Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานสบู่สครับกากกาแฟ

โครงงานสบู่สครับกากกาแฟ

Description: รายวิชา IS ( I30201 )
คณะผู้จัดทำ
1.นายนายกิตติทัต สารเทพ เลขที่ 13
2.นางสาว อิชยา ใจวิชา เลขที่ 17
3.นางสาว ปภาวรินทร์ ต๊อดแก้ว
4.นางสาว จีรนันท์ ไชยศิลป์ เลขที่ 25
5.นางสาว รุ่งไพรินทร์ พากเพียร เลขที่ 38
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
โรงเรียนปัว อำเภอปัว จังหวัดน่าน
สังกัดพื้นที่การศึกษามัธยมน่าน เขต 37

Search

Read the Text Version

โครงงานสบูส่ ครับจากกากกาแฟ รายวิชา IS ( I30201 ) คณะผู้จดั ทา 1.นายนายกิตตทิ ัต สารเทพ เลขท่ี 13 2.นางสาว อชิ ยา ใจวิชา เลขที่ 17 3.นางสาว ปภาวรินทร์ ต๏อดแก๎ว 4.นางสาว จีรนนั ท์ ไชยศิลป์ เลขท่ี 25 5.นางสาว รุงํ ไพรนิ ทร์ พากเพยี ร เลขที่ 38 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5/4 ครทู ่ีปรึกษา ครดู ารงด์ คนั ธะเรศย์ โรงเรียนปวั อาเภอปวั จังหวัดนา่ น สงั กดั พื้นที่การศึกษามธั ยมนา่ น เขต 37

ก ชือ่ โครงงาน : การทดลองการสบํูสครับจากกากกาแฟ ผ้จู ดั ทาโครงงาน : 1.นายนายกติ ติทัต สารเทพ เลขท่ี 13 2.นางสาว อิชยา ใจวชิ า เลขที่ 17 3.นางสาว ปภาวรนิ ทร์ ตอ๏ ดแกว๎ 4.นางสาว จีรนนั ท์ ไชยศิลป์ เลขที่ 25 5.นางสาว รุงํ ไพรนิ ทร์ พากเพียร เลขที่ 38 ครูทปี่ รึกษา : ครดู ารงด์ คนั ธะเรศย์ ระดับช้นั : ช้นั มัธยมศึกษาท่ี 5 ปกี ารศึกษา : 2565 บทคดั ยอ่ การทาโครงงานการทดลองการทาสบํสู ครับจากกากกาแฟนี้ มีจุดประสงค์เพอื่ ศกึ ษา ประสิทธิภาพของสบูํสครับจากกากกาแฟ โดยสามารถนาผลการศกึ ษาเก่ยี วกับประสทิ ธภิ าพของ สครับสบํกู ากกาแฟมาปรับพฒั นาและตํอยอดใหม๎ ปี ระสิทธิภาพดขี น้ึ อกี ได๎ เพอื่ ลดปริมาณขยะจาก กากกาแฟ โดยคณะผจ๎ู ัดทา ได๎ทาการประดิษฐ์หรอื การทดลอง โดยมีการประเมินคือ คุณสมบตั ิ ของสบูํตามสมมุตฐิ านที่ได๎ระบไุ ว๎คอื ความสะอาด ความกระจาํ งใส และ การลดจดุ ดํางดา พบวาํ สบูํสครับกากกาแฟชํวยขัดเซลล์ผวิ ทาให๎ผิวสะอาดข้ึนอยํางดีเยีย่ ม ซ่ึงสามารถเหน็ ผลได๎ชดั เจน ต้ังแตใํ นสปั ดาห์แรกทใ่ี ช๎ และสบํสู ครบั กากกาแฟยงั สามารถทาให๎ผิวดูกระจาํ งใสขึน้ เลก็ นอ๎ ย ซึ่ง เห็นผลไดใ๎ นสปั ดาห์ที่ 2 แตไํ มสํ ามารถลดเลือนจุดดํางดาได๎ คณะผจ๎ู ัดทา กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง การทดลองการทาสบสํู ครับจากกากกาแฟนี้ สาเร็จลุลวํ งไดด๎ ว๎ ยดี ดว๎ ยความ กรุณาจาก ครูดารงด์ คนั ธะเรศย์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานทไ่ี ด๎ชํวยชี้แนะ ให๎คาแนะนาในขั้นตอน การทางานและแนวทางเแก๎ไขข๎อบกพรํองตํางๆ คณะผ๎ูจดั ทาขอบพระคุณเป็นอยํางยงิ่ ขอกราบขอบพระคุณอาจารยท์ ี่ปรึกษา ท่ีใหค๎ าปรึกษาในเรื่องตาํ งๆ รวมทงั้ ให๎กาลงั ใจตลอดการทา โครงงาน และขอบคณุ เพ่อื นๆสมาชกิ ในกลมํุ ที่ชวํ ยใหค๎ วามรํวมมอื รวมถงึ ผ๎ูท่ีมีสํวนสนับสนนุ ท่ีไมํ อาจกลาํ วถงึ ไดท๎ งั้ หมด ตลอดจนแหลงํ ความรู๎ตาํ งๆท่ีไดน๎ ามาประกอบ คณะผ๎ูจัดทา

สารบัญ ข เร่อื ง หนา้ บทคัดย่อ ก กติ ติกรรมประกาศ ก สารบญั ข สารบัญ(ต่อ) ค สารบัญภาพ ง สารบัญตาราง จ บทที่ 1 บทนา 1 1 - ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา 2 -วัตถปุ ระสงค์ 2 -สมมตุ ฐิ าน 2 -ขอบเขตการศึกษา 2 -ประโยชนท์ ่ีคาดวาํ จะไดร๎ บั 2 -นยิ ามศัพท์ 3 -นยิ ายศัพทเ์ ชงิ ปฎบิ ัติการณ์ 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง 4 -ข๎อมูลทว่ั ไปของสบํู 5 -ข๎อมลู ทั่วไปของกลีเซอรนี 7 -ความหมายของกากกาแฟ 7 -งานวิจัยท่เี กย่ี วขอ๎ ง 10 บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนินการศกึ ษาค้นคว้า 10 -ระเบียบท่ีใช๎ในการศึกษา 10 -ประชากร / กลมุํ ตัวอยาํ ง 10 -ระยะเวลาที่ใชใ๎ นการศึกษา 10 -วิธีการดาเนนิ การ

สารบญั (ตอ่ ) ค เร่ือง หน้า บทที่ 4 ผลการดาเนนิ โครงงาน 17 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง ประโยชน์ ปัญหาทพ่ี บ และข้อเสนอแนะ 18 18 -ประโยชนท์ ีไ่ ดจ๎ ากโครงงาน 18 -ปัญหาในการดาเนินงาน 18 -การแกป๎ ัญหา 18 -ข๎อเสนอแนะ 19 บรรณานกุ รม 20 ภาคผนวก

สารบัญภาพ ง ภาพ หน้า ภาพท่ี 1 กากกาแฟที่ถกู เกล่ียทัว่ ภาชนะ 11 ภาพที่ 2 การตากกากกาแฟ 11 ภาพท่ี 3 ใช๎มอื บี้กากกาแฟที่จบั ตวั เปน็ ก๎อน 12 ภาพที่ 4 กากกาแฟทแ่ี ห๎งแล๎ว 12 ภาพที่ 5 กลเี ซอรีนท่ีหน่ั เป็นชิน้ เลก็ ๆ 13 ภาพท่ี 6 กลเี ซอรีนในชามทถ่ี ูกวางไวบ๎ นนา้ ในหม๎อ 13 ภาพที่ 7 กลเี ซอรนี ทโ่ี ดนความรอ๎ น 14 ภาพที่ 8 กลีเซอรนี ที่ผสมกบั กากกาแฟ 14 ภาพที่ 9 การฉีดแอลกอฮอลลบ์ นแมํพมิ พ์ 15 ภาพที่ 10 กลเี ซอรนี ทผี่ สมกับกากกาแฟแลว๎ 15 ภาพที่ 11 สบแูํ ขง็ ตวั 16 ภาพท่ี 12 สบูํท่ีแกะออกจากแมํพิมพ์ 16 ภาพท่ี 13 สบํสู ครับจากกากกาแฟ 17

สารบัญตาราง จ ตาราง หน้า ตารางที่ 1 คุณลักษณะเฉพาะของกลเี ซอรนี 6 ตารางท่ี 2 องค์ประกอบทางเคมีของกาแฟ ตารางที่ 3 แบบทดสอบประสทิ ธิภาพสบํสู ครับกากกาแฟ 8 17

บทที่ 1 บทนา 1. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา ในปัจจุบนั วฒั นธรรมการดื่มกาแฟกาลังพฒั นาอยาํ งแพรหํ ลาย ทาให๎การบริโภคกาแฟมี ความนิยมมากขึ้น จงึ เกิดขยะจากการบริโภคกาแฟเป็นจานวนมาก เชนํ กากกาแฟ ซึ่งกากของ กาแฟนน้ั ไมํสามรถนากลบั ไปใชไ๎ ด๎อีก หากไมํมีการจัดการทเ่ี หมาะสมอาจทาให๎เกิดการหมักหมม สํงผลกระทบตํอส่งิ แวดลอ๎ มได๎ เชํน การเกิดเชื้อรา การเกิดกล่ินทีไ่ มํพงึ ประสงค์ และปญั หาดา๎ น สขุ อนามยั สบูํ เปน็ กรดเกลอื ของไขมันท่ีเกิดจากปฎกิ ิริยา ซาพอนฟิ เิ คชัน ซึง่ เปน็ ปฏิกริ ิยาระหวาํ ง ไขมันหรอื น้ามัน (ไทรกลเี ซอไรด์) ทไ่ี ด๎จากพชื หรอื สัตว์ กบั สารละลายดํางในอุณหภมู ิทเ่ี หมาะสม จดั เปน็ เครือ่ งสาอางชนิดหนง่ึ ท่ีใช๎ในการทาความสะอาดรํางกาย มีคณุ สมบัติในการชาระล๎างสิง่ สกปรกบนรํางกาย สครับ คือการขัด ถู เพื่อขจัดเซลล์ผวิ เกําทีต่ ายแล๎วรวมถึงส่งิ สกปรกตําง เชนํ ฝุ่นละออง คราบเหง่ือ ที่อุดตันตามรูขุมขนรวมถงึ ส่งิ สกปรกท่ีเกาะอยูตํ ามบริเวณผวิ หนังชั้นนอกให๎สามารถ หลุดออกไดเ๎ ร็วขึ้น ทาใหผ๎ ิวกระจาํ งใสและเนียนนมํุ กากกาแฟ คอื เศษที่ไดจ๎ ากการคั่วบดกาแฟแล๎วนาไปชงด่มื เรยี บร๎อยแลว๎ จะถูกทง้ิ ภายหลงั จากการสกัดเพือ่ ใหไ๎ ดน๎ า้ กาแฟออกมา แตํกากกาแฟยังคงเหลือสารอาหารสาคัญ โดยเฉพาะสาร ต๎านอนุมูลอิสระ จึงนิยมนาเอากากกาแฟมาใชใ๎ นการดแู ลผิว ดว๎ ยการผสมกับสํวนผสมตาม ธรรมชาติ ดังน้ันคณะผ๎จู ดั ทาโครงงานจงึ มงํุ ศึกษา การทาสบสูํ ครับจากกากกาแฟ เพ่อื นากากกาแฟที่ กาลงั กลายเป็นขยะ มาทาผลิตภณั ฑใ์ หมใํ หเ๎ กิดประโยชน์ แก๎ปัญหาขยะขากกากกาแฟ นอกจากน้ี กาแฟยังมคี ุณสมบัติต๎านอนุมูลอิสระ ที่ทาหนา๎ ทข่ี จดั พิษให๎กับผิวชัน้ นอก และกระตนุ๎ การทางาน ของเซลลผ์ ิว ซงึ่ เหมาะสาหรบั การทาสบูํเพอื่ ทาความสะอาดราํ งกายเปน็ อยํางมาก 2. วัตถปุ ระสงค์ 1.เพอ่ื นากากกาแฟที่เหลือใช๎มาใชป๎ ระโยชน์ 2.เพอ่ื ศึกษาการทาสบูสํ ครับจากกากกาแฟ 3.เพื่อทดสอบประสทิ ธิภาพสบูํสครับกากกาแฟ 4.เพอ่ื ดแู ลผิว ใหส๎ ะอาด ชุํมชืน่ ไมํแหง๎ กรา๎ น

๒ 5.เพ่ือเพมิ่ ประสิทธภิ าพของสบสํู ครับกากกาแฟให๎มีประสิทธภิ าพดูแลผิว 3. สมมตุ ฐิ าน 1. สบสํู ครับกากกาแฟสามารถผลัดเซลลผ์ ิวที่ตายแล๎ว 2.สบูสํ ครับกากกาแฟทาใหผ๎ วิ กระจาํ งใส 3. สบูํสครับกากกาแฟชํวยใหจ๎ ุดดํางจางลง 4. ขอบเขตของการศกึ ษา 4.1 ประชากรทีใ่ ช้ในการศกึ ษา ประชากรที่ใช๎ในการศึกษาคร้ังน้ี ไดแ๎ กํ นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาท่ี5 โรงเรยี นปวั จานวน1หอ๎ งเรยี น เป็นนักเรียนท้ังส้ิน 5 คน 4.2 กลุม่ ตัวอยา่ งท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา กลํมุ ตัวอยํางท่ีใชใ๎ นการศกึ ษาครั้งนีเ้ ปน็ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาท่ี 5 โรงเรียน ปัว ปกี ารศึกษา 2565 จานวน 5 คน 4.3 เน้ือหาที่ใช้ในการศึกษา เน้ือหาท่ีใชใ๎ นการศกึ ษาเป็นเนื้อหาเกิดจากปัญหาที่พบในปจั จุบันคอื ปญั หาขยะ จากกากกาแฟ ทีไ่ มํสามารถนากลับมาใช๎ใหมไํ ด๎ เพือ่ ลดปัญหาคณะผ๎ูจดั ทาโครงงานจึงได๎ พฒั นาสบจูํ ากกากกาแฟเพ่อื ใช๎ในการทาความสะอาดรํางกาย 4.4 ระยะเวลา ระยะเวลาที่ใช๎ในการศึกษาครั้งน้ี ดาเนนิ การในปีการศึกษา 2565 5. ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 1.เพื่อเป็นแนวทางในการนากากกาแฟท่เี หลอื ใช๎มาใช๎ประโยชน์ 2.เพ่ือเป็นแนวทางในการพฒั นาสครับสบํูทม่ี ปี ระสิทธภิ าพและใช๎ไดจ๎ รงิ 3.เพอ่ื ประหยดั คําใช๎จําย 4.เปน็ แนวทางในการสร๎างรายได๎จากสบกํู ากกาแฟ 6. นิยามศพั ท์ 1.สบํคู อื เป็นผลิตภณั ฑ์ทีใ่ ชช๎ าระล๎างหรือทาความสะอาดรํางกาย ซงึ่ มีลกั ษณะเปน็ ก๎อน 2.กลเี ซอรีนคอื คอื ของเหลวท่ีไมมํ ีสี มคี วามหนดื และมีรสหวาน สูตรทางเคมี C3H8O3 สามารถละลายน้าได๎ดีในแอลกอฮอล์และน้า แตไํ มํละลายในไขมันได๎ 3.กากกาแฟคอื เศษผงของกาแฟควั บดที่ผาํ นการสกัดผํานน้าร๎อน

๓ 7. นิยายศัพท์เชิงปฎิบตั ิการณ์ ประสิทธภิ าพของสบํคู อื คุณสมบตั ขิ องสบูํตามสมมตุ ิฐานทีไ่ ด๎ระบุไว๎คือ ความสะอาด ความกระจํางใส การลดจุดดาํ งดา โดยใช๎เกณฑ์การวดั ดงั นี้ 0 คือไมเํ หน็ ผล 1 คือเห็นผลความแตกตาํ งกํอนและหลงั ใช๎เลก็ น๎อย 2 คือเห็นผลความเเตกตํางกอํ นและหลงั ใชป๎ านกลาง 3 คือเหน็ ผลแตกตํางกอํ นและหลังใชช๎ ดั เจน ซง่ึ ทดสอบประสิทธิภาพเป็นการใช๎ตอํ เนอื่ ง 2 คร้งั ตอํ สปั ดาห์ เปน็ เวลา 4 สัปดาห์

๔ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง การศกึ ษาในคร้งั นี้ คณะผ๎ูจัดทาได๎ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วข๎อง โดยแบงํ เน้ือหา ของเอกสารและงานวจิ ัยออกเปน็ หัวข๎อตํางๆ ดังนี้ 1.ข้อมูลทั่วไปของสบู่ สบู่ สบูํ (SOAP) คอื สารเคมที ่ีเกิดจากการทาปฏกิ ริ ิยากนั ระหวาํ งโซเดยี มไฮดรอกไซด์ (ดําง ,โซดาไฟ) และนา้ มันทม่ี าจากสตั วห์ รือพืช ปฏกิ ิริยาท่ีเกิดขน้ึ น้เี รียกวาํ สปองซฟิ ิเคชัน่ (Saponfication) คุณสมบัตขิ องสบูํ หรอื ผลทีไ่ ด๎จากการ สปองซฟิ เิ คชั่น นี้ จะสามารถละลายได๎ ทัง้ ในนา้ และไขมัน และสามารถเกบ็ ไขมันไว๎ได๎ จึงมีประสทิ ธภิ าพในการทาความสะอาดไดเ๎ ป็น อยาํ งดี ความหมายของสบู่ โดยคาวํา \"สบ\"ํู ในภาษาไทย เพย้ี นมาจากคาวํา \"soap\" ในภาษาอังกฤษ ซ่ึงมาจากคาวํา \"sapo\" ซ่งึ หมายถงึ สบํู ในภาษาละตนิ ประวัตขิ องสบู่ กลาํ วกันวํา สบํไู ดถ๎ ือกาเนิดขน้ึ ต้งั แตํยุคโรมนั เม่ือประมาณ 3,000 ปกี อํ น ท่ี Sapo Hill เกิดการผสมผสานดว๎ ยความบังเอิญระหวํางเถ๎าฟนื ไม๎ (สารประกอบประเภทดาํ ง) และน้ามนั ทไ่ี ด๎ จากแกะทีน่ ามาทาพิธบี ูชายญั ลกั ษณะพเิ ศษที่คน๎ พบ คือสามารถขจดั ส่งิ สกปรกจากมือหรือเสอื้ ผา๎ ไดส๎ ะอาดชือ่ ของสบํู (Soap) มาจากช่ือของสถานทถี่ ือกาเนดิ นั่นกค็ อื 'Sapo' และตง้ั แตํนั้นมา สบูํก็กลายเป็นสิ่งทขี่ าดไมํไดใ๎ นชวี ิตประจาวนั ของมนุษย์ทุกคน และในปี 1928 ไดเ๎ กิดสารทา ความสะอาดชนดิ ผสมแอลกอฮอล์ เข๎นข๎นข้นึ เปน็ ครง้ั แรก(ของโลก)ท่เี ยอรมนี ตํอมาก็มีสารทาความสะอาดท่มี ีสํวนผสมตํางชนดิ กนั ออกมาหลากหลายมากข้ึน แตอํ ยาํ งไรก็ตามสบจํู ากธรรมชาติกย็ ังคงเป็นวิธีท่ีพูดได๎วําปลอดภยั และ เป็นมติ รตํอสิ่งแวดล๎อม ชนิดของสบู่ 1. สบูกํ อ๎ นขํนุ เปน็ ผลติ ภณั ฑ์สบูํทีร่ ู๎จัก และใชก๎ นั มานานจนถึงปจั จุบนั มีลักษณะเป็นก๎อนแขง็ สขี าวขนํุ หรือมสี ีตาํ งๆตามสขี องสารเตมิ แตงํ เชํน สีเขียว สีชมพู สีมํวง เปน็ ต๎น สบชูํ นิดนใ้ี ช๎สารต้ังตน๎ คอื

๕ เกลด็ สบูํ (soap)ทีผ่ ลติ ได๎จากปฏกิ ิรยิ าขา๎ งต๎นเป็นวัตถุดบิ สาคญั ในการผลติ ทีใ่ หค๎ ุณสมบตั เิ ปน็ กอ๎ น แข็ง ขาวขุนํ ให๎ฟองมาก 2. สบูํก๎อนใส เป็นผลิตภณั ฑ์สบํูทมี่ ลี ักษณะกอ๎ นใสหรอื คํอนขา๎ งใสตามสดั สํวนของกลีเซอรนี ที่ผสม ก๎อน สบํูจะมีลักษณะออํ นกวาํ สบกํู ๎อนขํนุ และสามารถทาให๎เกดิ สีใสตาํ งๆตามสารให๎สที ่ีเตมิ ผสม สบํู ชนิดนีจ้ ะใหฟ๎ องคํอนข๎างน๎อยกวําสบกํู ๎อนขํุนเนอื่ งจากมีสํวนผสมของกลเี ซอรีนเป็นสวํ นใหญํ สาร ตง้ั ตน๎ ทใ่ี ช๎อาจเปน็ กลีเซอรีนเหลวหรือกลีเซอรีนกอ๎ น (กลเี ซอรีนเหลว+เอทิลแอลกอฮอล)์ รํวมดว๎ ย กับสารเติมแตํงชนดิ ตาํ งๆ 3. สบเํู หลว เป็นผลติ ภณั ฑส์ บูํทม่ี นี า้ เป็นสํวนผสมทาให๎เนื้อสบํูเหลวมสี ีสันตาํ งๆตามสารเติมแตงํ สบํู ชนดิ นใี้ ชส๎ ารต้ังตน๎ จากเกล็ดสบูํ (soap)ทไ่ี ด๎จากปฏิกริ ิยาขา๎ งตน๎ เหมอื นชนดิ สบูํก๎อนขนุํ แตตํ ํางกัน ที่จะใชด๎ ํางเข๎มข๎นโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์แทนโซเดยี มไฮดรอกไซดเ์ พราะจะให๎เนือ้ สบอูํ ํอนตวั ดีกวํา ประโยชน์ของสบู่  ชวํ ยชาระทาความสะอาดผวิ กาย  สบํบู างยีห่ อ๎ ชํวยให๎ผิวขาวดูกระจาํ งใสมากย่งิ ขึน้  ชวํ ยทาใหผ๎ วิ อํอนนํมุ ดอู ํอนเยาว์  ขจดั ความมนั สํวนเกินของผวิ 2. ขอ้ มูลท่ัวไปของกลเี ซอรนี กลเี ซอรีน คอื ของเหลวทไ่ี มมํ สี ี มคี วามหนดื และมรี สหวาน สตู รทางเคมี C3H8O3 สามารถละลาย นา้ ได๎ดีในแอลกอฮอลแ์ ละน้า แตไํ มลํ ะลายในไขมนั ได๎ เนือ่ งจากกลีเซอรีน มคี ุณสมบัตเิ คมที ่ี หลากหลาย จึงสามารถนาไปใชเ๎ ป็นสารตั้งตน๎ ในการสังเคราะหส์ ารเคมีอ่ืน ๆ ได๎ ดว๎ ยคุณสมบตั ทิ ี่สามารถละลายในแอลกอฮอล์และน้าไดน๎ ีจ่ ึงนาไปใช๎ประโยชนอ์ ยาํ งกวา๎ งขวาง ซึ่ง กลเี ซอรีนบริสุทธ์ิ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช๎ได๎ในหลายรูปแบบ เชํน ใช๎เป็นสํวนผสมหรอื เปน็ ตัว ชวํ ยในกระบวนการผลติ เครื่องสาอาง ผลิตภณั ฑ์ในห๎องนา้ และสุขอนามยั สวํ นบุคคล อาหาร ยาสี ฟัน ยาสระผม และนิยมใช๎มากในอตุ สาหกรรมสบํู เพราะกลเี ซอรนี เป็นสวํ นชวํ ยหลอํ ลื่นเหมือน มอยซ์เจอรไ์ รเซอร์ เพอ่ื ปกป้องผิวไมํใหแ๎ หง๎ และดูดซบั ความชืน้ เมอื่ สัมผัสกับอากาศซง่ึ จะทาให๎รส๎ู กึ วําผวิ มคี วามชมํุ ชื้น ออํ นโยนตํอผิว ขจัดความสกปรกท่ฝี งั แนนํ ไมํทาให๎อุดตันรขู ุมขน รวมทงั้ ปลอดภยั ตํอผวิ หนัง

๖ กลเี ซอรีน ถกู ใชง๎ านอยํางกวา๎ งขวางเปน็ สารละลาย (Solvent), สารเพ่ิมความหวาน (Sweetener), เครื่องสาอาง (Cosmetics and Personal Care Products), สบเํู หลว (Liquid soaps), ลูกอม (Candy), สุรา (Liqueurs), หมึก (Inks) และสารหลอํ ลื่น (Lubricants) เพอ่ื ให๎ ยืดหยุํน (Pliable) สารปอ้ งกันการแข็งตัว (Antifreeze Mixtures) เปน็ สวํ นผสมอาหาร (Food and Beverage Ingredients ) อาหารสตั ว์ (Animal Feed ) สารปฏชิ วี นะ (Antibiotics) ยา (Pharmaceuticals) สารใหค๎ วามชมุํ ช้ืน (Moisturizers) น้ามนั ไฮดรอลิกส์ (Hydraulic fluids) และสารต้ังต๎นทางปีโตรเคมตี ําง ๆ (Polyether polyols, propylene glycol, epichlorohydrin) และอื่น ๆ ตารางท่ี 1 คุณลักษณะเฉพาะของกลเี ซอรีน มสี ถานะปกตเิ ปน็ ของเหลวข๎น ไมมํ ีสี มี สตู รทางเคมี C3H8O3 รสหวาน มวลอะตอม 92.09382 กรัม/โมล ความหนาแนํน 1.261 กรมั /ลบ.ซม. จุดเดอื ด 290 องศาเซลเซียส ความหนดื 1.2 pa-s แรงตึงผวิ (20 องศาเซลเซียส) 63.4 จุดวาบไฟ (ระบบเปดิ ) 177 องศาเซลเซยี ส มิลลนิ วิ ตนั /เมตร จดุ ตดิ ไฟ 204 องศาเซลเซียส ละลายไดใ๎ นนา้ และแอลกอฮอล์ ไมํละลายใน เบนซนี อเี ทอร์ และนา้ มัน ประโยชนก์ ลเี ซอรีนและกลีเซอรอล -ใชเ๎ ปน็ ตวั ทาละลายในอุตสาหกรรมตาํ ง ๆ เนอ่ื งจากสามารถละลายในน้า และแอลก อออลไ์ ดด๎ ี -สาหรับอุตสาหกรรมเคมี มกั ใช๎สาหรับเป็นสารตั้งตน๎ ในการผลติ สารประกอบโพลิออล (Polyol) สาหรับผลติ โฟม -กลเี ซอรนี และกลเี ซอรอล ทมี่ คี วามเขม๎ ข๎นมากกวาํ ร๎อยละ 55 จะมรี สหวานสามารถใช๎ เป็นสารทดแทนน้าตาลได๎

๗ -กลเี ซอรนี และกลเี ซอรอล ที่เปน็ สารจาพวก Hydroscopic มีคุณสมบัตดิ ดู ซับความชืน้ ใน บรรยากาศได๎ดี จงึ นยิ มนามาใชเ๎ ป็นสวํ นประกอบของผลติ ภัณฑท์ ่ีต๎องการความนํุม ความยดื หยุนํ และเปน็ ครมี เชํน อุตสาหกรรมพลาสตกิ เพอื่ ใหม๎ คี วามออํ นตวั และยดื หยํนุ ได๎ดี -ใชเ๎ ป็นสวํ นผสมของผลิตภณั ฑ์เพอื่ ทาหนา๎ ท่เี ป็น Thickening agent หรอื Bodying agent เพราะสามารถใหค๎ วามหนดื ไดด๎ ี -ใชเ๎ ป็นสํวนผสมสาหรับผลติ ภณั ฑ์เพือ่ รักษาความชํุมชนื้ เชนํ น้ายาบว๎ นปาก, ยาสฟี นั , สบํู เปน็ ต๎น -ใช๎เปน็ สวํ นผสมของผลิตภณั ฑ์ยา อาหาร และเคร่ืองดม่ื เชํน เปน็ สารทดแทนน้าตาล เป็น ต๎น -โมโนกลเี ซอไรดใ์ ช๎เป็นสารอิมัลชัน และสารเพิม่ ความคงตวั -ใชฉ๎ ีดพํนหรอื เคลือบผลิตภณั ฑ์ทางการเกษตรเพ่ือรักษาความสด ปอ้ งกันการระเหยของ นา้ เชนํ ใชพ๎ นํ ใบยาสูบ -ใช๎เป็นสํวนผสมในผลิตภัณฑเ์ ครื่องสาอาง เป็นสารอิมลั ชัน (Emulsion) ในผลติ ภัณฑ์ครมี และเปน็ สารที่ทาหน๎ารกั ษาความชมุํ ช้ืนท้ังในสํวนผสมของผลิตภัณฑแ์ กผํ วิ 3. ความหมายของกากกาแฟ คอื เศษผงของกาแฟคัวบดทผ่ี าํ นการสกดั ผํานน้ารอ๎ น การชงกาแฟสดนัน้ จะไมนํ ากาก กาแฟทใี่ ช๎แลว๎ มาชงซ้าอกี เพราะจะทาใหค๎ วามหอมและรสชาตคิ ุณภาพตา่ ลง ความหอมและ คาเฟอีนทไ่ี ด๎ก็จะต่าลงเชนํ กัน กากกาแฟจัดเปน็ สารอนิ ทรยี ์ท่ีเหลอื ทิง้ จากอตุ สาหกรรมการแปรรูป กาแฟและรา๎ นกาแฟสดทั่วไป ซ่ึงกากกาแฟนถี้ อื วําเป็นกากของเสยี ที่สํงผลกระทบตอํ ส่ิงแวดลอ๎ ม เพราะมีปริมาณคารบ์ อนเป็นองค์ประกอบจานวนมาก หากมกี ารทิง้ ลงสแูํ หลํงน้าจะสํงผลให๎คาํ BOD (ปรมิ าณออกซิเจนที่จุลินทรียต์ ๎องการใชใ๎ นการยํอยสลายอินทรีย์สารท่ีมีอยูํในนา้ ) ในน้ามี ปริมาณสงู ขน้ึ และหากมีการจัดการกากกาแฟทไ่ี มํดี อาจกลายเป็นแหลํงสะสมของเชือ้ ราและ แบคทีเรยี ตาํ งๆ ท่ีเปน็ อนั ตรายตอํ มนษุ ย์ได๎ 4. งานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง วินัย ธญั วดแี ละสวุ ภทั ร(2554) กลําววํา งานวิจยั เกย่ี วกับสารทอ่ี ยํู ในเมล็ดกาแฟ “A studyon chemical constituents and sugars extraction from spent coffee grounds” เมล็ดกาแฟทผ่ี าํ นการขัดสี คั่ว และบดจะประกอบไปดว๎ ย carbohydrates (38%- 42% dry basis), melanoidins (23%), lipids (11%-17%), protein, เกลือแรํ, กรดอินทรยี ์ ขนาดเล็กและ caffeine (Mussatto et al.,2011) กากกาแฟที่ผํานการชงแลว๎ จะประกอบไป ดว๎ ยสารเหลําน้ีบางตวั แตํจะมปี รมิ าณลดน๎อยลงไป ขน้ึ อยํกู บั วธิ กี ารและเคร่ืองมือที่ใช๎ชงกาแฟ การสกัดกากกาแฟทไี่ ดจ๎ าก อุตสาหกรรมผลติ กาแฟพร๎อมดื่ม (instant coffee) ดว๎ ยวิธี Supercritical carbon dioxide ซึง่ สามารถสกดั oils ในกากกาแฟได๎ถงึ 85% แสดงให๎เหน็ วาํ

๘ กากกาแฟยงั คงมี fatty acids ที่มี carbon chains ตัง้ แต1ํ 4-20 ตวั (C14, C16, C18, และ C20) คงเหลอื อยํโู ดย Palmitic (C16:0) และ linoleic (C18:2) acids เป็นกรดสองชนดิ ทม่ี ี ปริมาณมากทส่ี ุด คือประมาณ 35% ของ fatty acids ที่มใี น oil ทสี่ กดั ได๎ (Couto et al., 2009) นอกจากนีย้ ังมอี งค์ประกอบทางเคมอี ่นื ๆดังตารางดงั น้ี ตารางที่ 2 องคป์ ระกอบทางเคมขี องกากกาแฟ Chemical components Dry weight (g/100g) Cellulose (glucan) 8.6 Hemicellulose 36.7 Arabinan 1.7 Galactan 13.8 Mannan 21.2 Proteins 13.6 Acetyl groups 2.2 Ashes 1.6 Minerals (mg/kg Potassium 3549 Phosphorus 1475.1 Magnesium 1293.3 Calcium 777.4 Aluminum 279.3 lron 118.7 Manganese 40.1

๙ Copper 32.3 Zinc 15.1 Sulful Nd Chromium Nd *หมายเหตุ : nd= not detected.*

๑๐ บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ การศึกษาค้นคว้า ในการศกึ ษาครัง้ นี้ ผศ๎ู ึกษาไดท๎ าการศึกษาการทาสครับสบูจํ ากกากกาแฟซ่ึงมีวธิ ีการดังน้ี 1. ระเบียบท่ีใช้ในการศกึ ษา ในการศึกษาใช๎วิธสี ืบค๎นรวบรวมข๎อมลู จากหนงั สอื อนิ เตอร์เนต็ สอบถามจากครูท่ีปรกึ ษา กํอนจะเริม่ ลงมอื ดาเนินการ หาข๎อสรุปการศึกษา 2. ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง 2.1 ประชากร ประชากรท่ใี ช๎ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นสมาชิกภายในกลมํุ 7 นักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปี ที่ 5 หอ๎ ง 4 โรงเรียนปัว ปกี ารศึกษา 2565 จานวน 1 ห๎องเรยี น เปน็ นักเรียนทั้งส้ิน 5 คน 2.2 กล่มุ ตวั อยา่ ง ประชากรท่ีใช๎ในการศกึ ษาครง้ั นี้ เป็นสมาชกิ ภายในกลมุํ 7 นักเรียนระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปี ที่ 5 หอ๎ ง 4 โรงเรยี นปวั ปกี ารศกึ ษา 2565 จานวน 1 ห๎องเรียน เปน็ นักเรียนทง้ั สน้ิ 5 คน 3. ระยะเวลาท่ใี ช้ในการศึกษา ระยะเวลาที่ใช๎ในการศึกษา ในปีการศึกษา 2565 4. วิธดี าเนินการศกึ ษา วิธกี ารดาเนนิ การศกึ ษามี 2 สํวน 3 ขั้นตอน โดยผ๎ศู กึ ษาได๎ดาเนนิ การตามขนั้ ตอนดังนี้ สว่ นท่ี 1 ขน้ั ตอนท่ี 1 การวางแผน 1 กาหนดเร่อื งทจ่ี ะศึกษา โดยสมาชิกทง้ั 5 คน ประชุมรวํ มกนั และรวํ มกันคิดและ วางแผน วําจะศกึ ษาเรอ่ื งใด 2 สารวจปัญหาทพี่ บในปัจจุบนั พบวํามีขยะจากกากกาแฟซ่ึงมจี านวนมากและไมมํ วี ิธี กาจดั 3 เสียงของสมาชกิ ในกลุํมท้งั หมดเลอื กทจ่ี ะศึกษาวิธีกาจดั ขยะจากกากกาแฟ เพอ่ื เเก๎ ปัญหาขยะที่เกิดจากกากกาแฟ 4 ศกึ ษาแนวคิดในการแกป๎ ัญหา ลงความคิดกนั และตกลงได๎วาํ จะทาสบํสู ครับจากกาก กาแฟ เพื่อลดขยะจากกากกาแฟ

๑๑ 5 สมาชกิ ในกลุํมลงความเหน็ กันวาํ จะใช๎ ชื่อเรอื่ ง สบํสู ครบั จากกากกาแฟ 6 สมาชกิ ทงั้ 5 คนของกลํุม พบครูผส๎ู อนเพ่ือปรกึ ษา วางแผนและรบั ฟังความคิดเหน็ ปรับปรุงแกไ๎ ข 7 เขียนความสาคัญความเป็นมาของปัญหา วตั ถปุ ระสงค์ สมมุตฐิ าน ขอบเขตการวจิ ยั และประโยชน์ที่คาดวําจะได๎รับ โดยศึกษาข๎อมูลจากหนงั สอื วิทยานิพนธแ์ ละสืบคน๎ ข๎อมูลจาก อินเตอรเ์ นต็ และจดบนั ทึกในโครงราํ งรายงานเชงิ วิชาการ 8. ดาเนินการทดลอง 9 ทดสอบประสิทธภิ าพ 10. สรุปผล สว่ นท่ี 2 การดาเนินการ ขน้ั ตอนที่ 2 การเตรยี มกากกาแฟ 1. นากากกาแฟท่ไี ด๎แบํงเทใสํถาด, กะละมงั , หรือภาชนะทมี่ ปี ากกว๎าง พอประมาณแลว๎ เกล่ยี กากกาแฟสดกระจายใหท๎ ่วั กน๎ ภาชนะ ไมํตอ๎ งหนามาก พยายามอยําให๎มีกากกาแฟท่ี จบั ตัวเปน็ ก๎อนเพราะจะทาใหแ๎ ห๎งชา๎ ภาพท่ี 1 กากกาแฟทถี่ กู เกลี่ยทั่วภาชนะ 2. นาภาชนะที่ใสกํ ากกาแฟในขอ๎ 1. ไปวางไว๎ในที่ ๆ มลี มถํายเทดไี มจํ าเปน็ ตอ๎ งตากแดด ภาพท่ี 2 การตากกากกาแฟ

๑๒ 3.หากเหน็ วํามกี ากกาแฟจับตวั เป็นก๎อนให๎ใช๎มือบ้กี ากกาแฟ เพือ่ ไมใํ ห๎เปน็ กอ๎ น ภาพท่ี 3 ใชม๎ อื บ้กี ากกาแฟทจี่ ับตัวเปน็ กอ๎ น 4.เมือ่ กากกาแฟแหง๎ ดีแลว๎ ให๎นากากกาแฟเกบ็ ใสํกระปกุ เพอ่ื ถนอมกากกาแฟ และเตรียม ดาเนนิ การขน้ั ตํอไป ภาพท่ี 4 กากกาแฟทแี่ หง๎ แลว๎ ขั้นตอนท่ี 3 การทาสบู่ มวี สั ดุและอปุ กรณ์ ดังนี้ 1.กลเี ซอลีน(หวั เชื้อสบูํ) 2.กากกาแฟ 3.นา้ มันมะพร๎าว 4.แอลกอฮอลล์ 5.นา้ เปลาํ 6.หมอ๎ ต๎ม 7.ชาม 8.ไม๎คน

๑๓ 9.กระทะ 10.แมพํ ิมพ์ วธิ ที า 1.นากลีเซอรีนมาหน่ั เปน็ ชิ้นเลก็ ๆบางๆ เพอ่ื ให๎เมอ่ื โดนความร๎อน กลีเซอรีนจะละลายงํายข้ึน ภาพท่ี 5 กลีเซอรนี ทหี่ ั่นเปน็ ชนิ้ เลก็ ๆ 2.ต้ังหม๎อใสนํ า้ เปลํา รอจนน้าเดอื ด แล๎วจงึ นากลีเซอลนี ท่ีหัน่ เตรยี มไว๎ในขอ๎ ที่ 1 ใสํลงไปในชาม และนาไปวางไว๎บนน้าในหมอ๎ ภาพที่ 6 กลเี ซอรนี ในชามทีถ่ กู วางไวบ๎ นน้าในหมอ๎

๑๔ 3.คนเบาๆจนกลีเซอลีนละลายจนหมด ตอนท่ี 7 กลเี ซอรีนท่ีโดนความร๎อนจนละลาย 4.ปดิ เตา แล๎วจงึ ยกชามออกมาจากหมอ๎ นากากกาแฟผสมลงไปในกลเี ซอรีนในขณะทกี่ ลีเซอรนี ยงั รอ๎ นอยูํ ใชไ๎ มค๎ นคนให๎เขา๎ กัน ภาพท่ี 8กลเี ซอรีนที่ผสมกับกากกาแฟ 5.ใช๎ขวดสเปรย์ที่จแุ อลกอฮอลฉ์ ดี ในแมพํ ิมพ์เบาๆ ให๎ปกคลุมสวํ นทจ่ี ะเทกลีเซอรีนลงไป แอลกอฮอลจ์ ะชวํ ยป้องกันไมใํ หเ๎ กดิ ฟองอากาศทีจ่ ะเกดิ ในสบํูในขณะท่มี ันกาลงั เย็นและแห๎ง

๑๕ ภาพท่ี 9การฉีดแอลกฮออลลบ์ นแมพํ มิ พ์ 6.เทกลเี ซอรีนทผ่ี สมแลว๎ ลงแมํพมิ พ์ หากเกิดฟองใหใ๎ ช๎แอลกฮอลลฉ์ ดี ลงไป เพ่อื ป้องกัน ฟองอากาศ ภาพท่ี 10 กลีเซอรนี ท่ีผสมกบั กากกาแฟแลว๎ ในแมพํ มิ พ์

๑๖ 7.ทง้ิ ใหส๎ บูํเย็นตวั ในแมํพิมพ์ประมาณหน่งึ ถงึ สองชั่วโมง จนกวาํ จะแขง็ ตวั ท้ังหมด แลว๎ แกะออกมา จากพิมพ์ ภาพที่ 11สบํแู ข็งตัว ภาพที่ 12 สบูทํ ่แี กะออกมาจากแมํพมิ พ์

๑๗ บทที่ 4 ผลการดาเนนิ โครงงาน จากการศกึ ษาการทดลองการทาสบูํสครับกากกาแฟ ไดผ๎ ลการทดลองดงั น้ี ภาพท่ี 13 สบํสู ครับจากกากกาแฟ จากการศึกษาการทาสบูํสครับกากกาแฟและทดลองใชเ๎ พอื่ ทดสอบคุณภาพและสรรพคุณ ของสบํสู ครบั กากกาแฟโดยการทดลองใช๎จากตัวผ๎ูทาโครงงาน ได๎ผลการทดลองดงั ตาราง ตารางท่ี 3 แบบทดสอบประสทิ ธภิ าพสบู่สครบั กากกาแฟ สปั ดาหท์ ี่ สะอาดขึ้น ผลการทดลอง จุดดํางดาลดลง 3 ผิวกระจํางใส 0 1 3 0 2 3 0 0 3 3 1 0 4 1 1 จากการทดลองพบวาํ สบูสํ ครับกากแฟชํวยใหผ๎ ิวสะอาดขึ้นในครัง้ แรกท่ีใช๎ ทาใหผ๎ ิวกระจาํ ง ใสขึน้ เลก็ น๎อยซ่งึ เห็นผลไดใ๎ นสัปดาห์ท่ี 2 แตไํ มสํ ามารถทาใหจ๎ ุดดํางดาจางลง

๑๘ บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอเเนะ สรุปผลการทดลอง / ศึกษา จากการศกึ ษาการทดลองทาสบสูํ ครบั กากกาแฟ พบวาํ สบํูสครบั กากกาแฟชํวยขดั เซลล์ผวิ ทาใหผ๎ ิวสะอาดขึ้นอยาํ งดเี ย่ยี ม ซ่งึ สามารถเหน็ ผลได๎ชัดเจนตงั้ แตํในสัปดาหแ์ รกทีใ่ ช๎ และสบสูํ ครบั กากกาแฟยงั สามารถทาใหผ๎ ิวดกู ระจํางใสขึ้นเล็กนอ๎ ย ซ่งึ เห็นผลได๎ในสปั ดาหท์ ี่ 2 แตไํ มํ สามารถลดเลอื นจุดดํางดาได๎ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากโครงงาน 1. สามารถนาไปตํอยอดเพอ่ื หารายได๎ได๎ 2. ไดร๎ ู๎สวํ นประกอบของการทาสบํู รวมถงึ คุณประโยชน์ของกากกาแฟ 3. แกป๎ ัญญาขยะจากกากกาแฟ และเพม่ิ มูลคําจากส่ิงท่หี มดประโยชน์แล๎ว 4. ได๎ไหวพริบในการแกป๎ ัญหา ปญั หาในการดาเนินงาน 1. ความคดิ เหน็ ขดั แย๎งกัน 2. กลีเซอรนี ไมยํ อมละลาย 3. สบํูเเขง็ ตวั เรว็ เกนิ ไป 4. ไมมํ แี มพํ มิ พ์ซลิ ลโิ คน การแก้ไขปัญหา 1. .ตดั สนิ ใจโดยใชเ๎ สยี งข๎างมาก 2. นากลเี ซอรีนใสํหมอ๎ ต๎มโดยตรง 3. นาสบไํู ปละลายอีกครั้ง โดยให๎ความรอ๎ นจนละลาย 4. ใช๎ถาดอะลมู เิ นียมแทนแมํพิมพซ์ ลิ โิ คน ขอ้ เสนอแนะ 1. นากากกาแฟไปแปรรูปเป็นอยาํ งอน่ื ได๎อกี เชนํ เทียนหอมกากกาแฟ ป๋ยุ จากกากกาแฟ ถุง ซบั กล่ิน น้ายาล๎างทอํ แชมพูกาจดั เห็บหมัดให๎สตั ว์เลย้ี ง เป็นต๎น 2. สามารถนาไปตํอยอดเพ่ือหารายไดไ๎ ด๎

๑๙ บรรณานกุ รม กากกาแฟ สิง่ ทดี่ เู หมือนไรเค่าแต่มปี ระโยชน์มหศาล.[ออนไลน]์ .เขา้ ถึงได้จาก:https //www.tipsza.com/กากกาแฟ/(สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 18 สิงหาคม 2565) ประโยชนข์ องกากกาแฟ.[ออนไลน]์ .เข้าถึงได้จาก: https://home.kapook.com/view117284.html (สบื คน้ เมือ่ วันท่ี 18 สิงหาคม 2565) มิยาโตะ,กาแฟชว่ ยคลายเครยี ด.[ออนไลน์].เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://www.posttoday.com/life/healthy/362791 (สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 18 สิงหาคม 2565) สบกู่ าแฟ.[ออนไลน์].เข้าถึงไดจ้ าก :http://www.cream- dhousethailand.com/product/1617778/%E0%B8%AA%E0%B8%9A%E0%B 8%B9%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%9F - %E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B9%8A%E0%B8%AD%E0 %B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C.html (สบื ค้นเมื่อวนั ที่ 18 สิงหาคม 2565) รอบรูเ้ รือ่ งกลีเซอรนี คืออะไรและใช้ประโยชน์อะไรได้บา้ ง.[ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://marumothai.com/article/%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A% E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B 8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87- %E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0 %B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%99/ (สืบคน้ เมอื่ วันท่ี 18 สงิ หาคม 2565) วิธีทาสบกู่ ากกาแฟ.[ออนไลน]์ .เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www.mildsoapandcosmetic.com/article/30/%E0%B8%AA%E0%B8%9 A%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%A3%E 0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B 8%9F-coffee-scrub-soap- %E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0 %B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8 %B5%E0%B8%97%E0%B8%B3(สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 18 สิงหาคม 2565)

๒๐ ภาคผนวก ภาพที่ 1 กากกาแฟที่ถูกเกลีย่ ท่ัวภาชนะ ภาพที่ 2 การตากกากกาแฟ ภาพที่ 3 ใชม๎ อื บีก้ ากกาแฟท่ีจบั ตวั เปน็ ก๎อน ภาพท่ี 4 กากกาแฟทแ่ี ห๎งแล๎ว

๒๑ ภาพที่ 5 กลีเซอรนี ที่หั่นเปน็ ชน้ิ เลก็ ๆ ภาพท่ี 6 กลีเซอรีนในชามทีถ่ ูกวาง บนน้าในหม๎อ ตอนที่ 7 กลเี ซอรีนทโ่ี ดนความรอ๎ นจนละลาย ภาพที่ 8กลเี ซอรีนที่ผสมกับกาก กาแฟ

๒๒ ภาพที่ 9การฉดี แอลกฮออลล์บนแมํพมิ พ์ ภาพท่ี 10 กลีเซอรนี ทีผ่ สมกบั กาก กาแฟแลว๎ ในแมํพมิ พ์ ภาพที่ 11สบแูํ ขง็ ตัว ภาพท่ี 12 สบํทู ่ีแกะออกมาจากแมํพิมพ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook