ังกฤษ  ประกาศลาออกจากต�ำแหนง่ วันที่  ๒๕  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นางเทเรซา  เมย์  นายกรัฐมนตรีอังกฤษ  ประกาศลาออกจากต�ำแหน่ง ภายในวันท่ี  ๗  มิถุนายน  ๒๕๖๒  เหตุเพราะไม่สามารถโน้มน้าวให้สภาผู้แทนราษฎร  สนับสนุนข้อตกลงการถอนตัว จากสหภาพยุโรป  (อียู)  หรือ  “เบร็กซิต”  ที่ได้บรรลุข้อตกลงไว้กับอียูได้  ขณะที่ผู้น�ำประเทศอื่นๆ  อย่างเยอรมนี ฝรั่งเศส  แสดงความเสยี ใจและเห็นใจกับการตัดสินใจในคร้ังน ้ี ยนื ยันจะร่วมงานกบั รัฐบาลชดุ ใหม่ขององั กฤษต่อไป  นางเทเรซา  เมย์  แถลงว่า  ได้ท�ำดีที่สุดแล้ว และเพื่อเคารพผลการลงประชามติใน  พ.ศ.  ๒๕๕๙  ท่ีชาว อังกฤษส่วนใหญ่มีมติให้อังกฤษถอนตัวจากอียูด้วยคะแนนเสียง ๕๒  ตอ่   ๔๘  และเสียใจที่ไมส่ ามารถผลกั ดันข้อตกลงเบรก็ ซติ ให้ผ่านสภาผู้แทนราษฎรได้  บัดน้ีถึงเวลาท่ีจะให้นายก รัฐมนตรีคนต่อไปรับภารกิจน้ีแทน  เพื่อผลประโยชน์ท่ีดีท่ีสุด ของประเทศ  และยังกล่าวว่า  เพื่อให้การถอนตัวจากอียู ส�ำเร็จตามผลการลงประชามติ  นายกรัฐมนตรีคนต่อไปต้อง สร้างฉันทามตใิ นสภาผแู้ ทนราษฎรให้ได ้ นางเทเรซา  เมย์ ชาวไอรแ์ ลนด์ลงประชามตเิ หน็ ชอบใหม้ กี ารแกไ้ ขกฎหมายวา่ ด้วยการหยา่ วันที่  ๒๖  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  รายงานผลการลงประชามติเร่ืองการแก้ไขเนื้อหาของรัฐธรรมนูญว่าด้วย การหย่าร้างของไอร์แลนด์  พบว่าประชาชนส่วนใหญ่คือร้อยละ  ๘๒  เห็นชอบให้มีการแก้ไขเน้ือหาของรัฐธรรมนูญ เรื่องดังกล่าวน้ีใหม่  ขณะที่ร้อยละ  ๑๘  ได้คัดค้าน  โดย รัฐธรรมนูญปัจจุบันของไอร์แลนด์  ระบุว่า  สามีภริยาจะ ต้องแยกกันอยู่  ๔  -  ๕  ปี  จึงจะมีสิทธิ์ยื่นค�ำร้องต่อศาล เพ่ือขอหย่าจากการเป็นสามีภริยา  แต่มาตรานี้จะต้องได้รับ การแก้ไขเพื่อเปิดโอกาสให้รัฐสภาเป็นผู้ก�ำหนดเรื่องระยะ เวลาแยกกันอยู่ก่อนฟ้องหย่า  ซ่ึงก่อนหน้าน้ี  รัฐบาล ไอร์แลนด์ระบุว่าระยะเวลาที่เหมาะสมส�ำหรับกรณีคู่สามี ภริยาท่ีแยกกันอยู่ก่อนฟ้องหย่าคือ  ๒  ปี  ส�ำหรับการแก้ไข รัฐธรรมนูญของไอร์แลนด์จะด�ำเนินการได้ก็ต่อเมื่อผ่านการ ลงประชามติ  และเสียงสว่ นใหญ่เหน็ ชอบ 

เอกสารขา่ วรฐั สภา 36 ผลการเลือกตง้ั ประธานาธบิ ดสี าธารณรฐั ลทิ ัวเนยี วันท่ี  ๒๖  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีสาธารณรัฐลิทัวเนีย  ปรากฏว่า  นาย  Gitanas Nauseda  นักเศรษฐศาสตร์  นายธนาคาร  และนักการเมืองหน้าใหม่ได้รับชัยชนะเหนือนาง  Ingrida  Simonyte  อดีต รฐั มนตรีกระทรวงการคลัง  วัย  ๔๔  ปี  ด้วยคะแนนเสียงรอ้ ยละ  ๗๔  ตอ่   ๒๖  นาย  Nauseda  ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมานน์เฮม  (University  of  Mannheim)  ประเทศเยอรมน ี ภายหลังจากท่ีลิทัวเนียได้รับอิสรภาพจากสหภาพโซเวียตในปี  ๒๕๓๓  ซึ่งประสบการณ์และทัศนคติแบบตะวันตกได้ หล่อหลอมและส่งผลต่อแนวความคิดของนาย  Nauseda  โดยได้กล่าวในช่วงการหาเสียงเลือกตั้งว่า  “วิถีชีวิตแบบ ตะวันตกและเศรษฐกิจแบบตลาด  (ระบบตลาดที่ไม่มีการแทรกแซงจากภาครฐั )  เปน็ แนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง” นาย  Nauseda  ซ่ึงมีบทบาทส�ำคัญในฐานะหัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของธนาคารช้ันน�ำ  ได้ให้ค�ำมั่นว่าจะ ด�ำเนินการตามนโยบายของนาง  Dalia  Grybauskaite  อดีตประธานาธิบดีลิทัวเนีย  ซ่ึงหมดวาระลงจากการท�ำหน้าท ี่ ประธานาธิบดีสองสมัย  โดยนาง  Grybauskaite  เป็นที่รู้จักในนาม  “หญิงเหล็ก”  แห่งกลุ่มประเทศบอลติก  (ลิทัวเนีย ลัตเวยี   และเสโตเนีย) ท้ังน้ี  หน้าที่หลักของประธานาธิบดี  คือการดูแลนโยบาย ด้านต่างประเทศและความม่ันคงของลิทัวเนีย  รวมท้ัง  ท�ำหน้าท ่ี ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพ  นอกจากนี้  ยังสามารถแต่งตั้ง ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญ  อาทิ  นายกรัฐมนตรี  ผู้พิพากษา  และผู้ว่าการ ธนาคารกลาง  อย่างไรก็ตาม  ความท้าท้ายของนาย  Nauseda  คือ การแก้ไขวิกฤติของรัฐบาลลิทัวเนีย  โดยนาย  Saulius  Skvernalis นายกรัฐมนตรีลิทัวเนีย  ให้สัญญาว่าจะลาออกในวันที่ประธานนาธิบดี คนใหม่ สาบานตนเข้ารบั ตำ� แหน่ง นายกรฐั มนตรีออสเตรยี   พ่ายมติไมไ่ ว้วางใจ วันที่  ๒๘  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  นายเซบาสเตียน  คูร์ซ  นายกรัฐมนตรีออสเตรีย  พ่ายมติการอภิปรายไม่ไว้ วางใจในสภาผู้แทนราษฎร  เมื่ออดีตพรรคร่วมรัฐบาลร่วมโหวตกับพรรคฝ่ายค้าน  โดยได้ลงมติไม่ไว้วางใจเม่ือวันที่  ๒๗ พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ส่งผลให้นายคูร์ซเป็นนายกรัฐมนตรีออสเตรียคนแรกท่ีโดนสภาถอดถอนจากต�ำแหน่ง  ท้ังที่เพ่ิงเข้า รับหน้าที่เม่ือปลายปี  ๒๕๖๐  ภายหลังชนะการเลือกตั้ง และเป็นนายกรัฐมนตรีท่อี ายุนอ้ ยท่สี ดุ ในโลก การย่ืนญัตติอภิปรายเพ่ือลงมติไม่ไว้วางใจนายคูร์ซ และคณะรัฐมนตรี  สืบเนื่องจากเรื่องอื้อฉาวท่ีส่งผลให้ นายไฮนซ์-คริสเตียน  สตราเคอ  อดีตรองนายกรัฐมนตรี ซ่ึงเป็นประธานพรรคอิสรภาพ  ต้องลาออกจากต�ำแหน่ง หลังจากสื่อเยอรมนีเผยแพร่วิดีโอที่แอบถ่ายนายสตราเคอ ขณะเสนอให้สัญญาโครงการรัฐกับคนที่อ้างตนเป็นหลานสาว ของมหาเศรษฐีทรงอิทธิพลชาวรัสเซีย  เพื่อแลกกับทุน สนบั สนุนทางการเมอื ง  นายเซบาสเตียน  คูรซ์

37 รอบรว้ั สภา - ข่าวตา่ งประเทศ สภาอิสราเอลยุบสภา วันท่ี  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  สภาผู้แทนราษฎรอิสราเอล  ทมี่ าจากการเลือกต้ังทั่วไปเมื่อ  ๙  เมษายน   ๒๕๖๒ ลงมติด้วยคะแนน  ๗๕  ต่อ  ๔๕  เสียง  เห็นชอบให้ยุบสภา  และให้จัดการเลือกตั้งใหม่ในวันท่ี  ๑๗  กันยายน  ๒๕๖๒ นับเป็นครั้งแรกในประวัตศิ าสตรอ์ ิสราเอล  หลังจากที่นายเบนจามิน  เนทนั ยาฮ ู นายกรัฐมนตร ี ไม่สามารถจัดตัง้ รฐั บาลผสมได้ ท้ังน้ ี จะมีการจดั เลือกต้งั ใหม่  เรว็ ๆ  นี้  ซง่ึ นายเบนจามิน  เนทันยาฮ ู มน่ั ใจวา่ จะชนะเลอื กต้ังในครงั้ นีอ้ ีก  นายเบนจามิน  เนทนั ยาฮู สหรัฐอเมริกาจะเพมิ่ ภาษีสนิ คา้ นำ� เขา้ ทุกรายการจากเม็กซิโก วันที่  ๓๑  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  ส�ำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงวอชิงตันประเทศสหรัฐอเมริกาว่า  นายโดนัลด์  ทรัมป์  ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา  กล่าวว่า  สหรัฐอเมริกาจะเพิ่มภาษีสินค้าน�ำเข้าทุกรายการจาก เม็กซิโกทุกประเภทในอัตราอีก  ๕  เปอร์เซ็นต์  เริ่มต้ังแต่วันที่  ๑๐  มิถุนายน  ๒๕๖๒  ขณะเดียวกันผู้น�ำสหรัฐอเมริกา ยังกล่าวถึงการทยอยเพิ่มก�ำแพงภาษีต่อสินค้าของเม็กซิโกอีก  จนกว่าจะสามารถจัดการกับกลุ่มผู้อพยพท่ีเดินทางผ่าน ประเทศเมก็ ซิโกไดม้ ีประสิทธิภาพกว่านี้  แมน้ ายโดนลั ด์ ทรัมป์ ยังไม่ได้กล่าวว่าเม็กซิโกจะต้องเผชิญกับก�ำแพงภาษีแบบ ข้ันบันไดอีกเท่าไร  แต่แถลงการณ์ของท�ำเนียบขาวระบุว่า หากสถานการณย์ งั ไมด่ ขี ึ้นก�ำแพงภาษขี องสหรฐั ตอ่ สนิ ค้าของ เมก็ ซโิ กจะเพมิ่ เปน็   ๑๐  เปอรเ์ ซ็นต ์ ในวันท่ ี ๑  กรกฎาคม ๒๕๖๒  จากนั้น  ค่อยเพิ่มคร้ังละ  ๕  เปอร์เซ็นต์  เร่ือยไป จนถงึ อัตราสูงสุดคอื   ๒๕  เปอรเ์ ซน็ ต ์ นายโดนลั ด์ ทรมั ป์

เอกสารขา่ วรัฐสภา 38 ศาลยุติธรรมของฮ่องกงจะเริม่ ก้าวไปสสู่ ังคมไร้กระดาษ ศาลยุติธรรมของฮ่องกงจะเร่ิมก้าวไปสู่สังคมไร้กระดาษโดยเริ่มที่ศาลเขตและศาลแขวงในช่วงต้นปี  ๒๕๖๒  โดยเป็นการช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันของศาลในฮ่องกงกับศาลคู่แข่งในภูมิภาค  คือ ศาลประเทศสิงคโปร์  เป็นศาลไร้กระดาษมาต้งั แตป่  ี ๒๕๔๓  ปัจจบุ นั ศาลในฮอ่ งกงกับศาลประเทศสงิ คโปร ์ กำ� หนดใหค้ ู่ ความและทนายความย่ืนค�ำร้อง  และเอกสารประกอบการพิจารณาคดีในรูปแบบของเอกสาร  ในทางปฏิบัตินักกฎหมาย จะคุ้นเคยกับการแลกเปล่ียนเอกสารในการด�ำเนินคดีบางอย่างกับฝ่ายตรงข้าม  โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้พิพากษาบางคนก็ยัง ขอส�ำเนาแปลงข้อมูลทางกฎหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์เพอ่ื ให้ง่ายตอ่ การอ้างอิง คณะกรรมการสภานิติบัญญัติเกี่ยวกับการบริหารงานยุติธรรมและการบริการทางกฎหมายของฝ่ายตุลาการ กล่าวว่า  มีแผนที่จะจัดเตรียมทางเลือกในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์  ส�ำหรับการยื่นเอกสารทางศาล  ซ่ึงจะเร่ิมต้นด้วย คดีอาญาและคดีในศาลแขวง  รวมถึงคดีที่ค่อนข้างง่ายท่ีเก่ียวข้องกับหมายเรียกในศาลแขวงภายใต้ข้อเสนอดังกล่าว คู่ความและทนายความจะต้องลงทะเบียนในระบบการจัดการคด ี ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์  โดยกฎหมายท้องถิ่นจะได้รับการแก้ไขเพ่ือ ก�ำหนดข้ันตอนในการด�ำเนินการของศาลอิเล็กทรอนิกส์  ซ่ึงหัวหน้า ผู้พพิ ากษาสามารถกำ� หนดแนวทางในการบรหิ ารขึ้นใหม่ในอนาคต ศาลจะรับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์จนถึงเวลา  ๑๗.๓๐  นาฬิกา ของทุกวัน  เอกสารท่ีส่งล่าช้าจะด�ำเนินการในวันท�ำการถัดไป ผู้พิพากษากล่าวว่า  จะต้องสร้างลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับผู้ใช้ (user)  ท่ีลงทะเบียนเข้ามา  ในขณะท่ีศาลจะเริ่มออกตราประทับ ดจิ ทิ ัลเพื่อรับรองความถูกต้องของเอกสารต่อไป  ศรีลงั การะงับการออกหนงั สือตรวจลงตรา  ณ  ช่องทางอนุญาตของดา่ นตรวจคนเขา้ เมือง ศรีลังการะงับการออกหนังสือตรวจลงตรา  ณ  ช่องทางอนุญาตของด่านตรวจคนเข้าเมือง (visa  on  arrival)  ให้แก่คนไทยและประเทศอื่น  ๆ  จ�ำนวน  ๓๘  ประเทศ  หลังจากที่เกิดระเบิดขึ้นในช่วงเทศกาล อีสเตอร์ในกรุงโคลอมโบ  ซ่ึงท�ำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า  ๓๐๐  คน  แผนการอนุญาตให้ท�ำวีซ่า  ๕  จุดผ่านแดนซ่ึงครอบคลุม ประเทศต่าง  ๆ  จ�ำนวน  ๓๙  ประเทศ  รวมทั้งประเทศไทย จะเปิดทดลองใช้เป็นเวลา  ๖  เดือนจนถึงวันท่ี  ๓๑  ตุลาคม ๒๕๖๒  เพ่ือจะส่งเสริมการท่องเท่ียวในช่วงนอกฤดูท่องเที่ยว  ปีที่ แล้วมีนักท่องเที่ยวชาวไทยไปท่องเท่ียวในประเทศแถบเอเชียใต้ถึง ๙,๐๐๐  คน  ตามรายงนของหน่วยงานเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว แห่งศรีลังกาเมืองแคนดี  เป็นเมืองหลวงเก่าของศรีลังกา  ซ่ึงเป็นจุด หมายปลายทางยอดนิยมของนักท่องเท่ียวไทยท่ีจะเดินทางไปแสดง ความเคารพตอ่ พระบรมสารรี กิ ธาต ุ พระเขี้ยวแก้ว  แหง่ ศรลี ังกา 

39 กฎหมายควรรู้ กฎหมายควรรู้ พระราชบัญญัติการจดั ตง้ั สภาองค์กรของผูบ้ ริโภค  พ.ศ.  ๒๕๖๒  รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย  พทุ ธศักราช  ๒๕๖๐  มาตรา  ๔๖  บัญญัติว่า  “สิทธิของผบู้ ริโภคยอ่ ม ได้รับความคุ้มครอง  บุคคลย่อมมีสิทธิรวมกันจัดต้ังองค์กรของผู้บริโภคเพ่ือคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค  องค์กร ของผู้บริโภคตามวรรคสองมีสิทธิรวมกันจัดต้ังเป็นองค์กรที่มีความเป็นอิสระเพื่อให้เกิดพลังในการคุ้มครองและ พิทักษ์สิทธิของผู้บริโภคโดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐ  ทั้งนี้  หลักเกณฑ์และวิธีการจัดต้ัง  อ�ำนาจในการเป็นตัวแทน ของผู้บริโภค  และการสนับสนุนด้านการเงินจากรัฐ  ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ”  จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ คณะรัฐมนตรีจึงมอบหมายให้ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค  (สคบ.)  เป็นเจ้าภาพในการจัดท�ำร่างกฎหมาย ตามมาตรา  ๔๖  และได้มีการยกร่างกฎหมายข้ึนมา  พร้อมเปิดรับฟังความคิดเห็นจากท่ัวประเทศ  ระหว่างเดือน พฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม  ๒๕๖๐  โดยใช้ช่ือว่า  “ร่างพระราชบัญญัติสภาองค์กรผู้บริโภคแห่งชาติ  พ.ศ.  ....” ต่อมา  เมื่อเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา  คณะพิเศษ  ที่มีนายมีชัย  ฤชุพันธุ์  เป็นประธาน ได้ปรับเปล่ียนช่ือเป็น  “ร่างพระราชบัญญัติการจัดต้ังสภาองค์กรของผู้บริโภค  พ.ศ.  ....”  โดยร่างพระราชบัญญัติน ้ี ได้ผ่านการพิจารณาท่ีประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  และลงมติเห็นสมควรประกาศใช้เป็นกฎหมาย  เมื่อวันท่ี  ๑๕ กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๖๒  มีเนอ้ื หาโดยสรุปดังน้ี

เอกสารข่าวรัฐสภา 40 ลักษณะองค์กรของผู้บริโภคที่จะรวมตัวกันด�ำเนินการเพ่ือจัดต้ังสภาองค์กรของผู้บริโภคหรือ ทีจ่ ะเข้าเป็นสมาชกิ ของสภาองคก์ รของผบู้ รโิ ภค องค์กรของผู้บริโภคท่ีจะรวมตัวกันด�ำเนินการเพ่ือจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภคหรือที่จะเข้าเป็นสมาชิกของ สภาองค์กรของผู้บริโภคต้องไม่เป็นองค์กรของผู้บริโภคท่ีจัดตั้งข้ึนไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมหรือถูกครอบง�ำ โดยผู้ประกอบธุรกิจท่ีเป็นนิติบุคคล  กรรมการหรือผู้มีอ�ำนาจบริหารของผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าว  หรือโดยหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ  หรือพรรคการเมือง  รวมทั้งไม่เป็นองค์กรของผู้บริโภค  ท่ีได้รับเงินอุดหนุนไม่ว่าโดยทางตรง หรือทางอ้อมจากบุคคลผู้ประกอบธุรกิจท่ีเป็นนิติบุคคล  กรรมการหรือผู้มีอ�ำนาจบริหารของผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าว หรือโดยหน่วยงานของรัฐ  เจ้าหน้าที่ของรัฐ  หรือพรรคการเมือง  เว้นแต่เป็นเงินที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของ รัฐหรือเจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ  หรอื ไดร้ ับตามพระราชบัญญตั นิ ้ี องคก์ รของผบู้ ริโภคทีป่ ระสงคจ์ ะเข้ารว่ มจดั ต้งั หรอื เปน็ สมาชิกของสภาองค์กรของผูบ้ ริโภค องค์กรของผู้บริโภคท่ีประสงค์จะเข้าร่วมจัดตั้งหรือเป็นสมาชิกของสภาองค์กรของผู้บริโภค  ให้แจ้งสถานะ ความเป็นองค์กรของผู้บริโภคไว้ต่อนายทะเบียน  โดยแจ้งต่อนายทะเบียนกลางหรือนายทะเบียนประจ�ำจังหวัดท่ีผู้แจ้ง มีภูมิล�ำเนาอยู่  พร้อมทั้งหลักฐานแสดงว่าเป็นผู้ด�ำเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันย่ืนแจ้ง และเมือ่ ได้รบั แจง้ แลว้ ใหผ้ ้รู ับแจง้ ออกหลักฐานการแจง้ ไว้ใหแ้ ก่ผแู้ จง้   และประกาศใหป้ ระชาชนทราบ  กรณีผู้ใดเห็นว่าองค์กรของผู้บริโภคที่ได้แจ้งไว้ต่อนายทะเบียนมีลักษณะไม่ถูกต้องให้มีสิทธิย่ืนค�ำคัดค้าน พร้อมท้ังหลักฐานต่อนายทะเบียนกลางได้  เมื่อนายทะเบียนกลางได้รับค�ำคัดค้านให้ด�ำเนินการสอบข้อเท็จจริง แล้ววินิจฉัยโดยเร็ว  และในกรณีที่เห็นว่าองค์กรของผู้บริโภคนั้นมีลักษณะไม่ถูกต้องให้เพิกถอนการรับแจ้งพร้อมท้ังแจ้ง ให้ผูร้ ้องและองค์กรของผบู้ ริโภคทีเ่ ก่ียวขอ้ งทราบ  คำ� วนิ จิ ฉัยของนายทะเบยี นกลางให้เปน็ ทสี่ ดุ การจัดตั้งสภาองคก์ รของผบู้ ริโภค องค์กรของผู้บริโภคไม่น้อยกว่าหน่ึงร้อยห้าสิบองค์กรมีสิทธิเข้าชื่อกันแจ้งต่อนายทะเบียนกลางเพ่ือเป็น ผู้เริ่มก่อการในการจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภค  และเมื่อได้แจ้งแล้ว  ให้ผู้เร่ิมก่อการรวบรวมองค์กรของผู้บริโภค ท่ียินยอมเข้าร่วมในการจัดต้ังสภาองค์กรของผู้บริโภคให้ได้จ�ำนวนไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งขององค์กรของผู้บริโภค ที่นายทะเบียนกลางได้ประกาศรับแจ้งไว้ครั้งสุดท้ายก่อนวันท่ีแจ้ง  ท้ังนี้  ให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันแจ้ง ในการด�ำเนินการดังกล่าวผู้เร่ิมก่อการจะขอให้นายทะเบียนกลางเป็นผู้ประกาศเชิญชวนให้องค์กรของผู้บริโภคมาแสดง ความยินยอมเข้าร่วมต่อนายทะเบียนกลางแทนผู้เริ่มก่อการก็ได้  และเม่ือผู้เริ่มก่อการรวบรวมองค์กรของผู้บริโภค ได้ครบถ้วนภายในก�ำหนดเวลาแล้วให้แจ้งให้นายทะเบียนกลางทราบพร้อมด้วยหลักฐานการยินยอมเข้าร่วมขององค์กร ของผู้บริโภค  เมื่อนายทะเบียนกลางได้รับแจ้งและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนแล้ว  ให้ประกาศการจัดต้ังสภาองค์กร ของผู้บริโภคในราชกิจจานุเบกษาและทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ  ในกรณีท่ีนายทะเบียนกลางเป็นผู้ประกาศ เชิญชวน  เม่ือนายทะเบียนกลางรวบรวมองค์กรของผู้บริโภคได้ครบถ้วนตามจ�ำนวนและภายในก�ำหนดเวลา ให้นายทะเบียนกลางด�ำเนินการตรวจสอบและประกาศการจัดต้ังสภาองค์กรของผู้บริโภคต่อไป  โดยประกาศให้แล้วเสร็จ ภายในสามสบิ วนั   นบั แต่วันท่ีได้รบั แจ้งหรอื วนั ที่รวบรวมองคก์ รของผบู้ รโิ ภคไดค้ รบถว้ น องค์ของผู้บริโภคท่ีเข้าช่ือหรือยินยอมเข้าร่วมจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภคจะถอนช่ือออกและจะเข้าชื่อกับ คณะผู้เริ่มก่อการอื่นหรือยินยอมเข้าร่วมในการจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภคอื่นไม่ได้เว้นแต่มิได้มีการจัดตั้งสภาองค์กร ของผู้บริโภคภายในกำ� หนดเวลาตามทีไ่ ดเ้ รม่ิ ก่อการไว้

41 กฎหมายควรรู้ วตั ถปุ ระสงค์การจัดต้ังสภาองคก์ รของผู้บริโภค สภาองค์กรของผู้บริโภคท่ีจัดต้ังเป็นนิติบุคคล  มีวัตถุประสงค์เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคในทุกด้านและ ด�ำเนินการอ่ืนใดตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้  โดยให้ถือว่าองค์กรของผู้บริโภคท่ีเป็นผู้เริ่มก่อการและที่ได้ลงช่ือ ยินยอมเข้าร่วมในการจัดต้ังสภาองค์กรของผู้บริโภคเป็นสมาชิกของสภาองค์กรของผู้บริโภค  นับแต่วันท่ีประกาศจัดต้ัง สภาองค์กรของผู้บริโภค  และให้สภาองค์กรของผู้บริโภคมีความเป็นอิสระไม่อยู่ภายใต้อาณัติหรือการครอบง�ำ หรือการสั่งการไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมจากหน่วยงานของรัฐ  เจ้าหน้าที่ของรัฐ  พรรคการเมือง  ผู้ประกอบธุรกิจ หรือพนักงานหรอื ลูกจ้างของผู้ประกอบธรุ กจิ การจัดทำ� รา่ งข้อบังคับของสภาองคก์ รของผบู้ รโิ ภคและเรยี กประชุมสมาชกิ เมื่อมีการจัดต้ังสภาองค์กรของผู้บริโภคแล้ว  ให้คณะผู้เริ่มก่อการจัดท�ำร่างข้อบังคับของสภาองค์กร ของผู้บรโิ ภคและเรยี กประชุมสมาชิกภายในสามสิบวนั นับแตว่ ันทปี่ ระกาศการจัดต้งั ในราชกจิ จานเุ บกษา  เพ่ือด�ำเนนิ กจิ กรรม (๑)  จัดท�ำข้อบังคับของสภาองค์กรของผู้บริโภค  (๒)  เลือกต้ังประธานและคณะกรรมการนโยบายของสภาองค์กร ของผู้บริโภค  (๓)  ก�ำหนดนโยบาย  แนวทางหรือแผนงาน  เก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค  (๔)  กิจการอื่นท่ีคณะผู้เร่ิม กอ่ การเหน็ สมควร เนื้อหาขอ้ บังคบั การประชุม ข้อบังคับของสภาองค์กรของผู้บริโภคอย่างน้อยต้องมีเรื่อง   (๑)  วัตถุประสงค์ของสภาองค์กรของผู้บริโภค (๒)  แนวทางในการด�ำรงความเป็นอิสระของสภาองค์กรของผู้บริโภค  (๓)  โครงสร้างของการบริหารงานซึ่งอย่างน้อย ต้องมีคณะกรรมการนโยบายที่ประกอบด้วย  ประธาน  รองประธาน  และกรรมการนโยบายตามที่ก�ำหนด  และ คุณสมบัติ  ลักษณะต้องห้าม  วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง  การพ้นจากต�ำแหน่ง  และวิธีการได้มาซ่ึงคณะกรรมการนโยบาย โดยกรรมการนโยบายอย่างน้อยต้องประกอบด้วยผู้เช่ียวชาญด้านต่าง  ๆ  และตัวแทนขององค์กรของผู้บริโภค (๔)  โครงสร้างขององค์กรซ่ึงอย่างน้อยต้องมีส�ำนักงานสภาองค์กรของผู้บริโภคและหน่วยงานประจ�ำจังหวัดซ่ึงอาจมี ทุกจังหวัดหรือบางจังหวัดตามที่เห็นสมควร  ตลอดทั้งวิธีการบริหารงานของส�ำนักงานสภาองค์กรของผู้บริโภคซึ่งอย่างน้อย ต้องมีเลขาธิการส�ำนักงานสภาองค์กรของผู้บริโภคเป็นหัวหน้าส�ำนักงานและวิธีการบริหารงานในหน่วยงานประจำ� จังหวัด รวมตลอดท้ังผู้มีอ�ำนาจกระท�ำการแทนสภาองค์กรของผู้บริโภค  (๕)  หลักเกณฑ์และวิธีการในการรับองค์กรของผู้บริโภค เข้าเป็นสมาชิก  และสิทธิ  หน้าที่และประโยชน์ของสมาชิก  ทั้งน้ี  หลักเกณฑ์และวิธีการในการรับสมาชิกต้องไม่มี ลักษณะเป็นการกีดกันมิให้องค์กรของผู้บริโภคที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเข้าเป็นสมาชิกได้  (๖)  จรรยาบรรณและการควบคุม การปฏิบัติงาน  ให้เป็นไปตามจรรยาบรรณและโทษกรณีมีการละเมิดจรรยาบรรณ  (๗)  ค่าลงทะเบียน  ค่าบ�ำรุง  และค่าบริการ ท่ีจะพึงเรียกเก็บจากสมาชิกหรือบุคคลภายนอก  (๘)  การบัญชีและการเงิน  การสอบบัญชี  และการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของสภาองคก์ รของผบู้ รโิ ภค  (๙)  การบรรจ ุ การแต่งตัง้   การถอดถอน  การกำ� หนดตาํ แหน่ง  อตั ราเงินเดือน ค่าจ้าง  และเงินบ�ำเหน็จ  รางวัลพนักงาน  รวมท้ังระเบียบ  วินัย  การลงโทษ  และการร้องทุกข์ของพนักงาน  ท้ังน ี้ ข้อบังคับของสภาองค์กรของผู้บริโภคต้องแจ้งให้นายทะเบียนกลางทราบและเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์  ระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ  หรอื ระบบหรือวธิ กี ารอน่ื ใดทปี่ ระชาชนทั่วไปสามารถเขา้ ถึงได้โดยสะดวก คณะกรรมการนโยบายสภาองค์กรของผู้บรโิ ภค คณะกรรมการนโยบายสภาองค์กรของผู้บริโภคอย่างน้อยต้องประกอบด้วย  ผู้เช่ียวชาญในด้านการเงินและ การธนาคาร  ด้านการขนส่งและยานพาหนะ  ด้านอสังหาริมทรัพย์และท่ีอยู่อาศัย  ด้านอาหาร  ยา  และผลิตภัณฑ์ สุขภาพ  ด้านบริการสขุ ภาพ  ดา้ นสินค้าและบริการท่วั ไป  ดา้ นการส่อื สารและโทรคมนาคม  ดา้ นบริการสาธารณะ

เอกสารขา่ วรัฐสภา 42 อ�ำนาจหนา้ ที่สภาองคก์ รของผ้บู รโิ ภค สภาองค์กรของผู้บริโภค  นอกจากมีอ�ำนาจด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ท่ีได้จัดต้ังแล้ว  ในฐานะเป็นผู้แทน ผู้บริโภค  ให้มีอ�ำนาจด�ำเนินการในเร่ือง  (๑)  ให้ความคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค  รวมตลอดท้ังเสนอแนะ นโยบายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคต่อคณะรัฐมนตรีหรือหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้อง  (๒)  สนับสนุนและด�ำเนินการ ตรวจสอบ  ติดตาม  เฝ้าระวังสถานการณ์ปัญหาสินค้าและบริการ  แจ้งหรือโฆษณาข่าวสารหรือเตือนภัยเก่ียวกับสินค้า หรือบริการท่ีอาจกระทบต่อสิทธิของผู้บริโภคหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือเกิดความเสื่อมเสียแก่ผู้บริโภค  โดยจะ ระบุชื่อสินค้าหรือบริการหรือช่ือของผู้ประกอบธุรกิจด้วยก็ได้  (๓)  รายงานการกระท�ำหรือละเลยการกระท�ำอันม ี ผลกระทบต่อสิทธิของผู้บริโภค  ไปยังหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานอื่นท่ีรับผิดชอบและเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ (๔)  สนับสนนุ และชว่ ยเหลอื องคก์ รของผูบ้ ริโภคในการรักษาประโยชน์ของผ้บู รโิ ภคใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและไดร้ ับความเชือ่ ถอื ตลอดจนส่งเสริมการรวมตัวขององค์กรของผู้บริโภคในระดับจังหวัดและเขตพื้นท่ี  ท้ังนี้  ตามที่ก�ำหนดในข้อบังคับของ สภาองค์กรของผู้บริโภค  (๕)  สนับสนุนการศึกษาและการวิจัยเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินงานคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ ของผู้บริโภค  (๖)  สนับสนุนและช่วยเหลือสมาชิกในการไกล่เกลี่ยหรือประนีประนอมยอมความข้อพิพาทเก่ียวกับ การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคทั้งก่อนและในระหว่างการด�ำเนินคดีต่อศาล  (๗)  ด�ำเนินคดีเก่ียวกับการละเมิดสิทธิของ ผู้บริโภคตามท่ีเห็นสมควรหรือเม่ือมีผู้ร้องขอ  หรือให้ความช่วยเหลือในการด�ำเนินคดีในกรณีที่ผู้บริโภคหรือองค์กรของ ผู้บริโภคถูกฟ้องคดีจากการใช้สิทธิในฐานะผู้บริโภคหรือใช้สิทธิแทนผู้บริโภค  แล้วแต่กรณี  และเพ่ือประโยชน์แห่งการน้ี ให้มีอ�ำนาจประนีประนอมยอมความด้วย  (๘)  จัดให้มีหรือรวบรวม  และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการอันจะ เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อสินค้าหรือใช้บริการ  ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก  ทั้งน้ี การด�ำเนินการตาม  (๑)  (๒)  (๓)  (๗)  หรือ  (๘)  ถ้าเป็นการกระท�ำโดยสุจริต  ให้สภาองค์กรของผู้บริโภคพ้นจาก ความรบั ผิด อ�ำนาจในการฟอ้ งคดขี องสภาองค์กรของผบู้ ริโภค การด�ำเนินคดีเก่ียวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคตามที่เห็นสมควรหรือเม่ือมีผู้ร้องขอ  หรือให้ความช่วยเหลือ ในการด�ำเนินคดีในกรณีที่ผู้บริโภคหรือองค์กรของผู้บริโภคถูกฟ้องคดีจากการใช้สิทธิในฐานะผู้บริโภคหรือใช้สิทธิแทน ผู้บริโภค  แล้วแต่กรณี  ให้สภาองค์กรของผู้บริโภคมีอ�ำนาจฟ้องคดีได้ท้ังคดีแพ่ง  คดีอาญา  คดีปกครอง  และคดีผู้บริโภค เช่นเดียวกับผู้เสียหายตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความแพ่ง  กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญา  กฎหมายว่าด้วย การจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง  และกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค  รวมทั้งเช่นเดียวกับ คู่กรณีตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง  และเมื่อศาลพิพากษาว่าผู้ประกอบธุรกิจกระท�ำการละเมิด หรือผิดสัญญาต่อผู้บริโภคให้ศาลสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจช�ำระค่าใช้จ่ายและค่าป่วยการให้แก่สภาองค์กรของผู้บริโภคไม่น้อย กว่าร้อยละยี่สิบห้าแต่ไม่เกินกึ่งหนึ่งของค่าเสียหายและค่าสินไหมทดแทนท่ีศาลก�ำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจช�ำระให้แก่ ผู้บริโภค  เว้นแต่สภาองค์กรของผู้บริโภคจะพิสูจน์ได้ว่ามีค่าใช้จ่ายมากกว่าน้ัน  ก็ให้ศาลสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจชดใช้ค่าใช้จ่าย ตามจำ� นวนดังกลา่ วและช�ำระคา่ ป่วยการให้เทา่ กบั จ�ำนวนค่าใช้จา่ ยนัน้ การประชมุ สมาชิกและผู้บริโภค ให้เป็นหน้าที่ของสภาองค์กรของผู้บริโภคที่จะต้องจัดให้มีการประชุมสมาชิกและผู้บริโภคท่ัวไปที่สนใจ อย่างน้อยปีละหน่ึงคร้ัง  เพื่อรายงานผลการด�ำเนินงานของสภาองค์กรของผู้บริโภคและรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ อนั จะยังประโยชน์แกก่ ารคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค  และการปรบั ปรุงแกไ้ ขการดำ� เนินงานของสภาองคก์ รของผ้บู ริโภค

43 กฎหมายควรรู้ เงินอดุ หนนุ สภาองคก์ รของผู้บริโภค ให้ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีมีหน้าท่ีเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาจัดสรรเงินอุดหนุน เป็นรายปีเป็นการจ่ายขาดให้แก่สภาองค์กรของผู้บริโภคตามท่ีสภาองค์กรของผู้บริโภคเสนอ  ในการจัดสรรเงินอุดหนุน ให้คณะรัฐมนตรีจัดสรรให้เพียงพอต่อการด�ำเนินงานโดยอิสระของสภาองค์กรของผู้บริโภค  ในกรณีที่สภาองค์กรของ ผู้บริโภคเห็นว่าจ�ำนวนเงินท่ีคณะรัฐมนตรีจัดสรรให้ไม่เพียงพอต่อการด�ำเนินงาน  สภาองค์กรของผู้บริโภคจะมีหนังสือ ขอให้คณะรัฐมนตรที บทวนเพ่อื จัดให้เพียงพอ การประเมนิ ผลการด�ำเนินงานของสภาองคก์ รของผบู้ รโิ ภค เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมประสิทธิภาพและการตรวจสอบการด�ำเนินงานของสภาองค์กรของผู้บริโภค ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์  ให้สภาองค์กรของผู้บริโภคจัดให้มีการประเมินผลการด�ำเนินงานของสภาองค์กรของผู้บริโภค ตามระยะเวลาท่ีสภาองค์กรของผู้บริโภคก�ำหนด  แต่ต้องไม่เกินสามปี  การประเมินผลการด�ำเนินงานให้จัดท�ำโดย สถาบันหรือองค์กรท่ีเป็นกลางและมีความเชี่ยวชาญในด้านการประเมินผลการด�ำเนินงาน  โดยมีการคัดเลือกตามวิธีการ ท่ีสภาองค์กรของผู้บริโภคก�ำหนด  การประเมินผลการด�ำเนินงานของสภาองค์กรของผู้บริโภคจะต้องแสดงข้อเท็จจริง ให้ปรากฏในด้านประสิทธิผล  ประสิทธิภาพ  การพัฒนาสภาองค์กรของผู้บริโภค  และการสนับสนุนจากประชาชน หรอื ในด้านอนื่ ตามทส่ี ภาองค์กรของผูบ้ รโิ ภคจะไดก้ �ำหนดเพิม่ เตมิ ขึ้น  การจดั ทำ� รายงานผลการปฏบิ ัติงานประจ�ำปี ให้สภาองค์กรของผู้บริโภคจัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติงานประจ�ำปี  ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคเผยแพร่ ให้ประชาชนทราบและเสนอต่อคณะรัฐมนตรี  สภาผู้แทนราษฎร  และวุฒิสภา  เพื่อทราบภายในหกเดือนนับแต่วันส้ินปีปฏิทิน นายกรัฐมนตรี  สภาผู้แทนราษฎร  และวุฒิสภา  อาจขอให้ประธานกรรมการนโยบายสภาองค์กรของผู้บริโภคชี้แจง การดำ� เนนิ งานในเร่อื งใดเรอ่ื งหน่ึงเป็นหนงั สือหรือขอให้มาช้แี จงดว้ ยวาจาได้ จากเน้ือหาของพระราชบัญญัติสภาองค์กรของผู้บริโภค  พ.ศ.  ๒๕๖๐  ที่จัดท�ำข้ึนตามบทบัญญัติของ รฐั ธรรมนูญ  ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ  คือ  การมีสภาองค์กรผู้บริโภค  พร้อมทั้งมีหลักเกณฑ์และวิธีการจัดต้ัง สภาองค์กรผู้บริโภคท่ีชัดเจน  รวมทั้งการมีกลไกที่สนับสนุนการบริหารงานและการเงินแก่สภาองค์กรของผู้บริโภค ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ  เพอื่ เปน็ ตัวแทนในการด�ำเนินงานคมุ้ ครองและพิทักษส์ ทิ ธิของผ้บู รโิ ภค ขอ้ มูล  :- สำ� นกั ขา่ วอิศรา  “รายงานสกปู๊ พเิ ศษ  มีแลว้ ไม่ด ี ไม่มีดกี วา่   “กม.  ต้ังสภาองคก์ รผบู้ ริโภค”  ลา้ หลัง-จี ้ สนช.  ยุตพิ จิ าณา”   สืบค้นเม่ือวันท่ี  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  จาก  https://www.isranews.org/isranews-scoop/72677-law-72677.html ส�ำนกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค  “ร่างพระราชบัญญตั ิการจัดตัง้ สภาองค์กรของผู้บรโิ ภค  พ.ศ.  ....  ท่ีเสร็จจาก การพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎกี า  (คณะพเิ ศษ)  เมอ่ื วนั ท ี่ ๗  พ.ย.  ๒๕๖๑”  สืบคน้ เมือ่ วนั ที่  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  จาก  http://www.ocpb.go.th/news_view.php?nid=9389 คมชัดลึก  “\"คุ้มครองผู้บริโภค\"...ซ้ือใจโหวตพรรคการเมือง  ๒๕๖๒”  สืบค้นเม่ือวันท่ี  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  จาก http://www.komchadluek.net/news/scoop/357613 ส�ำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา  “รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการจัดตั้งสภาองค์กร ของผู้บริโภค  พ.ศ.  ....”  สืบค้นเม่ือวันท่ี  ๓๐  พฤษภาคม  ๒๕๖๒  จาก  http://web.senate.go.th/bill/ bk_data/515-2.PDF GNews  “ประโยชน์ท่ีประชาชนจะได้รับจากร่างพระราชบัญญัติการจัดต้ังสภาองค์กรผู้บริโภค  พ.ศ.  ....”  สืบค้นจาก   https://gnews.apps.go.th/news?news=38060

เอกสารข่าวรัฐสภา 44 ? ภาพเกา่ เล่าเรือ่ ง เครื่องสงั เคด็ และของท่รี ะลึก ทม่ี าภาพ:  https://goo.gl/KdXpJD สงั เคด็ เป็นช่ือเรียกส่ิงของท่ีจัดท�ำเป็นพิเศษส�ำหรับถวายพระสงฆ์ในงานเผาศพโดยเฉพาะ  ส่วนใหญ่จะเป็นของ ที่หนักหรือครุภัณฑ์แข็งแรงทนทาน  คล้ายเป็นของท่ีระลึกในงานเผาศพน้ัน  ๆ  เช่น  ตู้หนังสือ  โต๊ะเขียนหนังสือ ตัง่ เตียง  โต๊ะหม ู่ ธรรมาสนเ์ ลก็   โคมไฟ  เป็นตน้ คำ� ว่าเครื่องสังเคด็ เปน็ ค�ำโบราณ  มคี วามหมายวา่   “ของช�ำร่วย”  แต่เรยี กวา่   “ของท่ีระลกึ ”  ในงานอวมงคล สงั เคด็   คือ  ทานวัตถทุ ีถ่ วายแก่สงฆ์ที่มาเทศน์หรือสวดบงั สุกุลเม่อื เวลาปลงศพ  เพอ่ื อทุ ิศสว่ นกศุ ลให้แก่ผู้ตาย ทานวัตถุน้ันอาจเป็นตู้  โต๊ะ  ต่ัง  เตียง  หรือข้าวของเคร่ืองใช้อื่น  ๆ  ประเพณีท�ำส่ิงของถวายพระน้ีถือตามประเพณีไทย แต่เดิม  เม่ือผู้ใดตาย  ของใช้ประจ�ำตัวผู้ตายอย่างท่ีนอน  หมอน  มุ้ง  เส้ือผ้า  ฯลฯ  มักไม่เก็บให้คนอ่ืนในบ้านใช้ต่อไป หากพอจะถวายพระได้ก็ถวายไป  ถ้าเห็นว่าถวายไม่ได้อาจให้ทานแก่คนยากจน  แม้กระทั่งเรือนของผู้ตาย บางครอบครัวอาจรือ้ ถวายวดั ไปด้วย  ส�ำหรบั ผูม้ อี ันจะกิน

45 ภาพเก่าเล่าเรือ่ ง นอกจากข้าวของส่วนตัวของผู้ตายแล้ว  อาจอุทิศส่ิงของเพิ่มเติม  เช่น  ตู้  โต๊ะ  เตียง  สมทบไปด้วย เพื่ออุทิศให้ผู้ตายมีเครื่องใช้ไม้สอยบริบูรณ์  และเป็นการได้บุญแก่ผู้อยู่  เพราะฉะนั้นข้าวของต่าง  ๆ  ท่ีอุทิศในงาน ปลงศพจึงลว้ นเป็นสังเคด็ หรอื เครอ่ื งสังเคด็ ทง้ั สิ้น สังเค็ด  นิยมจัดถวายในงานเผาศพหรืองานออกเมรุเจ้านายและพระเถระผู้ใหญ่ที่มีผู้เคารพนับถือมาก และจดั ถวายเฉพาะแก่พระผ้ใู หญ่ท่อี าราธนามาเทศน์บา้ ง  พิจารณาผ้ามหาบงั สกุ ลุ บนเมรุบา้ ง เคร่ืองสังเค็ด  งานพระเมรุสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ  เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา  กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ์ ตามพระราชประเพณีโบราณ  ภายหลังการถวายพระเพลิงพระบรมศพหรือพระศพเสร็จสิ้นลง  พระเมรุมาศหรือพระเมรุ ส่วนท่ีถวายเพลิงจะถูกร้ือน�ำไปสร้างพระอารามเพื่ออุทิศเป็นพระราชกุศล  ในอดีตดังเช่นงานพระเมรุสมเด็จพระเจ้า ลูกยาเธอ  เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์  พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่  ๕ นำ� พระเมรไุ ปสรา้ งเป็นโรงพยาบาลศริ ริ าชมาจวบปจั จุบัน  เพอ่ื เป็นสง่ิ ระลกึ ถึงพระกรณุ าธิคุณ นอกจากนี้  ในงานพระราชทานเพลิงพระบรมศพหรือพระศพ  จ�ำต้องมี  “เครื่องสังเค็ด”  หรือของท่ีระลึก ในทุกครั้ง  อาจารย์ณัฏฐภัทร  จันทวิช  นักโบราณคดี  ๑๐  ผู้ทรงคุณวุฒิ  กรมศิลปากร  กระทรวงวัฒนธรรม  ให้ข้อมูล เร่ืองเครื่องสังเค็ดในโบราณราชประเพณีว่า  เดิมจะอยู่ในร้ิวขบวนพระราชพิธีฯ  เป็นล�ำดับแรก  โดยมีสัตว์หิมพานต์ มงคลต่าง  ๆ  ประมาณ  ๒๐  คู่  เช่น  กินนร  กินรี  อัปสร  สิงหะ  ช้าง  สิงห์  แรด  และระมาด  อยู่ในริ้วขบวน หลังสัตว์หิมพานต์เหล่าน้ีจะมีบุษบกส�ำหรับใส่เคร่ืองสังเค็ด  เคร่ืองอภัยทาน  เคร่ืองน�้ำหอม  น�้ำกุหลาบ  น�้ำกระแจะจันทน์ สำ� หรบั ใช้สรงพระศพทีพ่ ระเมรุ  เมื่อร้ิวขบวนเคล่ือนถึงยังแนวรั้วราชวัติ  สัตว์หิมพานต์จะถูกท้ิงไว้รอบ  ๆ  แนวร้ัวราชวัติ  ส่วนเครื่องต่าง  ๆ ที่อยู่ในบุษบกจะน�ำลง  แต่ปจั จบุ ันสว่ นนีถ้ ูกตดั ออกไป  ไม่มใี นรวิ้ ขบวน เครื่องสังเค็ดในงานพระเมรุ  “สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ  เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา  กรมหลวงนราธิวาสราช นครินทร์”  สำ� นกั พระราชวังจัดเครื่องสังเคด็   ประกอบด้วย ตู้สงั เคด็ ตูส้ ังเคด็ บรรจุหนังสือสารานุกรมส�ำหรับเยาวชนและหนังสืออ่ืน  ๆ  จ�ำนวน ๓๐  ชุด  ส�ำหรับถวายพระอารามหลวง  ๓๐  พระอาราม  ได้แก่  วัดบวรนิเวศ วิหาร  วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม  วัดเทพศิรินทราวาส  วัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม  วัดสุทัศนเทพวราราม  วัดอรุณราชวราราม  วัดราชาธิวาส วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม  วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม  วัดมหาธาตุ ยุวราชรังสฤษฎ์ิ  วัดมกุฏกษัตริยาราม  วัดราชโอรสาราม  วัดนิเวศธรรมประวัติ วัดสุวรรณดาราราม  วัดพระศรีมหาธาตุ  วัดพระปฐมเจดีย์  วัดสระเกศ วัดอนงคาราม  วัดพิชัยญาติ  วัดปทุมวนาราม  วัดชนะสงคราม  วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ  วัดสัมพันธวงศ์  วัดสุวรรณาราม  วัดโพธิ์แมน  (วัดจีน)  วัดกุศลสมาคร (วดั ญวน)  วัดปา่ สิรวิ ัฒนวิสุทธ ์ิ วดั ต�ำหนกั ใต ้ วดั บางไสไ้ ก่  และวดั แคนอก ตู้สังเค็ดเป็นตู้ไม้ส่ีเหลี่ยมทาสีน้�ำตาลแดง  มีขาส�ำหรับรองรับน�้ำหนัก ๔  ขา  ขนาดกว้าง  ๘๒  เซนติเมตร  ลึก  ๔๑  เซนติเมตร  สูง  ๑๒๖ เซนติเมตร  ขอบตู้ด้านล่างส่วนที่ติดกับขาตู้ประดับไม้แกะสลักลายปิดทอง

เอกสารขา่ วรัฐสภา 46 ตัวตู้สังเค็ดเปิดด้านหน้าด้วยบานกระจก  ๒  บาน  ผนังตู้แต่ละด้านกรุกระจกใส  หน้ากระดานประดับพระนามย่อ  “กว” รปู หยดนำ้� ส�ำรับภัตตาหารสามหาบ ใน  ๑  ชุด  ประกอบด้วย  โตกใหญ่  (เคร่ืองคาว)  โตกกลาง  (เคร่ืองหวาน)  และโตกเล็ก  ส�ำหรับถวาย พระสงฆ์ที่รับส�ำรับภัตตาหารสามหาบ  ๖  วัด  ได้แก่  วัดสระเกศ  วัดชนะสงคราม  วัดบวรนิเวศวิหาร วัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม  วัดราชบพิธสถติ มหาสีมาราม  และวัดราชประดษิ ฐสถิตมหาสีมาราม  สามหาบ “พดั รองทร่ี ะลึก  ผา้ กราบและย่าม  (สดี �ำ)”  จัดท�ำ  ๑๗๕  ชุด  ถวายพระเทศน์  พระสวดศราทธพรต  บรรพชิตจีนและญวน  พระสงฆ์สดับปกรณ์  และ ถวายพระพิธีธรรม  ทั้งสิ้น  ๑๐  วัด  ได้แก่  วัดบวรนิเวศวิหาร  วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม  วัดราชสิทธาราม วัดระฆังโฆสิตาราม  วัดอนงคาราม  วัดประยุรวงศาวาส  วัดสระเกศวรวิหาร  วัดจักรวรรดิราชาวาส  วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิ และวดั สุทศั นเทพวราราม  โดยพัดรองที่ระลึกสีด�ำมีพ้ืนก�ำมะหยี่ด�ำขอบกุ๊นผ้าสีแดง  รวมถึงผ้ากราบและย่าม  (สีด�ำ)  จะถวายในงาน พระราชกศุ ลออกพระเมรุ “พดั รองท่รี ะลึก” จัดท�ำ  ๔๕  ชุด  ส�ำหรับถวายพระสวดพระพุทธมนต์  พระเทศน์  พระรับอนุโมทนา  และพระสดับปกรณ์ โดยพัดรองที่ระลึกสีแดงมีพ้ืนก�ำมะหย่ีแดงขอบกุ๊นผ้าสีด�ำหรือน้�ำเงินเข้ม  รวมถึงผ้ากราบและย่าม  (สีแดง)  จะถวาย ในงานพระราชกุศลพระอฐั ิ นอกเหนือจากเคร่ืองสังเค็ดที่ออกโดยส�ำนักพระราชวัง  ทางมหาเถรสมาคมได้ถวายพระไตรปิฎกภาษาบาลี และภาษาไทย  รวม  ๙๐  เล่ม  พร้อมตู้  เป็นเคร่ืองสังเค็ด  โดยเสด็จพระราชกุศลจ�ำนวน  ๓๐  ชุด  ตามจ�ำนวน เคร่ืองสังเคด็ ท่สี �ำนกั พระราชวังจัดสรา้ ง

47 ภาพเก่าเลา่ เร่อื ง พัดรอง ยา่ มทรี่ ะลกึ อาจารย์ณัฏฐภัทรให้รายละเอียดด้วยว่า  เครื่องสังเค็ดในงานพระเมรุท่ีทุกงานจ�ำเป็นต้องมี  คือ  พัดรอง ท่ีระลึกส�ำหรับถวายพระสงฆ์  ลักษณะใกล้เคียงกับตาลปัตร  แต่ใช้เฉพาะงานพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  ๔  โปรดให้เรียกว่า  “พัดรอง”  และเป็นท่ีน่าสังเกตว่า  เคร่ืองสังเค็ดท่ีมอบให้วัดต่าง  ๆ  จะพระราชทาน ไม่ยกเว้นแต่ศาสนาพุทธเท่าน้ัน  ศาสนาอื่นท่ีมีศาสนสถานที่ส�ำคัญก็จะได้รับพระราชทานเคร่ืองสังเค็ดเช่นกัน  ดังในงาน พระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่  ๕  พระราชทานเชิงเทียนให้แก่โบสถ์คริสต ์ และพระราชทานกระถางธูปให้วัดจีนที่สำ� คญั โคมไฟ ปรากฏข้อความจารึกอยู่ท่ีโคมไฟ  “ที่รฤกในงานพระบรมศพ  ร.ศ.  ๑๒๙”  โคมไฟดังกล่าวเป็นเครื่องสังเค็ด ท่ีได้รับพระราชทานเน่ืองในงานพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลท่ี  ๕  ท่ีเสด็จสวรรคต ในปีพุทธศักราช  ๒๔๕๓  ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก  ๑๒๘  พบเห็นได้เฉพาะมัสยิดท่ีมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ เทา่ นนั้ โคมไฟ

เอกสารข่าวรัฐสภา 48 ธรรมเนียมนิยมการสร้างถวายเครื่องสังเค็ด  เริ่มข้ึนหลังจากงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว  รัชกาลท่ี  ๕  เป็นต้นมา  โดยเคร่ืองสังเค็ดจะถวายไปยังวัดวาอารามต่าง  ๆ  ท้ังในกรุงเทพฯ  และ ต่างจังหวัด  มีหลายประเภทด้วยกัน  เช่น  ธรรมาสน์เทศน์  ธรรมาสน์สวด  หนังสือปาติโมกข์พร้อมตู้  เทียนสลักพร้อม ตู้ลายทอง  หบี ใสห่ นงั สอื สวด  หนังสือเทศน์  พัดรอง  ย่าม  ผา้ กราบ  และภาชนะเคร่อื งใชต้ า่ ง  ๆ  ของสงฆ์ การจัดท�ำของท่ีระลึกในงานพระเมรุมาศหรืองานพระเมรุ  นอกจากจะมีขึ้นส�ำหรับเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดินแล้ว ยังแพร่หลายลงมาในระดบั ประชาชน  จนเปน็ ประเพณปี ฏบิ ัติมาจนถงึ ทกุ วนั นี้ ข้อมูลอา้ งองิ   :  สืบคน้ จากเวบ็ ไซต ์ เม่ือวนั ที่  ๑๑  มถิ นุ ายน  ๒๕๖๒  http://thamdhamma.blogspot.com/2016/10/blog-post.html http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9510000133834 http://www.oknation.net/blog/print.php?id=350311 http://www.sarakadee.com/knowledge/2005/01/doyouknow_1.htm http://www.kalyanamitra.org/daily/data11_47/kamwat_26_11_04.html

รู้เร่อื งนา่ ผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร  ๒๕๖๒ ตามที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการท่ัวไปและคณะกรรมการ การเลือกตั้งได้ก�ำหนดให้วันท่ี  ๒๔  มีนาคม  ๒๕๖๒  เป็นวันเลือกต้ัง  ต่อมาคณะกรรมการการเลือกต้ังได้ประกาศ รายชื่อผู้ได้รับการเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง  และประกาศรายชื่อพรรคการเมืองและ รายช่ือผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือ  รวมท้ังคณะกรรมการการเลือกต้ังได้มีค�ำส่ังให้มี การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  จังหวัดเชียงใหม่  เขตเลือกตั้งท่ี  ๘  ใหม่  ในวันที่  ๒๖  พฤษภาคม  พ.ศ.  ๒๕๖๒ และประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง  จงั หวัดเชียงใหม่  ซึ่งเป็นการประกาศผลการเลือกตั้ง แบบแบง่ เขตเลอื กตัง้   (ครงั้ ที ่ ๒)  พร้อมท้งั ประกาศรายชือ่ พรรคการเมืองและผู้พ้นจากตำ� แหน่งสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร แบบบัญชีรายช่ือ  และประกาศรายช่ือพรรคการเมืองและผู้ได้รับการเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ซึ่งเป็นการประกาศผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายช่ือ  (ครั้งที่  ๒)  นอกจากนี้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือ นายอภิสิทธิ์  เวชชาชีวะ  ผู้มีช่ืออยู่ในบัญชีรายช่ือผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือของ พรรคประชาธิปัตย์ล�ำดับที่  ๑  ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ได้มีหนังสือขอลาออกจากต�ำแหน่ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ตั้งแต่วันที่  ๕  มิถุนายน  ๒๕๖๒  เป็นเหตุให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลง  ต่อมาได้มีประกาศ สภาผู้แทนราษฎร  ให้ผู้มีช่ือในล�ำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเล่ือนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แทนต�ำแหน่งที่ว่าง  โดยประกาศให้  นายสุทัศน์  เงินหมื่น  ผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อ  ล�ำดับที่  ๒๑  พรรคประชาธิปัตย์ เล่ือนข้นึ มาเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรแทน  ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ น้นั   เอกสารขา่ วรัฐสภา  ฉบับเดือน กรกฎาคม  ๒๕๖๒  คอลัมน์เรื่องน่ารู้  จึงขอน�ำผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  น�ำลงในเอกสารข่าวรัฐสภา เพ่ือบันทึกเป็นประวัติศาสตร์ทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยเผยแพร่ให้ประชาชนได้รับ ความรตู้ อ่ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook