Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore REPETITION

REPETITION

Published by meannylagkana, 2019-09-18 04:43:37

Description: REPETITION การซ้ำในงานสถาปัตยกรรม

อาจารย์ลักขณา คำระหงษ์
แผนกสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธษนี

Keywords: การซ้ำในงานสถาปัตยกรรม,repetition,การซ้ำ,สถาปัตยกรรม

Search

Read the Text Version

การซา้ REPETITION การซ้า คือ เกดิ จากองค์ประกอบท่มี ีลักษณะ เหมือนกันต้งั แต่ 2 หน่วยข้ึนไปวางอยูใ่ นท่ีวา่ ง โดยมี ท่ีว่างคัน่ อย่รู ะหว่างหนว่ ย องคป์ ระกอบทจ่ี ะนามา วางซ้าเหลา่ น้ี ได้แก่ จดุ เส้น น้าหนัก รูปรา่ ง รูปทรง เป็นตน้

รปู แบบของการซา้ แบง่ ได้ 4 รูปแบบ 1.การซ้าแบบเหมือนกนั เปน็ การซา้ ขององคป์ ระกอบที่ มีขนาด น้าหนัก หรอื ลักษณะ เดยี วกนั เรยี งต่อเนือ่ งกนั ไป Ixtapaluca, Mexico.

2.การซา้ แบบลดหลั่น เป็นการซา้ ของ องคป์ ระกอบที่มีขนาดนา้ หนกั หรอื ลักษณะแตกตา่ งกนั เรียงจากมากไปนอ้ ย หรอื นอ้ ยไปมาก สนามบินสวุ รรณภมู ิ พิพธิ ภณั ฑ์ โซโลมอน อาร์. กุกเกนไฮม์ ,แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ 3.การซา้ เป็นจังหวะ เปน็ การซ้าของชุด องค์ประกอบทม่ี ีลกั ษณะเรยี งกันตอ่ เนอื่ งกัน ไป ซึง่ ภายในชดุ องคป์ ระกอบ 1 ชดุ นี้ จะ ประกอบดว้ ยหน่วยยอ่ ยทมี่ ีขนาด นา้ หนัก หรือลกั ษณะแตกตา่ งกนั

ตกึ มหานคร 4.การซา้ แบบไม่เป็นจงั หวะ การซ้าของชดุ องคป์ ระกอบ ลกั ษณะหนึ่งๆอย่างอิสระ ไมม่ ี ความสัมพันธร์ ะหว่างหน่วยที่ แน่นอน

จังหวะ จังหวะเกดิ จากการเว้นระยะ ความหา่ ง หรอื การซา้ ท่ี เป็นระเบียบ จากระเบยี บธรรมดา ท่ีมีชว่ งถ่ี หา่ ง เทา่ RHYTHM ๆ กัน มาเปน็ ระเบยี บท่สี งู และซับซ้อนขึ้นของทัศน ธาตุหรอื ส่วนประกอบมูลฐานของทัศนศลิ ป์ เช่น เส้น 1. จังหวะเกิดจากซ้ากัน (Repetition รูปร่าง รปู ทรง สี ทท่ี า้ ใหเ้ กิดการเคล่ือนไหว Rhythm) การจัดช่วงจงั หวะให้มี ลกั ษณะ ซา้ กัน ต้งั แต่ 2 หน่วยขนึ้ ไป (Movement) ทางสายตา แบง่ เป็น 3 ประเภท มีการซา้ หลายวิธี เชน่ อาคาร Arab World Institute ในกรงุ ปารีส ประเทศฝร่งั เศส การซา้ ด้วยรูปร่าง (Shape) การซา้ ด้วยขนาด (Size) การซ้าดว้ ยสี (Color) การซ้าดว้ ยผิวสมั ผสั (Texture) การซ้าดว้ ยทศิ ทาง (Direction) การซ้าด้วยต้าแหนง่ (Position) การซ้าด้วยทีว่ า่ ง (Space) การซ้าดว้ ยแรงดึงดูด (Gravity)

2. จงั หวะเกิดจากการ SCG headquarter Thailand ต่อเน่ือง (Continuous Rhythm) การเคลอ่ื นไหวที่มีจงั หวะ อาจจะเป็นเสน้ สี รูปรา่ ง รูปทรง แสงเงา ฯลฯ ที่ ตอ่ เน่ือง โดยไมม่ บี รเิ วณวา่ ง มาค่นั การกาหนดจงั หวะ อยู่ ท่ีลกั ษณะการเคลือ่ นไหวของ วตั ถเุ อง เชน่ เดียวกบั คล่ืนใน ทะเล ท่เี ลื่อนไหลไปอยา่ ง สมา่ เสมอ ใหจ้ งั หวะ ตอ่ เนื่องกนั ของเสน้ สี นา้ หนกั หรอื จงั หวะของดนตรที ่ีมกี าร ตอ่ เนื่องกนั ดว้ ยเสียงสงู เสียง ต่า บรรเลง ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง เป็นจงั หวะไมข่ าดระยะ

3. จงั หวะเกิดจากการตอ่ เนอื่ งกา้ วหนา้ (Progressive Rhythm) การจดั จงั หวะใหเ้ พ่ิมขนึ้ เป็น ลาดบั อาจเกิดขนึ้ จากเสน้ ขนาด นา้ หนกั รูปรา่ ง รูปทรง เสน้ สี พืน้ ผิว ฯลฯ เป็น การสรา้ งสรรคร์ ะยะของจงั หวะ ใหเ้ ปล่ยี นแปลง ไปทีละนอ้ ย San Mames Stadium in Bilbao, Spain

ความกลมกลืน การนาองคป์ ระอบพื้นฐานทีม่ ีความคล้ายกนั หรอื เหมอื นกันมาจดั วางอย่างสัมพันธ์กัน เกดิ การ (Harmony) ประสานกันอยา่ งเหมาะสม และลงตัวในผลงาน แบง่ เปน็ 3 ลกั ษณะ คอื 1.ความกลมกลืนกันด้วย สว่ นประกอบของทัศน ธาตุ (Art Element) ได้แก่ ความกลมกลืน ของ เสน้ รปู ร่าง รูปทรง ความกลมกลนื ของเส้น ความกลมกลนื ของรปู ร่าง ความกลมกลืนของขนาด และเงา สี ทว่ี า่ ง และ พื้นผวิ ความกลมกลนื ของสี ความกลมกลืนของทิศทาง ความกลมกลืนของผิว

ความกลมกลืน 2.ความกลมกลืนกันทางความคดิ ไดแ้ ก่ ความ กลมกลนื ของความคิดสรา้ งสรรค์ ของศลิ ปิน ทงั้ ใน (Harmony) ดา้ นเนอื้ หาเรือ่ งราว(Theme) เทคนคิ (Technic) และ รูปแบบ Style) ทางศลิ ปะ 3. ความกลมกลืนกันตามธรรมชาติหรือ ประโยชน์ใช้สอย ความกลมกลนื ระหว่างวัตถุ ต่างๆ เชน่ ของตกแตง่ สวน เครอ่ื งเรอื น กับส่ิงท่ี อยูแ่ วดล้อม ทั้งในแงค่ วามสวยงามและ ประโยชน์ใชส้ อย 3.1ความกลมกลืนกันตามธรรมชาติ เชน่ การออกแบบตกแต่งสวน ควร คานงึ ถึงรปู ทรงของตน้ ไม้และ สงิ่ ก่อสร้างอน่ื ๆทมี่ ีความลา้ ยคลงึ กัน มาจัดในบริเวณใกล้กัน เพอ่ื ความ สวยงาม ประสานกลมกลนื ไมข่ ดั แย้ง

ความกลมกลนื 3.2ความกลมกลืนด้านประโยชนใ์ ช้สอย เชน่ บา้ นเรอื นทอ่ี ยู่นเขตรอ้ น ควรปลูกบ้านใหม้ ใี ต้ถุนสูง (Harmony) หลังคาโปรง่ ทรงสงู เพอื่ ใหอ้ ากาศถ่ายเทได้สะดวก รวมถงึ การเลอื กส่ิงของเครอ่ื งใชใ้ ห้เข้ากับรูปแบบ บ้าน จะทาใหบ้ ้านน่าอยู่มากย่ิงขน้ึ

ความสมดุล ความสมดุล เป็นคณุ ลกั ษณะสาคญั ของเอกภาพ หมายถงึ การถ่วงน้าหนักหรอื แรงปะทะทเ่ี ท่ากนั แต่ ในทางศิลปะ ความหมายรวมไปถึงการประสานกลมกลนื ความพอเหมาะพอดีของส่วนต่างๆ ในรปู ทรง หนง่ึ หรือในงานศลิ ปะช้ินหนงึ่ ความสมดุล คอื องค์ประกอบในงานออกแบบทศั นศลิ ปท์ เี่ กย่ี วข้องกบั การ มองเห็นสิง่ ทน่ี ่าสนใจ ที่จัดวางภายในงานออกแบบน้ัน ว่า “อะไร” อยู่ “ตรงไหน” และเมื่อมองแล้วให้ ความรสู้ กึ ไปสองทาง คอื รู้สกึ ว่ามีความเท่ากันทงั้ สองข้าง และรสู้ กึ ว่าหนักไปข้างใดขา้ งหน่งึ ความสมดุลในทางการออกแบบ คอื ความสมดลุ ตามสภาพการมองเห็นหรอื การรบั รูเ้ กี่ยวกบั นา้ หนกั แรง และความม่นั คงบนพืน้ ภาพทางดา้ นงานออกแบบ 3 มิติ เชน่ งานโครงสรา้ ง ประติมากรรม สถาปัตยกรรม

ความสมดลุ หลกั ของความสมดุลทางการมองเห็น (Visual Balance) หลกั ของการเกิดความสมดลุ ทางการมองเห็น กค็ ือ จะมเี สน้ แกนสมมตุ ิ (Axis) ที่ไม่มีตว้ ตน แตม่ นุษย์ สามารถสัมผัสได้ โดยยดึ ไว้เป็น แกนกลาง แล้วสมมตุ สิ ่ิงอนื่ ๆ ท่ีประกอบ ให้อยู่โดยรอบของเสน้ แกนสมมตุ นิ ้ัน ถา้ ดแู ลว้ รูส้ ึกวา่ ไม่หนัก ไป ขา้ งใดขา้ งหนึ่ง นัน่ กค็ ือมคี วามสมดุลเกดิ ขึ้นแลว้ ตึกแฝดเปโตรนาส มาเลเซยี ความสมดลุ ตามเสน้ แกนสมมุติตามแนวตัง (Vertical Axis) เปน็ ความสมดุลทใ่ี ห้ ความร้สู กึ ได้ในทนั ทแี ละให้พลงั ของความสมดุล ชดั เจน

ความสมดลุ ความสมดุลตามเส้นแกนสมมุติแนวนอน (Horizontal Axis) คอื ความสมดลุ เทา่ กนั ทางด้านบน และ ดา้ นล่างของภาพ แตค่ วามสมมคุล ตามเสน้ แกนแนวนอนน้ีให้พลงั และความรสู้ กึ น้อยกว่าความสมคลุ ตามเสน้ แกนแนวต้งั และความเคยชินของมนษุ ย์ ตอ่ ความสมมคลุ ตามเสน้ แกนแนวนอนนี้กค็ อื ต้องการเห็นส่วน ดา้ นล่างของภาพมีนา้ หนกั หรือมอี งคป์ ระกอบ มากกว่าด้านบน ภาพจงึ จะมคี วามสมดุล มั่นคง Seattle Central Library

ประเภทของของความสมดลุ 1. ความสมดลุ แบบสองขา้ งเทา่ กนั (Symmetry Balance) ภาพทีม่ ีสองขา้ ง เหมือนกัน เชน่ เดยี วกับนาภาพข้างหนงึ่ ไปวางข้างกระจกเงาและเห็น ภาพอีกข้าง หนง่ึ เหมือนกัน (Mirror Image) โดยมเี ส้นแบง่ ครึง่ เป็นเส้นแกนกลาง ความสมดลุ ลกั ษณะนี้ สรา้ งความสนใจ และความเขา้ ใจไดง้ ่ายทส่ี ดุ มนษุ ย์ทกุ คนคนุ้ เคยกับความเทา่ กันทัง้ สองข้าง ในธรรมชาติ เชน่ ร่างกาย มนุษย์ มสี องตา สองหู สองแขน ฯลฯ โดยมี สิ่งทม่ี ีเพยี งหนง่ึ เดยี ว อยู่ตรงแกนกลาง เช่น ตา ปาก และ มนษุ ย์ก็ได้พบเหน็ ธรรมชาติตา่ ง ๆ รอบตัว จะพบวา่ ส่วนใหญ่ จะมีลกั ษณะสองข้างเทา่ กนั โมนา ลิซา่

ประเภทของของความสมดุล ตึกชา้ ง ความสมดุลแบบ สองข้างเท่ากัน เปน็ การเน้น และเปน็ การ สรา้ งความสนใจ ใหผ้ ชู้ ม มุ่งเขา้ สู่แกนกลางได้ อยา่ งรวดเร็วเปน็ การ สร้างความรู้สกึ สมดุล ได้ โดยงา่ ย

อาคาร CCTV ในปกั กง่ิ ชนิดของความสมดลุ แบบสองขา้ งเทา่ กัน 1.1.ความสมดลุ แบบสองข้าง เทา่ กนั ชนิดใกลเ้ คียงกัน สงึ่ ทีอ่ ยสู่ องขา้ งของเสน้ แกนกลาง จะไมเ่ หมือน หรอื เทา่ กนั ทงั้ หมด เหมือนกบั เงาสะทอ้ นในกระจกเงา แตจ่ ะมีความใกลเ้ คียงกนั มีผิด แปลกไดบ้ า้ ง แตด่ โู ดยรวมแลว้ ยงั รูส้ กึ ไดว้ า่ ทง้ั สองขา้ งเท่ากนั

อาคาร CCTV ในปกั กง่ิ ชนิดของความสมดุล แบบสองขา้ งเทา่ กนั 1.2 ความสมดุลแบบสองขา้ ง เท่ากันชนิดกลับข้าง (Invert Symmetry) สงึ่ ที่อยสู่ องขา้ งของ เสน้ แกนสมมตุ ิ จะกลบั คา่ เป็น ภาพตรงกนั ขา้ ม เหมอื นกระจก สะทอ้ น

อาคาร CCTV ในปกั กง่ิ ชนดิ ของความสมดุล แบบสองข้างเท่ากนั 1.3 ความสมดลุ แบบสองข้าง เท่ากันชนิดมีสองแกน (Biaxial Symmetry) ความสมดลุ ทม่ี ีทง้ั แกน แนวตงั้ และ แกนตาม แนวนอน และสว่ นอื่น ๆ ท่ีอย่ซู า้ ย ขวา ของแกนแนวตงั้ และอยบู่ น ลา่ ง ของแกนแนวนอน สว่ นใหญ่ หรอื ทง้ั หมดจะเหมือนกนั บางครงั้ ความสมดลุ ลกั ษณะนี้ อาจมเี สน้ แกน มากกว่าสองแกน เชน่ ลาย ของเกรด็ หมิ ะ และภาพจากกลอ้ ง คาไลโดสโคป ทม่ี ี 4 และ 3 แกน

อาคาร CCTV ในปกั กิง่ ชนดิ ของความสมดลุ สถาปัตยกรรมแบบกอทิก ซง่ึ เก่ียวขอ้ งโดยตรงตอ่ แบบสองขา้ งเทา่ กนั การสรา้ งวดั และมหาวิหารในคริสตศ์ าสนา 1.4 ความสมดุลแบบสองข้าง เทา่ กันชนิดเป็นรัศมโี ดยรอบ (Radial Symmetry) มีแกนมาก จนกลายเป็นแกนที่พุ่งเปน็ รศั มี โดยรอบออกจากศูนย์กลาง

ประเภทของของความสมดลุ 2. ความสมดลุ แบบสองข้างไม่เทา่ กัน (Asymmetry Balance) การจดั วางสว่ นประกอบมลู ฐานของ ศลิ ปะ ลงในสองข้าง ของแกนสมมุติ ทั้งทางแนวตง้ั หรอื แนวนอน ได้อยา่ งอิสระโดย ไมต่ อ้ งคานึงถึงความ เท่ากันท้ังสองขา้ ง ในดา้ นสัดส่วน มวล หรือปรมิ าตร แตใ่ นการจัดวางน้นั เมื่อดูโดยรวมแลว้ มีความสมดลุ ในความรสู้ ึกเกิดขึ้น ไมห่ นักไปข้างใดขา้ งหนึ่ง การออกแบบสรา้ งสรรค์ ไม่มีกฎเกณฑ์ (Informula) ท่ี แน่นอน Walt Disney Concert Hall ,Frank Gehry

แนวทางการสรา้ งความสมดลุ แบบสองข้างไม่เทา่ กัน 2.1. ความสมดุลโดยรปู ร่าง (Balance by Shape) รปู ร่างทแี่ ปลก แม้มขี นาดเล็ก กวา่ กส็ ามารถสร้างความสมดุลได้ 2.2. ความสมดุลโดยต้าแหนง่ (Balance by Position) รปู ร่างทม่ี ีขนาดเลก็ และ ขนาดใหญ่ ถา้ จัดวางตาแหนง่ อยู่สองขา้ ง ของแกนสมมุติ โดยมรี ะยะหา่ งเท่ากันแลว้ จะ ทาให้รู้สกึ หนกั ไปใน ด้านรูปรา่ งขนาดใหญ่ การสร้าง ความสมดลุ ให้เกิดขน้ึ ได้ คือเลื่อน รูปรา่ ง ขนาดใหญ่ เขา้ ไปใกล้กับเสน้ แกนสมมุติ หรือเลื่อนเส้นแกนสมมุติ เขา้ ไปใกล้ กบั รปู ร่าง ขนาดใหญ่

แนวทางการสรา้ งความสมดุลแบบสองข้างไมเ่ ทา่ กัน 2.3. ความสมดุลโดยสี Balance by Color) โดยจติ วิทยาของสี สงิ่ ท่ี มีสสี ดใส หรอื มนี ้าหนักเขม้ จะมีพลงั ดึงดดู สายตาคนเราให้พุ่งเข้าหา มากกว่า สที ไี่ มส่ ดใส หรือสที ่ีมี น้าหนักอ่อนกวา่ ฉน้ัน แม้พนื้ ท่ีเล็ก ๆ หากมีสีสดใส สามารถสรา้ ง ความรสู้ ึก สมดุลกบั วตั ถขุ นาดใหญ่ ทมี่ ีสไี ม่สดใสได้ โรงเรยี นในปารสี ท่ีออกแบบโดยสถาปนิก Eva Samuel

แนวทางการสรา้ งความสมดลุ แบบสองขา้ งไม่เท่ากัน 2.4. ความสมดุลโดยค่าน้าหนัก (Balance by Value) คา่ ความอ่อน แก่ เร่ิมจากสดี า จะมนี ้าหนักแก่ทส่ี ดุ สขี าว จะมนี า้ หนัก ออ่ นทส่ี ดุ และระหวา่ ง สดี า และสขี าว จะมีน้าหนกั สเี ทา ลดหลน่ั กนั ไป 2.5. ความสมดุลของทศิ ทาง เกิด จากการมองรปู ร่างที่เป็นจดุ เด่น ของภาพ จะช่วยถ่วงดุลกบั ส่วนประกอบอื่นๆ ของภาพที่มี มากกวา่ โรงเรียน“ยรี าฟ” ฝร่ังเศส

เUอNกITภY าพ ความเปน็ เอกภาพขาดไม่ได้ในงานออกแบบ เอกภาพมีหนา้ ท่ีจัดกลุ่ม องค์ประกอบ เพ่อื แสดงแนวคิดให้เป็นไปในทิศทางเดยี วกันทง้ั โครงสร้างและเนือ้ หา เอกภาพถกู นามาใช้เพ่ือแสดงวตั ถปุ ระสงค์ ดงั นั้นจงึ ตอ้ งมีการวางแผนอยา่ งเป็นระบบ เพ่อื ใหเ้ กิดเอกภาพในผลงาน เอกภาพจงึ เปรียบได้กับการแสดงหวั ข้อหรือใจความสาคัญ ของเรื่อง หรอื แสดงให้เห็นจุดสนใจเพ่ือการสอื่ สารไดเ้ ข้าใจงา่ ยขึ้นประการสาคัญคือจะต้อง ประสานหรอื จัดระเบียบขององค์ประกอบต่างๆ ใหเ้ กดิ การรวมเปน็ หน่งึ เดยี วกนั

เUอNกITภY าพ เอกภาพ หมายถงึ การประสานองค์ประกอบในการออกแบบหรอื ทศั นธาตใุ ห้ มคี วามกลมกลนื เป็นหน่ึงเดยี วกัน แสดงเน้อื หาหรอื หวั ขอ้ ทเ่ี ด่นชัด การประสานน้ี ตอ้ งมีการวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ และมีการเน้นใหเ้ กดิ จดุ สนใจในผลงานท่ี ปรากฏ

แนวทางสรา้ งเอกภาพในการออกแบบ 1.เอกภาพทางดา้ นโครงสรา้ ง หมายถงึ การรวมตวั เป็นอนั หนง่ึ อนั เดียวกนั ของผลงาน ทีป่ รากฎ ท่เี กิด จากของสว่ นประกอบขน้ั มลู ฐาน องคป์ ระกอบ หรอื วสั ดุ ซง่ึ เป็นเอกภาพที่ เกิดจากความมีระเบียบในลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้ คือ

แนวทางสร้างเอกภาพในการออกแบบ 1.1 การรวมกลุ่ม เป็นการจัดองค์ประกอบให้ แตล่ ะสว่ นมคี วามสัมพันธก์ นั ทาให้เกดิ แรงดึงดูด ซ่ึงกนั และกนั องค์ประกอบของรายละเอยี ด เชอื่ มโยงสายตาจากจุดหน่งึ ไปยงั อีกจุดหนงึ่

แนวทางสรา้ งเอกภาพในการออกแบบ 1.2 ความเหมือนหรือความเท่าเทียมกัน (Similarity ,Equality) เกิดจากความเหมอื น (Similarity) หรอื มคี วามเท่ากันของ ส่วนประกอบมลู ฐาน เชน่ เสน้ ขนาด รูปร่าง ทิศทาง สี น้าหนกั พืน้ ผิว เอกภาพจากความเหมอื นของรปู รา่ ง แม้จะมีขนาดต่างกนั เอกภาพจากความประสานกันของของเสน้ รูปทรง พืนผวิ และวสั ดุ

แนวทางสร้างเอกภาพในการออกแบบ 2. เอกภาพดา้ นรปู แบบแนวคิด เปรียบเสมือนการ แสดงหวั ขอ้ หรือใจความสาคญั ของ เรอ่ื ง (theme) เพ่ือให้ผูช้ มเขา้ ใจ วัตถปุ ระสงคข์ องการสร้างงาน เกิดอารมณค์ ลอ้ ยตามแนวคดิ และ การสร้างงานก็ได้อาศัยแนวทาง ของการจัดเอกภาพด้านโครงสร้าง ใหเ้ หมาะสมในแตล่ ะงาน บ้านนา้ ตก การยดึ ธรรมชาตเิ ป็นศูนย์กลางการ ออกแบบทเ่ี น้นความสัมพนั ธ์ กลมกลนื กัน ของวถิ ี ชวี ิตมนษุ ยก์ ับธรรมชาตหิ ลอมรวมเปน็ หน่งึ เดยี ว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook