Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ 1/2565

วิจัยในชั้นเรียน เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ 1/2565

Published by Sofia Cheduereh, 2022-11-13 11:10:19

Description: การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี โดยนำไปทดลองใช้และศึกษาผลการใช้ชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ โดยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 ระหว่างก่อนและหลังการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เรื่องอัตราส่วนและ ร้อยละ วิธีดำเนินการวิจัย สร้างชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ จำนวน 1 ชุดย่อย แล้วนำชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ไปใช้กับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มโซเฟีย 1 จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละของผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 คะแนน และการทดสอบหลังใช้ชุดแ

Search

Read the Text Version

รายงานวจิ ัย การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น รายวชิ าคณติ ศาสตร์ พค 21001 เรอ่ื ง อตั ราส่วนและร้อยละ สาหรับผู้เรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ กลุ่มโซเฟยี 1 ประจาภาคเรียนท่ี 1/2565 ชอื่ ผวู้ จิ ัย นางสาวโซเฟีย เจะดอื เระ ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอปะนาเระ สานักงานศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดปตั ตานี



บทคัดย่อ ชื่อวิจยั ในชน้ั เรยี น : การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น รายวชิ าคณติ ศาสตร์ พค 21001 เรอ่ื ง อัตราส่วนและร้อยละ สาหรับผูเ้ รียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กลุม่ โซเฟีย 1 โดยใชช้ ดุ แบบฝึกทักษะ ชื่อผ้วู จิ ยั ในช้นั เรียน : นางสาวโซเฟยี เจะดอื เระ การวิจัยในช้ันเรียนคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เร่ืองอัตราส่วนและร้อยละ เพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 ของ ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี โดยนาไปทดลองใช้และศึกษาผลการใช้ชุดแบบฝึกทักษะการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ พค 21001 เร่ืองอัตราส่วนและร้อยละ โดยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 ระหว่างก่อนและหลังการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เร่ืองอัตราส่วนและ รอ้ ยละ วิธดี าเนนิ การวจิ ยั สรา้ งชดุ แบบฝึกทกั ษะการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่อง อัตราส่วนและ ร้อยละ จานวน 1 ชุดยอ่ ย แล้วนาชดุ แบบฝกึ ทกั ษะการเรยี นร้วู ิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เร่ืองอัตราส่วนและ ร้อยละ ไปใช้กับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มโซเฟีย 1 จานวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละของ ผู้เรียนมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 3.40 คะแนน และการทดสอบหลังใช้ชุดแบบฝึกทักษะของผู้เรียนระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ กลมุ่ โซเฟยี 1 มคี ะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.80 คะแนน และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนและ หลังใชช้ ดุ แบบฝกึ ทักษะพบว่า คะแนนสอบหลังใช้ชดุ แบบฝึกทักษะของผู้เรยี นสงู กวา่ ก่อนใช้ชุดแบบฝกึ ทกั ษะ

ประกาศคุณปู การ การวิจยั ในช้ันเรียนครั้งนี้ สาเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก นายอับดุลฮาดี สีตีเลาะ ผู้อานวยการศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปะนาเระ บุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอปะนาเระทุกทา่ น ทก่ี รณุ าใหค้ วามอนุเคราะห์ ให้คาแนะนาให้ความรู้ ความคิดท่ี มีประโยชน์ และอานวยความสะดวกในการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้เป็นอย่าง ดี และขอบคุณผู้เรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 กศน.ตาบลดอน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอปะนาเระ จงั หวดั ปัตตานี ทุกคนที่ใหค้ วามรว่ มมอื เปน็ อย่างดีในการวิจัยและเก็บข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา วจิ ยั ครง้ั น้ี จนกระท่ังการศกึ ษาวิจัยครง้ั นเี้ สรจ็ สมบูรณ์ โซเฟยี เจะดอื เระ ผูว้ ิจัย

สารบญั บทท่ี หน้า 1 บทนา .......................................................................................................................... 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา................................................................... 1 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ....................................................................................... 2 สมมติฐานของการวจิ ัย ........................................................................................... 2 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับจากการวจิ ยั ................................................................. 2 ขอบเขตของการวจิ ัย .............................................................................................. 2 นยิ ามศัพท์เฉพาะ .................................................................................................... 3 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง ................................................................................... 4 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง .................................................................................................... 4 งานวิจัยที่เกีย่ วข้อง .................................................................................................. 4 กรอบแนวคดิ การวิจยั .............................................................................................. 5 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ัย ......................................................................................................... 6 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง ...................................................................................... 6 แบบแผนการวิจยั .................................................................................................... 6 เครือ่ งมอื และวิธีการสรา้ งเคร่อื งมือ ......................................................................... 7 วิธดี าเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ............................................................................ 7 วธิ กี ารวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู ..................................... 8 4 ผลการวจิ ัย ................................................................................................................... 9 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ .......................................................................... 10 สรุปผล ................................................................................................................... 10 อภปิ รายผล .............................................................................................................. 10 ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................... 10 บรรณานุกรม 11 ภาคผนวก 12

บทที่ 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั คณติ ศาสตรเ์ ปน็ วิชาทสี่ าคญั วิชาหน่ึง เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับความคิด กระบวนการ และเหตุผล คณิตศาสตรฝ์ ึกใหค้ นคิดอย่างมีระเบยี บ และเปน็ รากฐานของวิทยาการหลายสาขา ความ เจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ ล้วนแต่อาศัยคณิตศาสตร์ ทั้งสิ้น (ยุพิน พิพิธกุล 2530 : 1) จากความสาคัญดังกล่าวทาให้วิชาคณิตศาสตร์ถูกกาหนดไว้ใน หลักสูตรทั้งในระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2551 ไดก้ าหนดจดุ ประสงค์ของวิชาคณิตศาสตร์ไวว้ า่ เพือ่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในวิชาคณิตศาสตร์ สามารถคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล มีทักษะในการคิดคานวณ เห็นประโยชน์ของวิชาคณิตศาสตร์ และสามารถ นาความร้คู วามเข้าใจ และทกั ษะทางคณิตศาสตรไ์ ปใช้ในชีวิตประจาวัน และเป็นพ้ืนฐานในการศึกษา วิชาอ่ืนๆ ท่ีอาศัยคณิตศาสตร์ (กรมวิชาการ. 2545 : 1) แต่การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ เท่าท่ีผ่านมา อาจกล่าวได้ว่ายังไม่สามารถบรรลุจุดประสงค์เท่าท่ีควร เน่ืองจาก ยงั ประสบปัญหาอีกหลายประการ โดยเฉพาะเก่ยี วกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน พบว่าอยู่ใน เกณฑ์ค่อนข้างต่า จึงควรท่ีจะต้องมีการปรับปรุงแก้ไข จึงเป็นเรื่องสาคัญท่ีผู้สอนต้องให้ความสนใจ และเอาใจใส่เป็นพิเศษ พยายามค้นหาวิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้บรรลุจุดประสงค์ตามหลักสูตรที่ กาหนดไว้ เช่น เปล่ยี นวธิ สี อน การจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเนื้อหา และการนาเทคโนโลยีทางการ ศกึ ษา มาประยกุ ตใ์ ช้ตามจติ วิทยาการเรียนรู้ นอกจากน้ีการให้แบบฝึกหัดแก่ผู้เรียนนับเป็นส่ิงสาคัญ และเป็นหัวใจของการฝึก ทาให้การเรียนการสอนได้ผลดียิ่งขึ้น (สมพร จารุนัฎ.2540 : 16) ทั้งนี้ เพราะการให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวนบทเรียนเป็นการเสริม ประสบการณแ์ ละความรขู้ องผเู้ รียนใหก้ ว้างขวางมากข้ึน (Davies. 1981: 51) โดยเฉพาะในการเรียน การสอนวิชาคณิตศาสตร์ การให้แบบฝึกหัดเป็นสิ่งจาเป็นและขาดเสียมิได้ ซึ่งการให้แบบฝึกหัดกับ ผู้เรียนจาเป็นต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจ และคานึงถึงวิธีการให้แบบฝึกหัดให้เหมาะสม เพ่ือให้ แบบฝกึ หัดนั้นสง่ ผลตอ่ การเรยี นรูข้ องผ้เู รียนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ได้รับประโยชนค์ มุ้ คา่ กับเวลามาก ท่ีสุดและข้อมูลย้อนกลับจากการตรวจแบบฝึกหัดก็เป็นตัวสาคัญที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ผูเ้ รยี น เนอ้ื หาเรอื่ งอตั ราส่วนและร้อยละ เป็นเน้อื หาที่มีความสาคญั มากเรอ่ื งหน่ึง เป็นพน้ื ฐานในการ เรียนคณิตศาสตร์ในระดับสูงข้ึนไปแทบทุกเรื่อง และยังเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในการใช้แก้โจทย์ ปัญหาทางคณิตศาสตรก์ บั ปัญหาต่างๆ ซึ่งทกั ษะเหลา่ นคี้ วรได้รับการพัฒนาอย่างละเอียดรอบคอบใน การเรียนในสถานศึกษา ดังนั้นเน้ือหาเรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ จึงถูกบรรจุไว้ในหลักสูตรวิชา คณิตศาสตร์ พค21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2551 ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น เนื้อหาประกอบด้วยเรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ซึ่งการเรียนรู้เน้ือหาในแต่ละหัวข้อจะเก่ียวข้องกับการพัฒนาทักษะ การคิดคานวณ 1

จากการสอนทีผ่ ่านมาผู้วจิ ัยพบว่าผเู้ รียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 กศน.ตาบล ดอน จานวน 6 คน มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ค่อนข้างต่า ซ่ึงปัญหาที่พบ คือ ผ้เู รยี นไมส่ ามารถแก้ปัญหาเก่ียวกับอัตราส่วนและร้อยละ จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้นทาให้ผู้วิจัย สนใจท่ีจะพัฒนาในเร่ือง อัตราส่วนและร้อยละ โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เพื่อศึกษากระบวนการคิด และการคานวณจากผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 และนาข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุง แก้ไข เปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใน รายวชิ าคณิตศาสตร์ สค21001 สูงขึ้น และเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตอ่ ไป วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พค21001 เร่ือง อัตราส่วนและ ร้อยละของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 ท่ีมีปัญหาเร่ือง อัตราส่วนและร้อยละ ระหว่างกอ่ นและหลังการใชช้ ดุ แบบฝึกทกั ษะ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ กลมุ่ โซเฟยี 1 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พค21001 เร่อื ง อตั ราสว่ นและร้อยละ เพ่ิมสงู ขึ้น 2. ผ้เู รียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กล่มุ โซเฟยี 1 สามารถนาแบบฝกึ ทกั ษะคณิตศาสตร์เรื่อง อตั ราสว่ นและรอ้ ยละ ไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนในเนอ้ื หาอน่ื ๆ ทม่ี เี ก่ยี วขอ้ ง สมมติฐานของการวจิ ัย ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เร่ืองอัตราส่วนและร้อยละ ของผู้เรียน ผูเ้ รียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ กลุม่ โซเฟีย 1 ทม่ี ปี ัญหาในเรอ่ื งอัตราส่วนและร้อยละ หลังการใช้ชุด แบบฝกึ ทกั ษะจะสงู กวา่ กอ่ นใชช้ ดุ แบบฝกึ ทกั ษะ ขอบเขตของการวิจัย 1. กล่มุ ตัวอย่าง ผเู้ รยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 กลมุ่ โซเฟีย 1 จานวน 5 คน 2. ตัวแปรท่ศี กึ ษา 2.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ ชุดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เร่ือง อตั ราส่วนและร้อยละ 2.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลมุ่ โซเฟยี 1 ทมี่ ปี ัญหาในเร่ืองอตั ราสว่ นระหวา่ งกอ่ นและหลังการใชช้ ดุ แบบฝึกทกั ษะ 2

3. เวลา – สถานท่ี 3.1 เวลา 2 สปั ดาห์ ๆ ละ 3 ชว่ั โมง 3.2 สถานท่ี กศน.ตาบลดอน อาเภอปะนาเระ จงั หวดั ปัตตานี 4. เนื้อหาที่ใชใ้ นการวจิ ัย อัตราส่วน นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1. ชุดแบบฝึกทักษะ หมายถึง แบบฝึกที่ช่วยเสริมทักษะท่ีช่วยแก้ปัญหาในบทเรียนท่ีผู้เรียน เรยี นมาแล้ว โดยเนอื้ หาในแบบฝึกทักษะประกอบดว้ ยโจทยป์ ญั หาอัตราส่วนและร้อยละ นอกจากนี้ก็ จะประกอบไปดว้ ยชดุ แบบฝึกทักษะและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ท้ังก่อนและหลังการใช้ชุดแบบฝึก ทักษะ 2. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถทางการเรียนโดยวัดจากคะแนนที่ ไดจ้ ากการทาแบบทดสอบก่อน-หลงั การใช้แบบฝึกทกั ษะ 3. ผเู้ รยี น หมายถึง ผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 จานวน 5 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กศน.ตาบลดอน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อาเภอปะนาเระ จงั หวัดปตั ตานี 3

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง 2.1 เอกสารที่เกีย่ วข้อง ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องโดยได้จัดแยกหัวข้อไว้ เปน็ ตอนๆ ดังนี้ 2.1.1 หลกั สูตร 2.1.2 แบบทดสอบก่อนและหลังใชช้ ดุ แบบฝึกทกั ษะ 2.1.3 ชดุ แบบฝึกทักษะ 2.2 งานวิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวกับแบบฝึกทกั ษะ งานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้องกับเรื่องแบบฝึกทักษะการคิดคานวณ วิธีการ และแนวคิดท่ีเกี่ยวกับการ สร้างแบบฝึกทกั ษะการคิดคานวณ ซ่ึงจะนามาเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองที่วิจัยคร้ังน้ีทั้ง งานวิจัยของนักการศึกษา ดงั น้ี ยุพดี กะจะวงษ์และคณะ (2535 : 23-24) ได้ทาการวิจัยเร่ืองการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณติ ศาสตร์ เรอื่ งการคูณและการหารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 จากการสอน โดยใช้แบบฝึกหดั ในแบบเรยี นและแบบฝึกหดั ทักษะที่สร้างขึน้ โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พอ่ื 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาเรื่อง การคูณและการหารของ นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 จากการสอนโดยใช้แบบฝกึ หัดในแบบเรยี นและแบบฝกึ หัดที่สร้างขึ้น 2. เพ่อื เปรียบเทยี บความสามารถในการวิเคราะหโ์ จทยป์ ญั หาเรื่องการคณู และการหารของ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4จากการสอนโดยใช้แบบฝึกหดั ในแบบเรยี นและแบบฝึกหัดท่สี ร้างขน้ึ ผลการวจิ ยั ปรากฎว่า ความสามารถในการแก้โจทยป์ ัญหาของกล่มุ ทดลองที่ 1 กบั กลุม่ ที่ 2 แตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.01 และความสามารถในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาของ กลุ่มที่ 1 กับกลมุ่ ท่ี 2 แตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05 พมิ พร์ ตั น์ ศริ ิธร (2530) ไดท้ าการวิจยั เร่ืองการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เร่ือง เศษส่วน ระหว่างนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกพิเศษกับการเรียนตามปกติกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ ทดลองครงั้ น้ีเป็นนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนวิหารเบิก (กาณจนานุกุล) อาเภอเมือง จงั หวัดพัทลงุ จานวน 60 คน ผลการทดลองพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้ แบบฝกึ ทกั ษะพิเศษกับนักเรยี น ที่เรยี นตามปกตแิ ตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ผลการวิจัยสอดคล้องกับการวิจัย ของสณุ ี วิไลชนม์ (2530) ทศ่ี ึกษาเรอื่ งการพฒั นาทกั ษะการคิดเลขเรว็ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 6 โรงเรียนเทพนิมิต โดยการใช้แบบฝกึ ทักษะการคดิ เลขเร็ว ผลการทดลองพบว่า ทักษะการคิดเลข เร็วก่อนฝึกทักษะและหลังฝึกทักษะของนักเรียนกลุ่มทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.01 ศิริลักษณ์ ทองบุ (2539 : 85) ทาการวิจัยเกี่ยวกับการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะวิชา คณิตศาสตร์เรื่องโจทย์ปัญหาการคูณ การหาร ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปรากฏว่าผลสัมฤทธ์ิทางการ 4

เรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ 0.01 จากงานวิจัยที่กล่าวมาข้างต้น จะพบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังการใช้แบบฝึกทักษะการคิด คานวณแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญกับคะแนนเฉลี่ยก่อนการใช้แบบฝึกทักษะการคิดคานวณ ทาให้ผู้วิจัยมีความสน ใจท่ีจะ ศึกษาการใช้แบบฝึกทักษะ เพ่ือ ศึกษาความก้าวหน้าทาง การเรียน คณติ ศาสตร์ของนักเรียนท่ีได้รับการฝึกโดยใช้แบบฝึกทักษะที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนและเพ่ือเป็นแนวทางใน การสรา้ งแบบฝึกทักษะที่มีประสิทธิภาพ อันจะนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน เพอ่ื ชว่ ยใหน้ กั เรยี นมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าคณิตศาสตรด์ ีขึน้ มกี ารพัฒนาทางความคิดและความ ชานาญในทกั ษะดา้ นคณติ ศาสตรม์ ากขึ้นต่อไป 3. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ชุดแบบฝึกทกั ษะ เน้ือหาและวธิ ีการคิด เรื่องอตั ราส่วนและ เรื่องอตั ราส่วนและ รอ้ ยละ ร้อยละ 5

บทท่ี 3 วิธดี าเนินการวิจยั การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น รายวิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เร่อื ง อัตราสว่ นและร้อยละ สาหรบั ผู้เรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กลุ่มโซเฟยี 1 โดยใช้ชุดแบบฝึกทกั ษะ มวี ธิ กี ารวิจยั ดงั น้ี 1. กลมุ่ ตวั อยา่ ง 2. แบบแผนการวิจยั 2. เครือ่ งมอื และวธิ ีสร้างเครอ่ื งมือการวิจัย 3. วิธีดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 4. วธิ ีการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง กลุม่ ตวั อยา่ ง ได้แก่ ผูเ้ รียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กลุม่ โซเฟีย 1 ศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปะนาเระ ที่มีปัญหาในเรื่องอัตราส่วนและร้อยละ จานวน 5 คน 2. แบบแผนการวจิ ยั แบบแผนการวิจัย การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ผู้วิจัยได้ดาเนินการ ทดลองโดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังทดลอง (one group pretest posttest design) ตารางท่ี 1 แสดงแบบแผนการวจิ ัยกลมุ่ เดยี วสอบก่อนและหลงั เรยี น สอบกอ่ น ทดลอง สอบหลงั T1 X T2 สญั ลักษณ์ที่ใช้ T1 = การทดสอบกอ่ นเรยี นวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน X = แบบฝกึ ทกั ษะเร่ืองอตั ราส่วน T2 = การทดสอบหลังเรียนวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 6

3. เครื่องมอื และวิธีสรา้ งเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.1 เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการเกบ็ รวมรวมขอ้ มูลประกอบดว้ ย 3.1.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ืองอตั ราส่วนและรอ้ ยละ 3.1.2 แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ งอัตราส่วนและร้อยละ 3.1.3 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เร่ือง อัตราส่วนและร้อยละ จานวน 20 ขอ้ ซง่ึ เป็นข้อสอบปรนยั 4 ตวั เลอื ก 3.2 วธิ ีการสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ 3.2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองอัตราส่วนและร้อยละ จานวน 2 แผน เวลาเรียน 6 ชั่วโมง ผวู้ จิ ยั ได้ดาเนนิ การสรา้ ง และหาคณุ ภาพเคร่อื งมือ 3.2.2 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เรือ่ ง อัตราส่วนและรอ้ ยละ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ เป็นเครื่องมือ วัดผลท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนสาหรับใช้ทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน มี ลกั ษณะเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ โดยมีขั้นตอนในการสร้าง และหาคณุ ภาพดงั นี้ 3.2.2.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 และหลักสูตร กลมุ่ สาระความรพู้ ้นื ฐาน วิชาคณิตศาสตร์ 3.2.2.2 ศกึ ษาวิธสี ร้างแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 3.2.2.3 สร้างตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ เรื่อง อัตราส่วนและเขียน ข้อสอบให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมตามแนวคิดของบลูมแ ละคณะ (1956) จานวน 20 ขอ้ 3.2.2.4 นาแบบทดสอบท่ีผ่านการคัดเลือกและหาคุณภาพครบทุกข้ันตอนมา จัดพมิ พ์เพ่อื ใช้เปน็ เครือ่ งมือวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี นกลมุ่ ตัวอยา่ ง 4. วิธดี าเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจัยได้ดาเนินการเกบ็ รวมรวมขอ้ มูลโดยการดาเนนิ การทากิจกรรมชดุ แบบฝึกทกั ษะด้วย ตนเอง กับผเู้ รยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น กลุ่มโซเฟยี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ที่มีปัญหา เร่อื งอัตราส่วน จานวน 5 คน ซ่งึ มขี ัน้ ตอนในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลดังนี้ 1. ทาการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) โดยใช้แบบทดสอบ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ จานวน 10 ขอ้ 2. ทดลองใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ กับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ท่ีมีปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไม่ผ่าน เกณฑก์ ารประเมิน 3. ทาการทดสอบหลังเรียน(Posttest) โดยใช้แบบทดสอบ เร่ืองอัตราส่วน จานวน 10 ข้อ ซึง่ เปน็ แบบทดสอบชุดเดยี วกบั การทดสอบกอ่ นเรยี น(Pretest) 7

5. วิธีการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู 5.1 การวิเคราะหข์ อ้ มูลในการวิจัยคร้ังนี้ ผ้วู ิจัยไดใ้ ชก้ ารวิเคราะหข์ ้อมลู ดังนี้ 5.1.1 สถติ ิพืน้ ฐาน ได้แก่ 5.1.1.1 ค่าเฉลย่ี (Mean) ของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรยี น โดยคานวณจากสูตร X = X N เมื่อ X แทน ค่าเฉลย่ี  X แทน ผลรวมทัง้ หมดของข้อมูล N แทน จานวนนักเรยี นในกลุม่ ตวั อยา่ ง 5.1.2 สถิติทใี่ ช้หาคุณภาพของเครอ่ื งมอื 5.1.2.1 หาดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ือง พลังงานความรอ้ น โดยคานวณจากสตู ร เม่ือ IOC IOC   R ∑R N N แทน ดชั นีความสอดคล้องระหว่างขอ้ สอบกับจุดประสงค์ แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นของผู้เช่ยี วชาญ แทน จานวนผ้เู ชี่ยวชาญ 8

บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่อง อัตราส่วนและ ร้อยละ สาหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ผู้วิจัยเสนอ ผลการวจิ ยั ดงั น้ี ตารางท1่ี แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรยี นของนกั เรยี นแต่ละคน ท่ี ชอ่ื - สกุล คะแนนก่อน ร้อยละของ คะแนน รอ้ ยละ ใชช้ ดุ แบบ คะแนน หลัง ของ 1 นายบัสริน ยีหามะ ฝกึ ทักษะ ท้ังหมด ใชช้ ดุ แบบ คะแนน 2 นายฮากิม มูน๊ะ ฝึกทักษะ ทง้ั หมด 3 นายมฮู าหมัดฟุดัยล์ สะนิ 3 30 4 นางสาวรสุ ฟีนี มะ 2 20 8 80 5 นายนิอาตฟิ ดอเลาะ 4 40 4 40 8 80 คา่ เฉล่ีย 4 40 3.40 34.00 8 80 7 70 8 80 7.80 78.00 จากตาราง พบว่า การทดสอบกอ่ นใช้ชดุ แบบฝึกทกั ษะของผ้เู รยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 คะแนน และการทดสอบหลังใช้ชุดแบบฝึกทักษะของ ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 มีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 7.80 คะแนน และเมื่อ เปรียบเทยี บคะแนนก่อนและหลงั ใช้ชดุ แบบฝกึ ทกั ษะพบว่า คะแนนสอบหลังใช้ชุดแบบฝึกทักษะของ ผู้เรยี นสงู กวา่ ก่อนใชช้ ดุ แบบฝกึ ทักษะ 9

บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรปุ ผลการวิจัย ผลการวิจยั เรือ่ ง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวิชาคณิตศาสตร์ พค 21001 เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละ สาหรับผ้เู รยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กลุ่มโซเฟีย 1 โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ พบวา่ จากผลการเปรียบเทียบคะแนนการสอบก่อนการใช้ชุดแบบฝึกทักษะและหลังการใช้ชุด แบบฝึกทักษะพบวา่ นักเรียนจานวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ของกลมุ่ ตวั อย่างท่ีมรี ะดับผลการเรียน ดีขึ้นสอบได้ผ่านเกณฑ์ 60% ขึ้นไปและจากการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังการใช้ชุดแบบฝึก ทกั ษะ การเปรียบเทียบร้อยละของคะแนนกอ่ นและหลังการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ และการเปรียบเทียบ คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลงั การใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ของผู้เรียนท้ังหมดน้ีชี้ให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์ พค21001 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลมุ่ โซเฟีย 1 หลงั การใชช้ ดุ แบบฝึกทกั ษะสงู กวา่ กอ่ นใช้ชุดแบบฝึกทักษะ สรุปได้ว่าชุดแบบฝึกทักษะ นีม้ ีคุณภาพและประสิทธิภาพอยู่ในระดับทน่ี ่าพอใจ อภปิ รายผล การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้น กลุ่มโซเฟีย 1 จานวน 5 คน หลังการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ สูงกว่าก่อนการใช้ชุด แบบฝึกทักษะโดยมคี ะแนนเฉลี่ยกอ่ นการใชช้ ุดแบบฝึกทักษะเท่ากับ 3.40 และคะแนนเฉลี่ยหลังการ ใช้ชดุ แบบฝกึ ทักษะเทา่ กับ 7.80 ซึ่งเปน็ ไปตามสมมตฐิ านทตี่ ้งั ไว้ ข้อเสนอแนะ จากผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ครั้งน้มี ีข้อเสนอแนะเพื่อประโยชนต์ ่อการศึกษาดงั น้ี 1. ก่อนนาชดุ แบบฝกึ ทักษะไปใช้ผู้สอนควรศึกษารายละเอียดของทกุ กจิ กรรมก่อนนาไปใช้ 2. ผู้สอนควรตรวจชุดแบบฝกึ ทักษะอย่างเป็นปจั จุบนั เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นรู้ผลทันที พร้อมกบั เฉลยคาตอบที่ถกู ตอ้ งใหผ้ ู้เรียนได้รทู้ ุกคร้ัง 10

บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2560). หนังสือเรียนสาระความรู้พ้ืนฐาน วิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ. พิมพ์รตั น์ ศิริธร (2530). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องเศษส่วน ระหว่างนักเรียนท่ี เรียนโดยใช้แบบฝึกพิเศษกับการเรียนตามปกติกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการทดลองคร้ังน้ีเป็น นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ของโรงเรียนวิหารเบิก (กาณจนานุกุล) อาเภอเมือง จังหวัด พทั ลงุ วทิ ยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบณั ฑติ . เชียงราย: มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เชียงราย. ยุพนิ พิพิธกลุ . (2530). คณติ ศาสตร์ประยกุ ต์ (พิมพ์คร้ังท่ี 1). กรุงเทพฯ: เมธที ปิ ส์ พับลเิ ดชัน่ . ยุพดี กะจะวงษ์ และคณะ. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมถทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การคูณและการ หาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากการสอนโดยการใช้แบบฝึกหัดในบทเรียนและ แบบฝกึ หัดทสร้างขนึ้ . วารสารการวิจัยทางการศึกษา (ตุลาคม – ธันวาคม 2535 ) หน้า 18- 22 สมพร จารุนัฎ.(2540). การเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. ศิริลักษณ์ ทองบุ (2539). การสรา้ งแบบฝึกเสริมทักษะวิชาคณิตศาสตร์เร่ืองโจทย์ปัญหาการคูณ การ หาร ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 วทิ ยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา. 11

ภาคผนวก 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook