บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 51 16 สาขา ท่ไี หลลงแม่น�ำ้ ยม ได้แก่ ลมุ่ น�ำ้ แมแ่ คม ลุ่มนำ้� แมส่ าย ล่มุ น�้ำแมต่ า้ ลุ่มน�้ำแม่หล่าย ลมุ่ น�้ำแม่ค�ำมี ลุ่มนำ�้ แม่ พวก ลุม่ น�ำ้ แม่สอง ล่มุ น�ำ้ แมม่ าน ล่มุ น�้ำแม่สรอย ลมุ่ นำ้� แมถ่ าง ลุ่มน้ำ� แม่พงุ ล่มุ น�ำ้ แม่ลาน ลุ่มน้ำ� แม่จอก ลุ่มน้�ำแม่ ยางหลวง ล่มุ นำ้� แม่เกิง๋ ล่มุ น�ำ้ งาว โครงการสง่ นำ้� และบำ� รงุ รกั ษาแมย่ ม เปน็ โครงการชลประทานประเภท เหมอื งฝาย แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น คอื หัวงานฝายแมย่ ม และระบบการสง่ น้�ำ ดงั ต่อไปน้ี หวั ฝายแมย่ ม สรา้ งกน้ั แมน่ ำ�้ ยมทบ่ี า้ นหนนุ เหนอื อำ� เภอสอง ทางเขา้ หวั งานแยกจากถนนใหญท่ จ่ี ะไปอำ� เภอสอง เขา้ ไป 3 กม. หรือห่างจากทีต่ ้งั จงั หวดั แพร่ ประมาณ 52 กม. เพ่ือทดน้ำ� ในล�ำนำ�้ ยมให้สงู พอทจี่ ะไปใหพ้ ืน้ ท่ีในระบบ การสง่ น�ำ้ ระบบการสง่ นำ�้ เพอ่ื สง่ นำ้� ใหพ้ นื้ ทเี่ พาะปลกู ในทงุ่ ราบทงั้ สองฝง่ั ในเขตอำ� เภอสอง อำ� เภอหนองมว่ งไข่ อำ� เภอ เมอื ง อำ� เภอสงู เม่น และอำ� เภอเด่นชยั รวม 224,000 ไร่ การจดั การนำ�้ ฤดฝู น รบั นำ้� จากแมน่ ำ้� ยม ทฝ่ี ายแมย่ มเขา้ คลองสง่ นำ�้ สายใหญฝ่ ง่ั ซา้ ยและฝง่ั ขวา เปน็ การสง่ นำ้� แบบตลอดเวลา มกี ารควบคมุ ปรมิ าณนำ�้ ทเ่ี ขา้ คลองสง่ นำ้� ทป่ี ระตรู ะบายปากคลองสง่ นำ�้ ทง้ั สองฝง่ั และมอี าคารชลประทานทที่ ำ� หนา้ ที่ ทดน�้ำเป็นสว่ นๆ ตลอดความยาวคลองส่งน�ำ้ ในกรณีทน่ี ำ้� ยมมปี รมิ าณมาก และมฝี นตกในพื้นทม่ี าก กจ็ ะท�ำการลด เพ่ือปิดประตูระบายท้ังสองฝั่งเพ่ือรับน�้ำป่าเข้าคลองส่งน�้ำทางอาคารรับน�้ำเข้าคลอง และระบายน�้ำท้ิงลงล�ำห้วย ธรรมชาติตามอาคารระบายน้�ำแต่ละแห่ง เพ่ือลดการเกดิ อทุ กภยั ในพ้นื ท่ีของเกษตรกร ฤดแู ลง้ เนอ่ื งจากปรมิ าณนำ�้ ในแมน่ ำ�้ ยมมนี อ้ ย ไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของเกษตรกรทต่ี อ้ งการเพาะปลกู พชื ฤดแู ลง้ มกี ารจดั การนำ�้ แบบ Zoning Area โดยใหท้ กุ ภาคสว่ นเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกระบวนการแกป้ ญั หา เพอ่ื ลด ความเสยี หายจากการเพาะปลกู และลดความขดั แยง้ และปญั หามวลชนในพน้ื ท่ี แผนการสง่ นำ้� แผนการสง่ นำ้� ในช่วง ฤดแู ล้ง 15 ธนั วาคม - 15 มีนาคม ของทกุ ปี ฤดูฝน 15 มิถนุ ายน - 15 พฤศจกิ ายน ของทกุ ปี พน้ื ทชี่ ลประทาน แยกรายอำ� เภอ พน้ื ทชี่ ลประทานทง้ั หมด 196,000 ไร่ แยกเปน็ รายอำ� เภอ ดงั นี้ อำ� เภอเมอื งแพร ่ มพี นื้ ท ี่ 56,746 ไร่ อำ� เภอสงู เมน่ มพี น้ื ท ่ี 55,507 ไร่ อำ� เภอเดน่ ชยั มพี นื้ ท ่ี 15,917 ไร่ อำ� เภอสอง มพี น้ื ท ี่ 36,528 ไร่ อำ� เภอหนองมว่ งไข ่ มพี นื้ ท ี่ 31,302 ไร่
52 บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 พน้ื ทเ่ี พาะปลกู พื้นท่ีเพาะปลกู ฤดแู ล้ง ยอ้ นหลงั 3 ปี (พ.ศ. 2560/61 - 2562/63) พชื ฤดแู ลง้ ปี พ.ศ. ขา้ ว ยาสบู ถว่ั เหลือง ถั่วลิสง ขา้ วโพด กระเทียม หอม พริก พืชอ่นื ๆ รวม นาปรงั 140 65,036 2560/61 27,136 1,255 2,597 101 33,621 47 20 119 55 69,994 205 70,055 2561/62 26,339 2,029 2,705 53 38,590 52 12 159 109 62,910 2562/63 33,045 2,305 1,384 45 32,912 40 10 109 2563/64 31,740 858 1,483 50 28,613 5 - 52 พ้นื ทีเ่ พาะปลกู ฤดฝู น ย้อนหลัง 3 ปี (พ.ศ. 2561 - 2563) ปี พ.ศ. ขา้ วนาปี (ไร)่ พืชฤดฝู น รวม พชื (ไร)่ 2561 184,543 5,292 189,835 2562 184,496 5,474 189,970 2563 182,976 4,979 187,955 2564 180,829 5,071 185,900 ทีม่ า : โครงการส่งนำ�้ และบำ� รุงรกั ษาแม่ยม, ขอ้ มลู ณ เดือนตลุ าคม 2564 ทรพั ยากรปา่ ไม้ จังหวัดแพร่ มีพ้ืนที่ทั้งหมดประมาณ 4,051,912.64 ไร่ ปัจจุบันมีเนื้อที่ป่า จ�ำนวน 2,627,577.17 ไร ่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 64.85 ของพน้ื ทจ่ี ังหวดั (ขอ้ มลู สภาพพนื้ ทปี่ ่าไม้จากการแปรภาพถ่ายจากดาวเทยี ม ปี 2563) จ�ำแนก เขตการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ออกเปน็ 3 เขต ดังนี้ 1. เขตป่าเพอ่ื การอนรุ กั ษ์ (Zone C) เน้อื ที่ 2,009,989.27 ไร่ 2. เขตปา่ เพ่อื เศรษฐกิจ (Zone E) เนอ้ื ที่ 1,096,650.56 ไร่ 3. เขตป่าท่ีเหมาะสมกบั การเกษตรกรรม (Zone A) เน้ือท่ี 31,344.78 ไร่ 4. พ้ืนท่เี อกชน เนื้อที่ 913,928.03 ไร่ มจี �ำนวนและพนื้ ท่ีป่าแยกประเภทไดด้ งั นี้
บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 53 ป่าสงวนแห่งชาติ มีจ�ำนวน 27 ป่า เนอ้ื ที่ 2,976,888 ไร่ ที่ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ กฎกระทรวง/ ที่ตง้ั เนือ้ ที่ เน้อื ท่ี เนือ้ ท่ี ฉบับท่ี ท้ังหมด สง่ มอบ สปก. ปัจจุบนั (ไร่) (ไร)่ (ไร่) 1 ป่าแมส่ อง 585 ต.สะเอียบ, เตาปูน, บ้านกลาง 359,593 18,155 341,438 อ.สอง จ.แพร่ 137,500 0 14,637 2 ปา่ แมป่ งุ และปา่ แมเ่ ปา้ 604 ต.สะเอียบ, เตาปนู อ.สอง จ.แพร่ 137,500 2,400 54,137 5,600 181,725 3 ป่าหว้ ยปอ้ ม 107 ต.บ้านหนุน, หัวเมอื ง, บ้านกลาง 17,037 28,275 110,149 อ.สอง จ.แพร่ 52,351 69,726 4 ปา่ แม่ยาง 396 ต.แมย่ างฮ่อ, ร้องกวาง 59,737 4,024 174,218 อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 7,032 237,975 7,650 11,140 5 ป่าแมค่ �ำมี 277 ต.ไผ่โทน, รอ้ งเขม็ , ร้องกวาง 210,000 850 44,212 อ.รอ้ งกวาง จ.แพร่ 5,288 129,825 22,950 104,968 6 ปา่ แม่เติก๊ ปา่ แมถ่ าง 220 ต.นำ้� เลา, บ้านเวยี ง, หว้ ยมา้ , 162,500 60,057 และปา่ แมก่ �ำปอง น้ำ� ชำ� , บ้านถ่ิน อ.ร้องกวาง, 0 110,131 อ.เมือง จ.แพร่ 2,443 34,744 6,119 7 ปา่ แม่แคม 445 ต.บา้ นถิ่น, สวนเขอื่ น อ.เมือง 73,750 15,531 จ.แพร่ 8 ป่าแมก่ อ๋ น และ 78 ต.บ้านกวาง, บ้านเหล่า, หวั ฝาย, 181,250 ป่าแม่สาย ปา่ แดง อ.เมือง, สูงเมน่ จ.แพร่ 9 ปา่ แมย่ มตะวนั ตก 635 ต.เตาปนู , บา้ นกลาง, หว้ ยหม้าย, 245,625 วงั หลวง อ.สอง จ.แพร่ 10 ปา่ แม่แฮด 562 ต.ทงุ่ แคว้ , นำ้� รดั , วงั หลวง อ.สอง, 11,990 หนองม่วงไข่ จ.แพร่ 11 ปา่ ห้วยเบย้ี และ 267 ต.วังหงส์, ท่าข้าม, วงั ธง, ปา่ แมต 49,500 ป่าห้วยบอ่ ทอง อ.เมือง จ.แพร่ 12 ป่าแมต่ า้ ตอนขนุ 152 ต.เวยี งต้า,ตา้ ผามอก อ.ลอง 152,775 จ.แพร่ 13 ป่าแมต่ ้าฝั่งซา้ ย 335 ต.ต้าผามอก, บา้ นปิน อ.ลอง 104,968 จ.แพร่ 14 ปา่ แมต่ ้าฝัง่ ขวาตอนใต้ 574 ต.ต้าผามอก, บ้านปิน อ.ลอง 62,500 จ.แพร่ 15 ป่าแม่ลาน และ 102 ต.บ้านปิน, ห้วยออ้ , หัวทุ่ง อ.ลอง 116,250 ปา่ แม่กาง จ.แพร่ 16 ปา่ แมป่ ง และปา่ แมล่ อง 825 ต.หัวทงุ่ , ทุ่งแลง้ อ.ลอง จ.แพร่ 50,275
54 บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 ท่ี ป่าสงวนแห่งชาติ กฎกระทรวง/ ท่ตี ั้ง เนอื้ ที่ เนื้อที่ เนอ้ื ที่ ฉบับท่ี ทัง้ หมด ส่งมอบ สปก. ปจั จบุ นั (ไร่) (ไร่) (ไร่) 17 ปา่ แมล่ ู่ และปา่ แมแ่ ปน๋ 124 ต.บา้ นเปน่ิ , หว้ ยออ้ , ทงุ่ แลง้ , 84,375 15,657 68,718 ปากกาง อ.ลอง จ.แพร่ 18 ปา่ แมแ่ ย้ และปา่ แมส่ าง 86 ต.ป่าแมต, เวียงทอง, รอ่ งกาศ, 79,687 2,430 77,257 สบสาย, บา้ นปง อ.เมือง, สงู เมน่ , เด่นชัย จ.แพร่ 19 ป่าแม่ปาน 395 ต.ไทรย้อย, เดน่ ชยั อ.เดน่ ชยั 38,125 8,880 29,245 จ.แพร่ 20 ปา่ แม่เขก็ 1,079 ต.หวั ฝาย, บา้ นเหลา่ อ.สงู เมน่ 35,000 0 35,000 จ.แพร่ 21 ป่าแม่จั๊วะ และ 207 ต.แมจ่ ๊วั ะ, หัวฝาย อ.เด่นชัย, 40,625 4,950 35,675 ป่าแมม่ าน สงู เมน่ จ.แพร่ 22 ป่าแม่จวั๊ ะฝง่ั ซ้าย 1,089 ต.แมจ่ วั๊ ะ, หว้ ยไร่ อ.เดน่ ชยั จ.แพร่ 16,875 631 16,244 23 ป่าแมพ่ วก 77 ต.เดน่ ชัย, แมจ่ ๊วั ะ, ห้วยไร,่ 108,062 2,792 105,270 ไทรยอ้ ย อ.เด่นชยั จ.แพร่ 24 ปา่ บอ่ แก้ว ป่าแม่สงู 361 ต.แมป่ าน, นาพนู , ไทรยอ้ ย 137,500 24,532 112,968 และปา่ แม่สิน อ.ลอง, วงั ชน้ิ , เด่นชยั จ.แพร่ 25 ป่าแมย่ มฝั่งตะวนั ออก 273 ต.วงั ช้นิ , นาพูน อ.วังชิ้น จ.แพร่ 178,489 51,987 126,502 26 ป่าแม่เกงิ๋ 551 ต.แม่ปา้ ก,แมเ่ กง๋ิ ,แมพ่ ุง อ.วงั ชนิ้ 102,275 5,813 96,462 จ.แพร่ 27 ปา่ แม่สรอย 531 ต.สรอย, แม่พุง, ปา่ สกั , วงั ช้ิน 160,625 10,444 150,181 อ.วังช้ิน จ.แพร่ รวม 2,976,888 306,782 2,670,106 วนอทุ ยานแหง่ ชาติ มจี �ำนวน 3 แห่ง เน้อื ที่ 5,104 ไร่ ดงั น้ี ที่ วนอทุ ยานแหง่ ชาติ ท่ตี ้ัง เน้อื ที่ เนอื้ ท่ีอยูใ่ น พ้นื ทป่ี ่า แหลง่ นำ้� ท้งั หมด จ.แพร่ สมบูรณ์ (ไร่) (ไร่) (ไร)่ (ไร)่ 4 0 1 แพะเมอื งผี ต.น้ำ� ช�ำ อ.เมือง จ.แพร่ 167 167 163 168 450 2 ผาหลักหม่ืน ต.แมป่ าน อ.ลอง จ.แพร่ 4,375 4,375 4,375 3 ม่อนแกว้ -มอ่ นเดง็ ต.หว้ ยมา้ อ.เมอื ง จ.แพร่ 562 562 394 รวม 1,281,289 698,979 664,666
บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 55 อทุ ยานแห่งชาติ มจี �ำนวน 4 แหง่ เน้ือท่ี 698,979 ไร่ ดงั น้ี ที่ อุทยาน ทตี่ ั้ง เนอื้ ท่ี เนื้อทอ่ี ยใู่ น พ้นื ที่การใช้ พน้ื ทีป่ า่ แหลง่ นำ�้ แหง่ ชาติ ท้งั หมด จ.แพร่ ประโยชน์ สมบูรณ์ (ไร่) (ไร่) (ไร่) (ไร่) (ไร)่ 1 แม่ยม ต.สะเอยี บ อ.สอง จ.แพร่ 284,218 274,426 26,617 247,808 276 2 ดอยผากลอง ต.ต้าผามอก อ.ลอง จ.แพร่ 117,982 117,982 1,664 116,317 107 3 เวยี งโกศยั ต.แมเ่ กงิ๋ อ.วงั ชนิ้ จ.แพร่ 256,250 131,571 669 130,902 67 4 ล�ำน�้ำน่าน ต.สวนเข่ือน, ต.ช่อแฮ 622,839 175,000 5,360 169,639 0 ต.ป่าแดง อ.เมอื ง จ.แพร่ รวม 1,281,289 698,979 34,310 664,666 450 เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ปา่ มีจ�ำนวน 2 แห่ง เน้ือท่ี 168,205 ไร่ ดงั น้ี ท่ี เขตรกั ษาพันธุ์สัตว์ปา่ ทตี่ ง้ั เน้ือท่ี เน้ือทอี่ ย่ใู น พนื้ ที่ปา่ แหล่งน�ำ้ ท้งั หมด จ.แพร่ สมบูรณ์ (ไร)่ (ไร่) (ไร่) (ไร)่ 0 1 ดอยหลวง ต.บ้านกลาง และ 60,625 60,625 60,625 0 ต.หว้ ยหม้าย อ.สอง จ.แพร่ 0 2 ลำ� นำ้� นา่ นฝ่งั ขวา ต.หัวฝาย อ.สงู เม่น จ.แพร่ 146,875 80,374 80,374 รวม 234,706 168,205 168,205 เขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ มจี ำ� นวน 1 แหง่ เนือ้ ท่ี 27,206 ไร่ ดังนี้ เนอ้ื ท่ี เน้ือทอี่ ยูใ่ น พ้ืนทป่ี า่ แหลง่ นำ้� ที่ เขตห้ามลา่ สัตว์ปา่ ทีต่ ั้ง ทัง้ หมด จ.แพร่ สมบรู ณ์ (ไร)่ 0 (ไร่) (ไร่) (ไร่) 1 ช้างผาด่าน ต.สวนเข่ือน อ.เมือง จ.แพร่ 27,206 27,206 27,206
56 บรรยายสรปุ จงั หวดั แพร่ ปี 2565 สวนรุกขชาติ มีจ�ำนวน 4 แห่ง เนอื้ ท่ี 217 ไร่ ดงั น้ี ที่ สวนรุกขชาติ เนื้อทที่ ั้งหมด เนอ้ื ทอี่ ย่ใู น เนอ้ื ทีป่ ัจจบุ ัน 1 ชอ่ แฮ ที่ตัง้ (ไร่) จ.แพร่ 2 ห้วยโรง 52 3 ห้วยทรายขาว (ไร่) 104 4 เชตวัน 25 ต.บ้านกลาง และ ต.หว้ ยหมา้ ย 52 52 36 อ.สอง จ.แพร่ 217 ต.บา้ นกลาง และ ต.ห้วยหมา้ ย 104 104 อ.สอง จ.แพร่ ต.บา้ นกลาง และ ต.ห้วยหมา้ ย 25 25 อ.สอง จ.แพร่ ต.หวั ฝาย อ.สูงเม่น จ.แพร่ 36 36 รวม 217 217 ท่มี า : ส�ำนกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจงั หวดั แพร,่ ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 26 ตุลาคม 2564 ด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบสาธารณูปโภค การชลประทาน จงั หวดั แพร่ มแี หลง่ นำ�้ ชลประทาน จำ� นวน 224 แหง่ ประกอบดว้ ย แหลง่ นำ�้ ชลประทานขนาดใหญ่ จำ� นวน 1 แห่ง ขนาดกลาง จำ� นวน 8 แห่ง และขนาดเลก็ จำ� นวน 129 แห่ง โดยแยกเป็นโครงการขนาดเล็กอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชด�ำริ จำ� นวน 39 แหง่ และสถานีสูบน�ำ้ ดว้ ยไฟฟา้ จ�ำนวน 47 แห่ง อ่างเก็บน้�ำแม่คำ� ปอง อ.รอ้ งกวาง
บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 57 ตารางแสดงข้อมลู แหลง่ นำ้� ท่ีพฒั นาโดยกรมชลประทาน โครงการชลประทานขนาดใหญ่ (1 โครงการ) สถานทตี่ ัง้ ปริมาณ ปริมาณ พนื้ ท่ี พน้ื ที่ พน้ื ที่ ขนาด ชอื่ ความจุ ความจเุ กบ็ กกั โครงการ ชลประทาน รบั ประโยชน์ ใหญ่ ฝายแมย่ ม (ลบ.ม.) (ลบ.ม.) (ไร่) (ไร่) (ไร)่ อ.สอง - - 224,000 196,000 28,000 โครงการชลประทานขนาดกลาง (8 โครงการ) ปริมาณ ปรมิ าณ พ้นื ท่ี พน้ื ที่ พน้ื ที่ ขนาด ชื่อ สถานที่ตง้ั ความจุ ความจเุ กบ็ กกั โครงการ ชลประทาน รับประโยชน์ (ลบ.ม.) (ลบ.ม.) (ไร)่ (ไร)่ (ไร่) กลาง ฝายท่งุ ไผ่ อ.สอง - - 12,266 10,178 2,088 กลาง อ่างเกบ็ นำ้� แมส่ อง อ.สอง 85,000,000 65,800,000 27,311 19,338 7,973 กลาง ฝายหว้ ยบาตร อ.รอ้ งกวาง - - 5,364 3,647 1,717 กลาง อา่ งเก็บน้�ำแมค่ ำ� ปอง อ.รอ้ งกวาง 8,200,000 6,760,000 7,619 5,300 2,319 กลาง อา่ งเกบ็ นำ้� แมถ่ าง อ.รอ้ งกวาง 35,200,000 30,620,000 29,025 21,228 7,797 กลาง ฝายทา่ ช้าง อ.เมอื งแพร่ - - 5,191 3,346 1,845 กลาง อ่างเก็บน�้ำแม่สาย อ.สงู เมน่ 12,500,000 10,500,000 15,000 6,591 - กลาง อ่างเก็บน้�ำแมม่ าน อ.เมืองแพร่ 23,200,000 18,750,000 14,459 11,501 2,958 รวม 164,100,000 132,430,000 116,235 81,129 26,697 โครงการชลประทานอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริ (39 โครงการ) ขนาด สถานท่ตี ั้ง จำ� นวน ปรมิ าณ ปรมิ าณ พืน้ ที่ พ้ืนท่ี พ้ืนที่ โครงการ ความจุ ความจเุ กบ็ กกั โครงการ ชลประทาน รับประโยชน์ (ลบ.ม.) (ลบ.ม.) (ไร่) (ไร่) (ไร)่ เล็ก อ.สอง 15 12,466,000 10,718,000 24,870 7,795 17,075 เลก็ อ.รอ้ งกวาง 6 4,770,000 3,984,000 10,900 3,540 7,360 เลก็ อ.หนองม่วงไข่ 2 4,865,000 3,980,000 4,500 2,000 2,500 เล็ก อ.เมอื ง 6 3,695,000 3,084,000 14,000 2,000 9,060 เลก็ อ.สงู เมน่ -- - - - - เล็ก 39 34,149,000 28,964,500 72,070 19,355 47,195
58 บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 โครงการชลประทานอันเน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ (39 โครงการ) ขนาด สถานที่ตั้ง จ�ำนวน ปรมิ าณ ปริมาณ พน้ื ท่ี พืน้ ที่ พนื้ ที่ โครงการ ความจุ ความจเุ กบ็ กกั โครงการ ชลประทาน รับประโยชน์ เล็ก อ.เด่นชยั (ลบ.ม.) เล็ก อ.ลอง (ลบ.ม.) (ไร่) (ไร)่ (ไร)่ เล็ก อ.วังช้ิน 6,120 5 4,708,000 4,041,000 11,100 2,400 2,380 เลก็ 2,700 3 1,374,000 1,152,500 2,500 120 47,195 2 2,271,000 2,005,000 4,200 1,500 39 34,149,000 28,964,500 72,070 19,355 โครงการชลประทานขนาดเล็่ก (129 โครงการ) ขนาด สถานทต่ี งั้ จ�ำนวน ปริมาณ ปรมิ าณ พ้ืนท่ี พื้นที่ พื้นที่ โครงการ ความจุ ความจเุ กบ็ กกั โครงการ ชลประทาน รับประโยชน์ เลก็ อ.สอง (ลบ.ม.) เล็ก อ.ร้องกวาง (ลบ.ม.) (ไร่) (ไร่) (ไร)่ เลก็ อ.หนองม่วงไข่ 2,080 11,120 เลก็ อ.เมือง 15 3,149,000 2,473,000 13,200 3,250 13,650 เลก็ อ.สงู เมน่ 300 950 เลก็ อ.เด่นชยั 16 1,965,000 1,655,000 16,900 6,680 6,620 เล็ก อ.ลอง 1,500 เลก็ อ.วังชิน้ 2 340,000 300,000 1,250 - 3,000 7,030 36,250 รวม 15 2,002,000 1,598,000 13,300 12,950 28,800 5,350 101,890 4- - 1,500 37,640 12 3,634,000 3,466,000 10,030 37 12,993,000 10,847,000 49,200 28 4,293,000 3,911,000 34,150 129 28,376,000 24,249,900 139,530 ตารางแสดงข้อมูลโครงการสถานสี บู น�ำ้ ดว้ ยไฟฟา้ (47 โครงการ) ขนาด สถานท่ตี ั้ง จำ� นวน ปรมิ าณ ปรมิ าณ พื้นท่ี พื้นที่ พน้ื ท่ี โครงการ ความจุ ความจเุ กบ็ กกั โครงการ ชลประทาน รับประโยชน์ (ลบ.ม.) (ลบ.ม.) (ไร่) (ไร่) (ไร)่ เลก็ อ.สอง 6- - 6,100 2,350 3,750 เลก็ อ.ร้องกวาง - - - - - - เล็ก อ.หนองมว่ งไข่ 1 - - 1,200 - 1,200 เลก็ อ.เมอื ง 4- - 3,000 3,000 -
บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 59 ตารางแสดงข้อมลู โครงการสถานสี บู น้�ำดว้ ยไฟฟา้ (47 โครงการ) ขนาด สถานทต่ี ั้ง จ�ำนวน ปรมิ าณ ปรมิ าณ พ้ืนท่ี พืน้ ที่ พ้ืนที่ โครงการ ความจุ ความจเุ กบ็ กกั โครงการ ชลประทาน รบั ประโยชน์ (ลบ.ม.) (ลบ.ม.) (ไร)่ (ไร)่ (ไร่) - เล็ก อ.สูงเม่น 9- - - - 1,400 16,600 เลก็ อ.เดน่ ชยั 7 - - 3,000 1,600 4,450 27,400 เลก็ อ.ลอง 16 - - 20,050 3,450 เล็ก อ.วงั ช้นิ 4- - 4,500 1,550 รวม 47 - - 37,850 11,950 ที่มา : โครงการชลประทานแพร่, ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2564 การคมนาคมขนส่ง ทางบก จังหวดั แพร่ มเี สน้ ทางการคมนาคมทีต่ ดิ ต่อกับพ้นื ทจ่ี งั หวัดใกล้เคยี ง ดงั น้ี 1. ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ลำ� ปาง ตามทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 11 ระยะทางประมาณ 109 กิโลเมตร 2. ติดตอ่ กบั จงั หวดั นา่ น ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101 ระยะทางประมาณ 118 กิโลเมตร 3. ติดตอ่ กบั จังหวดั พะเยา ตามทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 103 ระยะทางประมาณ 141 กิโลเมตร 4. ติดต่อกบั จังหวัดอุตรดิตถ์ ตามทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 11 ระยะทางประมาณ 74 กโิ ลเมตร 5. ติดตอ่ กับ จังหวัดสโุ ขทยั ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101 ระยะทางประมาณ 165 กิโลเมตร มรี ะยะทางจากอ�ำเภอเมอื งแพรไ่ ปยังอ�ำเภออน่ื ๆ ในจงั หวดั ดงั นี้ 1. อ�ำเภอเมืองแพร่ - อำ� เภอเด่นชัย ระยะทางประมาณ 30 กม. 2. อ�ำเภอเมอื งแพร่ - อำ� เภอร้องกวาง ระยะทางประมาณ 30 กม. 3. อ�ำเภอเมืองแพร่ - อำ� เภอสอง ระยะทางประมาณ 49 กม. 4. อ�ำเภอเมอื งแพร่ - อำ� เภอสงู เมน่ ระยะทางประมาณ 11 กม. 5. อ�ำเภอเมืองแพร่ - อำ� เภอลอง ระยะทางประมาณ 43 กม. 6. อำ� เภอเมอื งแพร่ - อ�ำเภอวังช้นิ ระยะทางประมาณ 81 กม. 7. อำ� เภอเมอื งแพร่ - อำ� เภอหนองม่วงไข่ ระยะทางประมาณ 19 กม. ทีม่ า : แขวงทางหลวงชนบทแพร,่ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2564
60 บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 ทางรถไฟ จังหวดั แพร่ มีเส้นทางรถไฟสายเหนอื จากสถานีรถไฟกรงุ เทพ (หัวลำ� โพง) มายงั สถานีรถไฟเด่นชัย มีขบวน รถไฟเทย่ี วไปและเทีย่ วกลบั ผา่ นสถานีรถไฟในจังหวดั แพร่ จำ� นวน 8 เทยี่ ว ผู้โดยสารโดยเฉลีย่ รวมทั้งหมด จำ� นวน 200 คน/วนั โดยมีสถานรี ถไฟใหบ้ ริการรับ-สง่ ผโู้ ดยสาร จ�ำนวน 6 สถานี ไดแ้ ก่ 1. สถานรี ถไฟเดน่ ชยั เปน็ สถานรี ถไฟระดบั ชน้ั หนง่ึ อยหู่ า่ งจากสถานรี ถไฟกรงุ เทพเปน็ ระยะทาง 533.94 กม. 2. สถานบี า้ นปนิ เป็นสถานีรถไฟระดบั ช้นั สอง อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 563.86 กม. 3. สถานผี าคัน เปน็ สถานรี ถไฟระดับ ชัน้ สาม อยูห่ า่ งจากสถานรี ถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 578.46 กม. 4. สถานแี กง่ หลวง เปน็ สถานรี ถไฟระดบั ชนั้ สาม อยหู่ า่ งจากสถานรี ถไฟกรงุ เทพเปน็ ระยะทาง 546.94 กม. 5. สถานปี ากปาน เปน็ สถานรี ถไฟระดบั ชน้ั สาม อยหู่ า่ งจากสถานรี ถไฟกรงุ เทพเปน็ ระยะทาง 538.43 กม. 6. สถานหี ว้ ยไร่ เปน็ สถานรี ถไฟระดับ ชน้ั สาม อยหู่ ่างจากสถานีรถไฟกรงุ เทพเป็นระยะทาง 521.48 กม. ก�ำหนดเวลาเดินรถไฟ (เทย่ี วไป) ขบวนรถ ตน้ ทาง - ปลายทาง ต้นทางออก เวลาเข้า - ออก ปลายทางถงึ (สถานรี ถไฟเด่นชัย) 407 นครสวรรค์ - เชยี งใหม่ 05:00 10:12 10:13 14:35 ธรรมดา 111 กรุงเทพฯ - เดน่ ชยั 07:00 16:30 - 16:30 เรว็ 7 กรุงเทพฯ - เชียงใหม่ 08:30 15:23 15:24 19:30 ดว่ นพิเศษ 109 กรงุ เทพฯ - เชยี งใหม่ 13:45 23:39 23:42 04:05 เร็ว 9 กรุงเทพฯ - เชยี งใหม่ 18:10 02:48 02:51 07:15 ด่วนพเิ ศษ (CNR) กรงุ เทพฯ - เชยี งใหม่ 19:35 04:16 04:19 08:40 13 ด่วนพิเศษ 107 กรุงเทพฯ - เดน่ ชยั 20:10 05:15 - 05:15 เรว็ 51 กรงุ เทพฯ - เชยี งใหม่ 22:00 07:17 07:20 12:10 ดว่ น
บรรยายสรุปจงั หวดั แพร่ ปี 2565 61 ก�ำหนดเวลาเดนิ รถไฟ (เที่ยวกลับ) ขบวนรถ ตน้ ทาง - ปลายทาง ต้นทางออก เวลาเข้า - ออก ปลายทางถงึ (สถานรี ถไฟเดน่ ชยั ) 112 เด่นชยั - กรงุ เทพฯ 07:30 - 07:30 18:00 เร็ว 102 เชยี งใหม่ - กรงุ เทพฯ 06:30 10:43 10:46 21:10 เรว็ 8 เชยี งใหม่ - กรงุ เทพฯ 08:50 12:38 12:39 19:25 ดว่ นพเิ ศษ 408 เชยี งใหม่ - นครสวรรค์ 09:30 14:16 14:19 19:55 ธรรมดา 108 เด่นชยั - กรุงเทพฯ 19:05 - 19:05 05:10 เร็ว 52 เชียงใหม่ - กรุงเทพฯ 15:30 20:23 20:26 05:25 ดว่ น 14 เชียงใหม่ - กรุงเทพฯ 17:00 21:38 21:41 06:15 ดว่ นพิเศษ 10 เชียงใหม่ - กรุงเทพฯ 18:00 22:33 22:36 06:50 ด่วนพเิ ศษ (CNR) - ปจั จบุ นั ขบวน 112, 14, 108 และ 52 ยงั ไมเ่ ปิดใหบ้ รกิ าร ทม่ี า : สถานรี ถไฟเด่นชัยจงั หวดั แพร่, ข้อมลู ณ วันท่ี 27 ตุลาคม 2564 ทางอากาศ ทา่ อากาศยานแพร่ มีสายการบนิ เปดิ ให้บรกิ าร จ�ำนวน 1 สายการบนิ คอื สายการบนิ นกแอร์ หมายเลข โทรศัพท์ 0-5451-1184 มเี สน้ ทางคมนาคมทางอากาศจาก แพร่ ถึง ดอนเมอื ง จำ� นวน 2 เทีย่ วบนิ /วนั และจาก ดอนเมอื ง ถงึ แพร่ จำ� นวน 2 เท่ยี วบนิ /วนั ในช่วงต้งั แต่เดอื นมกราคม - เดือนตลุ าคม 2564 มเี ทย่ี วบนิ จำ� นวน 174 เทีย่ วบิน/ปี และมีผูใ้ ช้บริการ จำ� นวน 6,049 คน/ปี
62 บรรยายสรปุ จงั หวดั แพร่ ปี 2565 ตารางแสดงข้อมูลก�ำหนดเวลาการบนิ ของสายการบินนกแอร์ ณ ทา่ อากาศยานแพร่ เทีย่ วบนิ เสน้ ทาง เวลาออก เวลาถงึ DD182 ดอนเมือง 09.40 น. 11.00 น. DD183 แพร่ 11.40 น. 13.00 น. DD186 ดอนเมอื ง 14.30 น. 15.50 น. DD187 แพร่ 16.40 น. 18.00 น. ท่มี า : ทา่ อากาศยานแพร,่ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 25 ตลุ าคม 2564 การไฟฟา้ จังหวัดแพร่ มีการไฟฟ้าที่ให้บริการ จ�ำนวน 8 แห่ง ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดแพร่ การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอสูงเม่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอเด่นชัย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอลอง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอวังชิ้น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอสอง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอ ร้องกวาง และการไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าคสาขาอำ� เภอหนองม่วงไข่ ปัจจบุ ันจังหวดั แพร่ มีการใชไ้ ฟฟา้ ครอบคลุม 708 หมู่บา้ น จากหมูบ่ ้าน จำ� นวน 708 หมูบ่ า้ น ครวั เรอื น ในจังหวัดมีจ�ำนวน 152,956 ครัวเรือน ครัวเรือนท่ีมีไฟฟ้าใช้ จ�ำนวน 152,936 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 99.98 ครวั เรอื นทไี่ มม่ ไี ฟฟา้ ใช้ จำ� นวน 20 ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.02 มปี รมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ จำ� นวน 300.502 ลา้ นหนว่ ย และมลู ค่าการใช้ไฟฟา้ จ�ำนวน 1,061,128,097.09 ล้านบาท ตารางแสดงขอ้ มูลการใช้ไฟฟา้ ในจังหวดั แพร่ อำ� เภอ จำ� นวน ครัวเรอื นท่มี ไี ฟฟ้าใช้ ปรมิ าณ มลู คา่ การใช้ไฟฟา้ ครวั เรือนท่ี ครวั เรือน ครวั เรือน ร้อยละ การใชไ้ ฟฟา้ (ล้านบาท) ไมม่ ีไฟฟ้าใช้ อ.เมอื งแพร่ ท้งั หมด ครวั เรอื น รอ้ ยละ อ.สงู เม่น (หนว่ ย) อ.เดน่ ชยั 41,273 อ.สอง 26,468 41,270 99.99 116,737,024.89 414,183,455.01 3 0.01 อ.ลอง 13,623 อ.หนองม่วงไข่ 17,008 26,462 99.98 50,034,838.03 173,718,264.69 6 0.02 อ.รอ้ งกวาง 17,262 อ.วังชิน้ 6,348 13,621 99.99 25,875,722.93 95,032,121.81 2 0.01 16,413 รวม 14,561 17,008 100.00 18,852,142.03 64,850,558.71 0 0 152,956 17,254 99.95 25,133,739.33 87,472,079.87 0 0 6,347 99.98 17,293,185.47 59,523,916.02 1 0.02 16,413 100.00 30,902,468.77 112,286,735.52 0 0 14,561 100.00 15,673,807.04 54,060,965.46 0 0 152,936 99.99 300,502,928.49 1,061,128,097.09
บรรยายสรปุ จงั หวดั แพร่ ปี 2565 63 ปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้า 300,502,928.49 หน่วย แยกเป็น ท่ีอยู่อาศัย สถานธุรกิจและอุตสาหกรรม สถานที่ราชการและสาธารณะ และอื่นๆ ตารางแสดงขอ้ มูลปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าในจังหวดั แพร่ ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ (หน่วย) ประเภท ปี 2563 ปี 2562 ปี 2561 (ม.ค. - ส.ค. 63) 75,933,687.70 บ้านอยูอ่ าศยั (ไม่เกิน 150 หน่วย) 62,566,306.00 76,670,737.15 108,339,946.02 94,676,345.68 บา้ นอยู่อาศยั (เกิน 150 หนว่ ย) 89,748,690.63 123,597,539.75 71,581,768.75 42,927,931.01 ประเภทกจิ การขนาดเล็ก 67,870,455.15 97,961,089.66 4,694,827.22 ประเภทกิจการขนาดกลาง 49,747,497.60 73,520,045.46 186,428.94 2,943,116.30 ประเภทกจิ การขนาดใหญ่ 22,385,644.36 35,103,312.08 1,926,495.05 403,210,546.67 ประเภทกจิ การเฉพาะอย่าง 2,607,464.72 5,087,686.25 ประเภทองคก์ รทีไ่ ม่แสวงหากำ� ไร 171,525.45 239,488.47 ประเภทสูบน�้ำเพื่อการเกษตร 4,109,607.38 4,934,654.47 ประเภทไฟชั่วคราว 1,295,737.20 2,061,744.70 รวม 300,502,928.49 419,176,297.99 ทีม่ า : การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจงั หวัดแพร,่ ข้อมลู ณ วันที่ 30 มกราคม 2563 การประปา จังหวัดแพร่ มสี �ำนักงานประปาในพืน้ ที่ จ�ำนวน 3 แหง่ ประกอบด้วย การประปาสว่ นภมู ภิ าคสาขาแพร่ มพี น้ื ทใี่ หบ้ รกิ ารในเขตอำ� เภอเมอื ง มกี ำ� ลงั ผลติ 14,400 ลบ.ม./วนั โดยใช้แหล่งน�้ำจากแม่น้�ำยม ปริมาณน้�ำผลิต 417,315 ลบ.ม./เดือน ปริมาณน้�ำผลิตจ่าย 359,146 ลบ.ม./เดือน ปรมิ าณน้�ำจำ� หนา่ ย 229,368 ลบ.ม./เดอื น มีผใู้ ช้น�้ำประปา จำ� นวน 13,410 ราย การประปาสว่ นภมู ภิ าคสาขาเดน่ ชยั มพี น้ื ทีใ่ ห้บริการในเขต อ.เดน่ ชยั มกี ำ� ลงั ผลติ 4,800 ลบ.ม./วนั โดยใชแ้ หลง่ นำ�้ จากแมน่ ำ�้ ยม ปรมิ าณนำ�้ ผลติ 95,000 ลบ.ม./เดอื น ปรมิ าณนำ�้ ผลติ จา่ ย 90,000 ลบ.ม./เดอื น ปรมิ าณ นำ�้ จำ� หน่าย 76,000 ลบ.ม./เดือน มีผูใ้ ชน้ ำ�้ ประปา จ�ำนวน 4,738 ราย และหนว่ ยบรกิ ารสูงเมน่ มีกำ� ลงั ผลิต รับน้ำ� จาก กปภ.สาขาแพร่ โดยใช้แหล่งน�้ำจากแม่น้�ำยม ปริมาณน�้ำผลิตจ่าย 59,000 ลบ.ม./เดือน ปริมาณน�้ำจ�ำหน่าย 24,000 ลบ.ม./เดอื น มีผู้ใชน้ ำ�้ ประปา จ�ำนวน 1,801 ราย การประปาสว่ นภมู ภิ าคสาขารอ้ งกวาง มพี นื้ ทใ่ี หบ้ รกิ ารในเข อ.รอ้ งกวาง มกี ำ� ลงั ผลติ 2,200 ลบ.ม./วนั โดยใช้แหล่งนำ�้ จากแมน่ �ำ้ แมค่ �ำมี ปรมิ าณน�้ำผลิต 61,200 ลบ.ม./เดอื น ปริมาณน�้ำผลติ จา่ ย 60,000 ลบ.ม./เดอื น ปริมาณน�้ำจำ� หน่าย 48,300 ลบ.ม./เดอื น มผี ูใ้ ชน้ ำ้� ประปา จ�ำนวน 2,832 ราย และหน่วยบรกิ ารสอง มกี ำ� ลังผลิต 850 ลบ.ม./วนั โดยใชแ้ หลง่ นำ้� จากแมน่ ำ้� ยม ปรมิ าณนำ้� ผลติ 25,500 ลบ.ม./เดอื น ปรมิ าณนำ�้ ผลติ จา่ ย 23,500 ลบ.ม./เดอื น ปรมิ าณนำ้� จำ� หน่าย 11,700 ลบ.ม./เดือน มีผใู้ ช้น้�ำประปา จำ� นวน 1,229 ราย
64 บรรยายสรุปจงั หวัดแพร่ ปี 2565 ตารางแสดงขอ้ มลู การใช้น�ำ้ ประปาในจงั หวดั แพร่ สำ� นักงาน จ�ำนวนผ้ใู ช้ ก�ำลังผลิต ปรมิ าณ ปรมิ าณ ปรมิ าณ นำ�้ ประปา (ลบ.ม./วนั ) น�้ำผลติ นำ�้ ผลติ จา่ ย นำ้� จำ� หน่าย (ลบ.ม./เดือน) (ลบ.ม./เดือน) (ลบ.ม./เดอื น) (ราย) 359,146 229,368 กปภ.สาขาแพร่ 13,410 14,400 417,315 90,000 76,000 59,000 24,000 กปภ.สาขาเดน่ ชยั 4,738 4,800 95,000 60,000 48,300 หน่วยบรกิ ารสูงเมน่ 1,801 รับนำ�้ จาก กปภ. รบั นำ้� จาก กปภ. 23,500 11,700 สาขาแพร่ สาขาแพร่ 591,646 389,368 กปภ.สาขาร้องกวาง 2,832 2,200 61,200 หนว่ ยบริการสอง 1,229 850 25,500 รวม 24,010 22,250 599,015 ท่มี า : การประปาสว่ นภูมิภาคสาขาแพร่, ข้อมูล ณ วนั ที่ 28 ตุลาคม 2564 การสื่อสาร โทรศัพท์ ตารางแสดงข้อมูลการให้บรกิ ารโทรศพั ท์ รายช่อื ผูใ้ หบ้ รกิ าร จำ� นวน จำ� นวนเลขหมายท่ีใหบ้ รกิ าร (จำ� แนกตามประเภท) เครอื ข่ายโทรศพั ท์ ชมุ สาย บ้าน ธุรกจิ ส่วนราชการ สาธารณะ รวม บรษิ ทั โทรคมนาคม 35 4,035 1,128 1,241 8 6,430 แหง่ ชาติ จำ� กดั (มหาชน) ทม่ี า : บรษิ ทั โทรคมนาคมแหง่ ชาติ จ�ำกัด (มหาชน) สาขาแพร,่ ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2564
บรรยายสรปุ จงั หวดั แพร่ ปี 2565 65 ดา้ นการพัฒนาจังหวัด จังหวัดแพร่ มแี ผนงาน/โครงการ ตามรา่ งพระราชบญั ญตั ริ ายจ่ายประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ�ำนวน 12 โครงการ งบประมาณ 102,380,200 บาท จำ� แนกตามผลผลติ 6 ดา้ น ดังน้ี ตารางแสดงข้อมลู โครงการตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจ�ำปีของจังหวดั แพร่ ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ผลผลติ จ�ำนวน งบประมาณ รอ้ ยละ โครงการ (บาท) โครงการพฒั นาดา้ นการเกษตร 1 2,129,500 2.08 โครงการพัฒนาด้านการทอ่ งเที่ยวและบริการ 1 8,160,000 7.97 โครงการพัฒนาดา้ นสังคม 2 11,260,000 11.00 โครงการบริหารจัดการดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม 2 4,906,800 4.79 โครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมการคา้ และการลงทนุ 5 71,735,200 70.07 โครงการรักษาความมัน่ คงและความสงบ 1 4,188,700 4.09 รวม 12 102,380,200 100 ลำ� ดบั ท่ี โครงการ งบประมาณ 25,000,000 1 โครงการพัฒนาทางหลวง เพอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพทางหลวงแกป่ ระชาชนในพนื้ ทจี่ ังหวัดแพร่ 18,399,200 11,899,800 2 โครงการอำ� นวยความปลอดภยั เพอื่ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขอบุ ตั เิ หตบุ นทางหลวงในพนื้ ทจ่ี งั หวดั แพร่ 10,285,500 2,129,500 3 โครงการแกไ้ ขปญั หานำ้� ทว่ มทางบนทางหลวงในพน้ื ทจี่ งั หวดั แพร่ 6,150,700 8,160,000 4 โครงการก่อสรา้ งอาคารศนู ยเ์ รียนร้กู ารพฒั นาอาชีพและผลิตภัณฑ์ชมุ ชนจงั หวัดแพร่ 2,260,000 4,188,700 5 โครงการสง่ เสริมและพัฒนาสนิ คา้ เกษตรปลอดภัยและเกษตรอนิ ทรียจ์ งั หวัดแพร่ 3,770,000 6 โครงการห้อมแพรส่ ่หู อ้ มโลก 1,136,800 7 โครงการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วทางวฒั นธรรมประวตั ศิ าสตร์ ภมู ปิ ญั ญา จงั หวดั แพร่ 9,000,000 102,380,200 8 โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ราษฎรบนพน้ื ท่ีสงู ตามแนววถิ ีความพอเพียง 9 โครงการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ แบบบรู ณาการ 10 โครงการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาหมอกควันและไฟปา่ ม่งุ เนน้ หว้ งเวลาวิกฤติ 3 เดอื น ของจงั หวัดแพร่ 11 โครงการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาประสิทธภิ าพการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พรอ้ มรบั มอื ภยั พิบัตใิ นพน้ื ทีจ่ งั หวดั แพร่ 12 คา่ ใช้จา่ ยบริหารงานจงั หวัดแบบบูรณาการ รวม 12 โครงการ
66 บรรยายสรปุ จังหวดั แพร่ ปี 2565 ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั แพร่ เป้าหมายการพฒั นา “แพรเ่ มอื งนา่ อยู่ ชมุ ชนเข้มแขง็ เศรษฐกจิ สร้างสรรค์ เกษตรปลอดภยั ทรพั ยากรธรรมชาตสิ มบูรณ์ ทอ่ งเทยี่ วย่ังยืน” พันธกิจ (MISSION) 1. ขบั เคล่อื นเศรษฐกิจสร้างสรรคบ์ นพื้นฐานเศรษฐกจิ ฐานรากและเกษตรปลอดภยั 2. รกั ษาทรัพยากรธรรมชาตใิ หม้ คี วามสมบูรณค์ วบคกู่ บั การพฒั นาเมอื ง 3. ส่งเสรมิ ทอ่ งเที่ยวเชิงสรา้ งสรรคเ์ พ่ือการพัฒนาทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่งั ยนื 4. สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชน และสรา้ งความมน่ั คงเพ่ือนำ� สชู่ มุ ชนที่เขม้ แขง็ ประเดน็ การพฒั นา ประเดน็ การพฒั นาท่ี 1 : ยกระดบั ขดี ความสามารถและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการเกษตร เศรษฐกจิ การคา้ การลงทนุ ใหส้ ามารถแขง่ ขนั ได้ เชือ่ มโยงภูมภิ าค และต่างประเทศ วตั ถุประสงค์ : 1. เพ่ือเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลติ และยกระดบั คุณภาพสนิ คา้ และบริการ 2. เพอื่ พัฒนาขดี ความสามารถในการแขง่ ขันและสร้างนวัตกรรมเพอ่ื สร้างมูลค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกจิ 3. เพอ่ื สร้างโอกาสทางการตลาดและสง่ เสริมความร่วมมอื ด้านการคา้ การลงทุน
บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 67 แนวทางการพัฒนา : 1. การสร้างมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก การค้าการลงทุนให้สามารถแข่งขันได้ เช่ือมโยงภูมิภาค และ ต่างประเทศ 2. การพฒั นาศกั ยภาพการผลติ สนิ คา้ เกษตรคณุ ภาพ อาหารปลอดภยั โดยใชน้ วตั กรรมทางการเกษตร และสรา้ งเครือขา่ ยทางการเกษตร ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : บรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และภัยพบิ ตั ิแบบบรู ณาการอยา่ ง ยัง่ ยืน วัตถุประสงค์ : 1. เพ่ืออนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือสร้างสมดุลทางธรรมชาติและการ ใช้ประโยชนท์ รัพยากรธรรมชาตอิ ย่างยั่งยืน 2. เพือ่ พัฒนาและเพ่ิมประสิทธภิ าพกลไกการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั อย่างเปน็ ระบบ 3. เพือ่ พฒั นาระบบและกลไกการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมแบบบรู ณาการ 4. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ การมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม อย่างเปน็ ระบบ 5. เพื่อสง่ เสรมิ การใชพ้ ลงั งานทดแทนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ แนวทางการพฒั นา : 1. การอนุรกั ษ์ ฟ้ืนฟู และป้องกันทรพั ยากร 2. การบริหารจดั การด้านมลพษิ และส่ิงแวดลอ้ ม 3. การพัฒนาประสทิ ธภิ าพ การปอ้ งกนั และบรรเทาภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ ประเดน็ การพัฒนาที่ 3 : ยกระดบั การท่องเทยี่ วเชงิ สร้างสรรค์และยัง่ ยนื วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อยกระดับแหล่งท่องเทีย่ วให้ไดม้ าตรฐาน 2. เพ่อื สง่ เสรมิ การตลาดและการประชาสมั พันธด์ า้ นการทอ่ งเที่ยว 3. เพอื่ สร้างมูลคา่ เพ่มิ ผลิตภัณฑ์และบริการดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว 4. เพ่อื ยกระดบั การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรด้านการทอ่ งเที่ยว 5. เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การอนุรักษ์ และเผยแพร่ภมู ปิ ญั ญาเพอื่ เพิม่ คณุ ค่าและมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ แนวทางการพฒั นา : 1. พัฒนา ปรับปรุงแหล่งท่องเท่ียว รวมถึงโครงสร้างพ้ืนฐานส่ิงอ�ำนวยความสะดวก เพ่ือยกระดับ ด้านการทอ่ งเท่ียว 2. ส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรดา้ นการท่องเที่ยวและระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 3. สง่ เสริมการตลาดและประชาสมั พนั ธ์
68 บรรยายสรุปจังหวัดแพร่ ปี 2565 ประเดน็ การพัฒนาท่ี 4 : ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ที่ดีของประชาชน ลดความเหลอื่ มล้ำ� และเสรมิ สรา้ งความ มัน่ คงเพ่ือรับรองการเป็นเมืองน่าอยู่ วัตถุประสงค์ : 1. เพือ่ พัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานของเมืองเพอ่ื ส่งเสริมการเป็นเมอื งนา่ อยู่ 2. เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สรา้ งโอกาสอาชพี และสนบั สนนุ สทิ ธแิ์ ละสวสั ดกิ ารพน้ื ฐานใหก้ บั ประชาชน 3. เพ่อื สร้างโอกาสทางการศึกษาแกป่ ระชาชนและส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวิต 4. เพื่อพฒั นาเสรมิ สรา้ งความมนั่ คง ความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สนิ แนวทางการพฒั นา : 1. เพม่ิ ศักยภาพคนทุกกลุม่ วัยและยกระดับคุณภาพชีวติ ท่ดี ขี องประชาชน ลดความเหลือ่ มลำ�้ 2. พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ของคนทกุ ช่วงวยั 3. เตรียมความพร้อมเข้าสสู่ งั คมผู้สูงอายุ 4. พัฒนาสถาบันทางสังคมใหม้ ีความเข้มแขง็ 5. ส่งเสริมความมน่ั คงความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สิน
บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 69 ข้อมลู ท่องเท่ียวจังหวดั แพร่ วดั พระธาตชุ ่อแฮ พระอารามหลวง วดั พระธาตุชอ่ แฮ พระอารามหลวง อ.เมืองแพร่ ต้ังอยู่ ต.ชอ่ แฮ อ.เมอื งแพร่ เปน็ วัดท่ี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวหิ าร ประดิษฐานองค์พระธาตุช่อแฮ ซึ่งเป็นพระธาตุ อ.เมืองแพร่ ศกั ดิ์สทิ ธค์ิ ู่บา้ นคู่เมืองแพร่ ที่บรรจเุ สน้ พระเกศา ของพระพุทธเจ้า มีประวัติความเป็นมาว่าสร้าง ในสมัยสุโขทัยเป็นพระธาตุรูปทรงแปดเหลี่ยม เปน็ พระธาตปุ ระจำ� ปเี กดิ ของคนเกดิ ปขี าล (เสอื ) ผู้ท่ีได้มาเที่ยวจังหวัดแพร่ ส่ิงที่ขาดไม่ได้คือ การไดไ้ ปเทย่ี ววดั พระธาตชุ อ่ แฮ พระอารามหลวง ไปกราบไหว้พระเจ้าทันใจและหลวงพ่อช่อแฮ เพื่อเป็นสิรมิ งคลต่อตัวเองและครอบครวั วัดพระบาทมง่ิ เมืองวรวหิ าร ตงั้ อยรู่ มิ ถนนเจรญิ เมอื ง แตเ่ ดมิ นน้ั เปน็ วดั ราษฎร์ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2498 ไดย้ กฐานะเปน็ พระอารามหลวงชนั้ ตรปี ระเภทวรวหิ าร สรา้ งขน้ึ โดยรวมวัดโบราณ 2 แห่ง เข้าด้วยกัน ได้แก ่ วดั พระบาทและวัดม่งิ เมอื ง ตง้ั อย่หู ่างกันเพยี งมี ถนนกน้ั เท่าน้นั วัดพระบาทเป็นวัดที่อุปราชหรือ เจา้ หนา้ หอเปน็ มัคนายก สว่ นวัดม่งิ เมอื งเปน็ วดั เจ้าผู้ครองนครแพร่เป็นมัคนายก เม่ือเมืองแพร่ ลม้ เลกิ ระบบเจา้ ผคู้ รองนคร วดั ทงั้ สองกถ็ กู ทอดทง้ิ อยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก กระทั่งคณะสงฆ์และ คณะกรรมการจังหวัดเห็นสมควรรวมสองวัด เข้าด้วยกันโดยให้ชื่อว่า “วัดพระบาทมิ่งเมือง” มาจนทกุ วันน้ี
70 บรรยายสรปุ จังหวัดแพร่ ปี 2565 แกง่ เสือเต้น หลม่ ดง้ อทุ ยานแห่งชาติแม่ยม พืน้ ที่ครอบคลมุ ท้องทีอ่ �ำเภองาว จงั หวัดลำ� ปาง และอ�ำเภอสอง จังหวดั แพร่ มสี ภาพปา่ อุดมสมบรู ณเ์ ตม็ ไปดว้ ยป่าสกั ที่ขน้ึ เองตามธรรมชาตอิ ยา่ งหนาแน่น ซ่งึ มีขนาดสูงใหญง่ ดงามมาก นบั ได้ว่า เป็นตัวแทนป่าไม้สักของภาคเหนือได้อย่างดีย่ิงรวมท้ังไม้ที่มีค่าต่างๆ จ�ำนวนมาก และทิวทัศน์ท่ีสวยงาม มีเนื้อท่ี ประมาณ 284,218.75 ไร่ หรือ 454.75 ตารางกโิ ลเมตร และมลี ักษณะเดน่ ท่ีสวยงาม อุทยานแห่งชาตแิ ม่ยมเป็น อุทยานแหง่ ชาติล�ำดบั ที่ 51 ของประเทศ มสี ถานที่ท่นี า่ สนใจ ได้แก่ หลม่ ด้ง ดงสักงาม แก่งเสอื เตน้ อุทยานแห่งชาติดอยผากลอง มีพ้ืนท่ี 112,500 ไร่ ลกั ษณะภูมิประเทศเปน็ เทอื กเขาและหนา้ ผาสงู เปน็ แหลง่ ก�ำเนดิ ของล�ำธารต่างๆ ซ่งึ ไหลลงสู่แมน่ �้ำยม มีพนั ธ์ุไม้ที่สวยงาม เชน่ จนั ทน์ผา กลว้ ยผา กล้วยไมด้ นิ และ สมนุ ไพร แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วและจดุ เดน่ ทน่ี า่ สนใจ ไดแ้ ก่ สวนหนิ มหาราช ถำ�้ ผากลอง ถำ้� จนั ทนผ์ า ถำ�้ เอราวณั แกง่ หลวง ภูเขาหินปะการัง กิจกรรมท่องเที่ยวและนันทนาการที่มีในอุทยานแห่งชาติดอยผากลอง ได้แก่ การเดินป่าศึกษา ธรรมชาติ เท่ียวถำ้� ต้ังแคม้ ปพ์ ักแรม ดนู ก ล่องแกง่ ปีนเขา ข่จี ักรยานชมธรรมชาติ เปน็ ต้น อทุ ยานแห่งชาตดิ อยผากลอง ภูเขาหนิ ปะการัง สวนหนิ มหาราช ถ�้ำเอราวณั
บรรยายสรปุ จงั หวัดแพร่ ปี 2565 71 แพะเมอื งผ ี ตง้ั อยทู่ อ้ งทต่ี ำ� บลนำ�้ ชำ� อำ� เภอเมอื งแพร่ จงั หวดั แพร่ โดยอยหู่ า่ งจากอำ� เภอเมอื งแพร่ ไปประมาณ 15 กิโลเมตร อยใู่ นความดแู ลของวนอทุ ยานแพะเมืองผี กรมป่าไม้ ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2524 การเขา้ ถงึ พืน้ ที่ ท�ำไดโ้ ดยใชเ้ ส้นทางหลวง 101 สายแพร่ - รอ้ งกวาง ออกจากตวั เมืองไปถงึ หลักกโิ ลเมตรที่ 9 จะมเี สน้ ทางแยกขวา เข้าบ้านน้ำ� ชำ� ไปประมาณ 3 กโิ ลเมตร จะมีทางแยกขวาไปอีกประมาณ 3 กโิ ลเมตร ลักษณะแพะเมืองผี เป็นเนินท่ีพังยุบลงไปเป็นแอ่งคล้ายแอ่งกระทะหงาย ขอบแอ่งด้านทิศตะวันตกเป็น หนา้ ผาที่มตี น้ ไม้เต้ยี ๆ ปกคลุม หนา้ ผามีความลาดชันลดระดับลงมาทางด้านตะวนั ออกเข้าส่ภู ายในแอง่ ภายในแอง่ มี เนินสูงๆ ต�ำ่ ๆ ไม่ต่อเนือ่ งกนั เกดิ จากการพังทลายที่ไม่สม่�ำเสมอกันของช้นั ตะกอน ทำ� ให้เนนิ ทเ่ี หลือมีลกั ษณะเปน็ แทง่ คลา้ ยเสา รปู รา่ งคลา้ ยจอมปลวก คลา้ ยดอกเหด็ หรอื บางเนนิ คลา้ ยสะพานโคง้ ดแู ปลกประหลาด จดั เปน็ สถานท่ี ทอ่ งเทยี่ วทมี่ ชี อื่ เสยี งแหง่ หนงึ่ ของประเทศ คำ� วา่ “แพะเมอื งผ”ี เปน็ ภาษาพน้ื เมอื ง “แพะ” แปลวา่ ปา่ ละเมาะ “เมอื งผ”ี แปลวา่ ความเงียบวงั เวง การเกิดสภาพแพะเมืองผี นกั ธรณวี ิทยาประมาณค่าอายุของดินแห่งน้ีว่าอยใู่ นยคุ QUATERNARY เกดิ ขนึ้ ประมาณไมเ่ กนิ 2 ลา้ นปี ซงึ่ เปน็ ยคุ คอ่ นขา้ งใหม่ ลกั ษณะการเกดิ ของเสาดนิ เกดิ จากกรวด หนิ ดนิ ทราย เกาะจบั ตวั กนั ยังไม่แน่นแข็งเต็มที่ ประกอบด้วยช้ันหินทรายละเอียดและช้ันหินทรายสลับกันเป็นชั้นๆ แต่ละช้ันมีความต้านทาน ต่อการผุน้อยกว่าก็จะถูกชะล้างกัดกร่อนโดยง่าย เหลือชั้นท่ีมีความต้านทานต่อการผุพังมากกว่า ท�ำหน้าที่เสมือน แผน่ เกราะวางอยขู่ า้ งบนทนี่ ำ�้ ไมส่ ามารถชะกรอ่ นตอ่ ไปไดง้ า่ ย สว่ นทเี่ หลอื จงึ เกดิ เปน็ แทง่ เปน็ หยอ่ ม มรี ปู รา่ งแตกตา่ งกนั
หม้อห้อม ไม้สัก ถิ่นรกั พระลอ ช่อแฮศรเี มือง ลือเล่อื งแพะเมืองผี คนแพรน่ ้ใี จงาม สำนักงานจังหวัดแพร กลมุ งานยทุ ธศาสตรและขอ มลู เพ่ือการพัฒนาจงั หวดั โทรศพั ท/ โทรสาร 0-5462-0646
Search